การปฏิวัติการเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 เกิดขึ้นในรัชกาลใด

การปฏิวัติการเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 เกิดขึ้นในรัชกาลใด

การปฏิวัติการเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 เกิดขึ้นในรัชกาลใด


คณะราษฎร

อานันท์ เกียรติสารพิภพ | 1 สิงหาคม 2563

...คณะราษฎรอันประกอบด้วย ข้าราชการฝ่ายทหารบก ทหารเรือ พลเรือน และราษฎร
ได้นำกำลังทหารและพลเรือนมาชุมนุม ณ บริเวณลานพระบรมรูปทรงม้า เพื่อประกาศแถลงการณ์
ของคณะราษฎร และยึดอำนาจการปกครองแผ่นดิน และเปลี่ยนแปลงการปกครอง
จากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์เป็นระบอบประชาธิปไตย...

“คณะราษฎร” คือ กลุ่มบุคคลผู้ดำเนินการปฏิวัติสยามเมื่อ พ.ศ. 2475 โดยยึดอำนาจจากพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว และเปลี่ยนแปลงการปกครองของราชอาณาจักรสยาม (ชื่อของประเทศไทยในสมัยนั้น) จากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ มาเป็นระบอบประชาธิปไตย

คณะราษฎรก่อตั้งโดยกลุ่มนักเรียนและนักศึกษาทหารที่ศึกษาและทำงานอยู่ในทวีปยุโรป ซึ่งมี แนวคิดสนับสนุนการปกครองในระบอบประชาธิปไตย เนื่องจากเห็นว่าการปกครองในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์นั้นมีความล้าสมัย ไม่อาจนำพาให้ประเทศชาติเจริญก้าวหน้าได้ ไม่ว่าจะเป็นปัญหาทางด้านสังคม เศรษฐกิจ การเมือง ที่ไม่ได้รับการแก้ไขในระบอบการปกครองรูปแบบเดิม จึงเชื่อมั่นว่า หากมีการเปลี่ยนแปลงการปกครองเป็นรูปแบบใหม่แล้ว จะสามารถแก้ไขปัญหาดังกล่าวและนำพาให้ประเทศมีความเจริญรุ่งเรืองอย่างรวดเร็ว ทัดเทียมอารยประเทศฝั่งตะวันตกได้ ประกอบกับบุคคลกลุ่มนี้ ได้รับอุดมการณ์ทางการเมืองรูปแบบใหม่มาในระหว่างที่ศึกษาและทำงานในต่างประเทศด้วย

การก่อตัวคณะราษฎร

ในช่วงแรกประกอบด้วยสมาชิกรวมทั้งสิ้น 7 คน ได้แก่    1. นายปรีดี พนมยงค์ นักเรียนวิชากฎหมาย ประเทศฝรั่งเศส
2. ร้อยโท ประยูร ภมรมนตรี นักเรียนวิชารัฐศาสตร์ ประเทศฝรั่งเศส    3. ร้อยโท แปลก ขีตตะสังคะ นักเรียนวิชาทหารปืนใหญ่ ประเทศฝรั่งเศส
4. ร้อยตรี ทัศนัย มิตรภักดี นักเรียนวิชาทหารม้า ประเทศฝรั่งเศส    5. นายตั้ว ลพานุกรม นักเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ ประเทศสวิตเซอร์แลนด์
6. นายจรูญ สิงหเสนี ผู้ช่วยราชการสถานทูตสยามในประเทศฝรั่งเศส    7. นายแนบ พหลโยธิน นักเรียนวิชากฎหมาย ประเทศฝรั่งเศส


การปฏิวัติการเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 เกิดขึ้นในรัชกาลใด

คณะผู้เปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 สายทหารบก


ประชุมวางแผนครั้งแรก

บุคคลดังกล่าวได้เริ่มต้นประชุมวางแผนครั้งแรกที่บ้านพักนักเรียนไทยในฝรั่งเศส เมื่อวันที่ 5 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2469 เป็นระยะเวลานาน 5 วัน 4 คืน ที่ประชุมมีมติตกลงที่จะทำการเปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์มาเป็นการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์อยู่ใต้กฎหมายรัฐธรรมนูญ โดยตกลงที่ใช้วิธีการยึดอำนาจโดยฉับพลัน และพยายามหลีกเลี่ยงการนองเลือดดังเช่นที่เคยเกิดขึ้นในการปฏิวัติฝรั่งเศสและการปฏิวัติรัสเซีย โดยกลุ่มผู้ก่อการได้ตั้งปณิธานในการเปลี่ยนแปลงการปกครอง เพื่อให้สยามบรรลุเป้าหมาย 6 ประการ ได้แก่
      1. จะต้องรักษาความเป็นเอกราชทั้งหลาย เช่น เอกราชในบ้านเมือง ในทางศาล ในทางเศรษฐกิจของประเทศไว้ให้มั่นคง
      2. จะรักษาความปลอดภัยในประเทศ ให้การประทุษร้ายต่อกันลดน้อยลงให้มาก
      3. จะต้องบำรุงความสมบูรณ์ของราษฎรในทางเศรษฐกิจไทย โดยรัฐบาลใหม่จะพยายามหางานให้ราษฎรทำโดยเต็มความสามารถ
      จะร่างโครงการเศรษฐกิจแห่งชาติ ไม่ปล่อยให้ราษฎรอดอยาก
      4. จะต้องให้ราษฎรได้มีสิทธิเสมอภาคกัน ไม่ใช่ให้พวกเจ้ามีสิทธิยิ่งกว่าราษฎรเช่นที่เป็นอยู่
      5. จะต้องให้ราษฎรได้มีเสรีภาพ มีความเป็นอิสระ เมื่อเสรีภาพนี้ไม่ขัดต่อหลัก 4 ประการ ดังกล่าวแล้วข้างต้น
      6. จะต้องให้มีการศึกษาอย่างเต็มที่แก่ราษฎร

โดยที่ประชุมได้ลงมติให้ นายปรีดี พนมยงค์ เป็นหัวหน้า จนกว่าจะหาผู้ที่เหมาะสมกว่าได้ ภายหลังเมื่อคณะผู้ก่อการได้กลับมาราชอาณาจักรสยาม ก็ได้หาสมาชิกเพิ่มขึ้นเพื่อเข้าร่วมการก่อการปฏิวัติ โดยได้ติดต่อประชาชนทุกอาชีพ ได้แก่ พ่อค้า ข้าราชการพลเรือน และทหาร โดยเฉพาะอย่างยิ่งนายทหาร ระดับสูงที่มีแนวความคิดในลักษณะเดียวกันแบ่งเป็นสายต่าง ๆ ได้แก่ สายทหารบก สายทหารเรือ และสายพลเรือน


การปฏิวัติการเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 เกิดขึ้นในรัชกาลใด

คณะผู้เปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 สายทหารเรือ


24 มิถุนายน พ.ศ. 2475

จากนั้น เวลาย่ำรุ่งของวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475 ตรงกับวันศุกร์ แรม 6 ค่ำ เดือน 7 ปีวอก จุลศักราช 1294 ในรัชสมัยของสมเด็จพระปรมินทรมหาประชาธิปกพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 7 ในพระราชวงศ์จักรี คณะราษฎรอันประกอบด้วย ข้าราชการฝ่ายทหารบก ทหารเรือ พลเรือน และราษฎร ได้นำกำลังทหารและพลเรือนมาชุมนุม ณ บริเวณลานพระบรมรูปทรงม้า เพื่อประกาศแถลงการณ์ของคณะราษฎรและยึดอำนาจการปกครองแผ่นดิน และเปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์เป็นระบอบประชาธิปไตย โดยมีรัฐธรรมนูญใช้เป็นหลักในการปกครองประเทศ

คณะราษฎรนับเป็นกลุ่มบุคคลผู้มีบทบาทและอิทธิพลอย่างสูงในทางการเมืองและสังคมของประเทศไทย ต่อเนื่องเป็นระยะเวลาประมาณ 15 ปี กระทั่งสิ้นสุดบทบาทในปลาย พ.ศ. 2490 จากการรัฐประหาร ของคณะนายทหาร ภายใต้การนำของพลโท ผิน ชุณหะวัณ

ข้อมูลจาก : รายการ ร้อยเรื่อง...เมืองไทย

การปฏิวัติการเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 เกิดขึ้นในรัชกาลใด

การปฏิวัติการเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 เกิดขึ้นในรัชกาลใด

จดหมายเหตุรัฐสภาไทย

เอกสารจดหมายเหตุของรัฐสภา มีความสำคัญในการเป็นหลักฐานทางกระบวนการนิติบัญญัติของชาติ ซึ่งสะท้อนให้เห็นถึงประวัติศาสตร์ความเป็นมา เหตุการณ์สำคัญ และกิจกรรมต่าง ๆ ของรัฐสภา ...

การปฏิวัติการเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 เกิดขึ้นในรัชกาลใด

ดุสิตธานี เมืองทดลองประชาธิปไตย

ดุสิตธานีถือกำเนิดที่พระราชวังสวนดุสิต ภายหลังได้ย้ายมาอยู่ที่พระราชวังพญาไท สิ่งก่อสร้างจำลองต่าง ๆ ในดุสิตธานีมีขนาดสูง 2-3 ฟุต เช่น ที่ทำการรัฐบาล บ้านเรือนราษฎร พระราชวัง ศาสนสถาน...

การปฏิวัติการเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 เกิดขึ้นในรัชกาลใด

งานฉลองรัฐธรรมนูญ - มหกรรมที่ใหญ่ที่สุดแห่งยุค

เมื่อมี “งานพิธี” คือพระราชพิธีพระราชทานรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรสยาม พุทธศักราช 2475 ในวันที่ 10 ธันวาคม 2475 แล้ว “งานฉลอง” ก็ตามมา...

การปฏิวัติการเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 เกิดขึ้นในรัชกาลใด

กระบวนการจัดทำรัฐธรรมนูญฉบับสมุดไทย

ร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 นายกรัฐมนตรี เป็นผู้นำขึ้นทูลเกล้าฯ ถวาย ซึ่งมีความยาว 279 มาตรา นำมาเขียนในสมุดไทยได้ 419 หน้า หรือจำนวน 259 พับครึ่ง...

การปฏิวัติการเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 เกิดขึ้นในรัชกาลใด

อาคารรัฐสภาไทย

รัฐสภาของประเทศไทยเกิดขึ้นภายหลังเหตุการณ์การเปลี่ยนแปลงการปกครองเมื่อ พ.ศ. 2475 และพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้พระราชทานพระที่นั่งอนันตสมาคมให้ใช้เป็นที่ประชุมสภา...

การปฏิวัติการเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 เกิดขึ้นในรัชกาลใด

รัฐธรรมนูญใต้ตุ่ม

“รัฐธรรมนูญใต้ตุ่ม” เป็นชื่อเรียก รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉะบับชั่วคราว) พุทธศักราช 2490 ซึ่งเป็นรัฐธรรมนูญฉบับที่ 4 ของประเทศไทยที่ประกาศใช้เมื่อ วันที่ 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2490...

การปฏิวัติการเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 เกิดขึ้นในรัชกาลใด

ความเป็นมาของธงชาติไทย

ธงชาติไทยหรือธงไตรรงค์ เป็นสัญลักษณ์ของประเทศไทย แสดงถึงเอกลักษณ์และศักดิ์ศรีในความเป็นไทย มีความหมายถึงความเป็นเอกราช สถาบันชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์...

การปฏิวัติการเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 เกิดขึ้นในรัชกาลใด

ลงเบี้ย

ลงเบี้ย คือ วิธีการออกเสียงลงคะแนนลับในอดีตวิธีหนึ่งในการประชุมสภา โดยให้สมาชิกสภานำเบี้ย สีต่าง ๆ ไปใส่ภาชนะที่จัดไว้ซึ่งอาจเป็นหีบหรือตู้หีบตามที่กำหนดไว้ในข้อบังคับการประชุมแต่ละฉบับ...

การปฏิวัติการเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 เกิดขึ้นในรัชกาลใด

กฎหมายตราสามดวง

พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554 ให้ความหมายของ “กฎหมายตราสามดวง” ว่าหมายถึง ประมวลกฎหมายโบราณของไทย ซึ่งพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช...

การปฏิวัติการเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 เกิดขึ้นในรัชกาลใด

การเปลี่ยนปีปฏิทินของประเทศไทย

ตามจารีตประเพณีของไทยแต่โบราณได้ถือวันแรม 1 ค่ำ เดือนอ้าย เป็นวันขึ้นปีใหม่ เพื่อให้สอดคล้องกับคติแห่งพุทธศาสนา ซึ่งถือช่วงฤดูเหมันต์หรือฤดูหนาวเป็นการเริ่มต้นปี...

การปฏิวัติการเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 เกิดขึ้นในรัชกาลใด

คณะราษฎร

“คณะราษฎร” คือ กลุ่มบุคคลผู้ดำเนินการปฏิวัติสยามเมื่อ พ.ศ. 2475 โดยยึดอำนาจจากพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว และเปลี่ยนแปลงการปกครองของราชอาณาจักรสยาม...

การปฏิวัติการเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 เกิดขึ้นในรัชกาลใด

ตราพระราชลัญจกรบนรัฐธรรมนูญฉบับสมุดไทย

พระราชลัญจกร คือ พระตราสำหรับพระเจ้าแผ่นดินที่ใช้ประทับในเอกสารต่าง ๆ มาตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยา โดยใช้ชาดซึ่งเป็นวัตถุสีแดงชนิดหนึ่งผสมกับน้ำมัน สำหรับการประทับตรา...

การเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ.2475 เกิดขึ้นที่ไหน

สถานที่ จังหวัดพระนคร ประเทศสยาม วันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475.

คณะราษฎร ที่เกิดขึ้นใน พ ศ 2475 คือ อะไร

คณะราษฎร ([–ราดสะดอน]; มักสะกดผิดเป็น คณะราษฎร์) หรือ สมาคมคณะราษฎร หรือต่อมาใช้ว่า สโมสรราษฎร์สราญรมย์ เป็นกลุ่มบุคคลที่ดำเนินการการปฏิวัติสยาม พ.ศ. 2475 บ้างยกให้เป็นพรรคการเมืองพรรคแรกของไทย แม้ไม่ได้จดทะเบียนอย่างเป็นทางการ

เหตุการณ์ใดเกิดขึ้นหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475

เหตุการณ์ปฏิวัติสยามเมื่อวันที่ 24 มิถุนายน 2475 เป็นเหตุการณ์ในประวัติศาสตร์ไทย และทำให้สถาบันพระมหากษัตริย์ที่เคยเป็นผู้ปกครองสูงสุดของประเทศมาช้านานเสียอำนาจส่วนใหญ่ อย่างไรก็ตาม ภายหลังจากเหตุการณ์เปลี่ยนแปลงดังกล่าวใน พ.ศ. 2475 การต่อสู้ทางการเมืองก็ยังมิได้จบลงไปอย่างสิ้นเชิง ยังคงมีการต่อสู้กันระหว่างผู้นำใน ...