สังคมและวัฒนธรรมสมัยสุโขทัยตอนปลายเป็นอย่างไร

ก่อนสมัยสุโขทัย
สภาพสังคมไทยก่อนสมัยสุโขทัยและสมัยสุโขทัย เป็นสังคมแบบระบบครอบครัวและเครือญาติ ซึ่งเริ่มตั้งแต่เมื่ออพยพเข้ามาตั้งถิ่นฐานในประเทศไทยโดยมีลักษณะรวมกลุ่มเพื่อช่วยตัวเองในหมู่ญาติและอยู่กันเหมือนครอบครัวใหญ่   ส่วนลักษณะสังคมและการปกครองเป็นแบบพ่อบ้านกับลูกบ้านหรือพ่อขุนกับลูกขุนขนาดของชุมชนเป็นเพียงหมู่บ้านแล้วพัฒนาเป็นเมือง ขยายเป็นแคว้นในที่สุดเช่นแคว้นสุโขทัย ละโว้หริภุญชัย เชียงแสน เชียงใหม่  สถานะของคนไทยในสังคมไม่มีการแบ่งชนชั้นแต่ในปลายสมัยสุโขทัยตรงกับกษัตริย์พญาลิไท เริ่มมีการแบ่งชนชั้นและชนชั้นล่างหรือชนชั้นผู้ปกครองกับชนชั้นผู้อยู่ใต้ปกครอง ทำให้สังคมการปกครองแบบพ่อปกครองลูกเสื่อม ลงกลายเป็นระบบนายกับบ่าว และหัวหน้าสังคมในฐานะพ่อบ้านเริ่มพัฒนาไปเป็นพระมหากษัตริย

สังคมและวัฒนธรรมสมัยสุโขทัยตอนปลายเป็นอย่างไร

วัฒนธรรมสมัยก่อนสุโขทัย

  1. สมัยก่อนประวัติศาสตร์ มีผลทางวัฒนธรรมของตนเองเช่นการปั้นหม้อการวาดภาพบนผนังถ้ำหรือหน้าผาเพื่อประโยชน์ใช้สอยหรือประกอบพิธีกรรมต่าง ๆ
  2. สมัยประวัติศาสตร์ มีการรับวัฒนธรรมจากต่างชาติที่ได้ติดต่อค้าขายกันซึ่งวัฒนธรรมส่วนใหญ่จะเกี่ยวข้องกับศาสนาโดยรับมาจากอินเดียลังกามอญและเขมรทำให้เกิดวัฒนธรรมในพื้นที่ต่าง ๆ

สมัยสุโขทัย

สภาพสังคมไทยก่อนสมัยสุโขทัยและสมัยสุโขทัยเป็นสังคมแบบครอบครัวและเครือญาติ ซึ่งเริ่มตั้งแต่เริ่มอพยพเข้ามาตั้งถิ่นฐานในประเทศไทย โดยมีลักษณะรวมกลุ่มเพื่อช่วยตัวเองในหมู่เครือญาติและอยู่กันเหมือนครอบครัวใหญ่ส่วนลักษณะสังคมและการปกครองเป็นแบบพ่อบ้านและลูกบ้าน หรือพ่อขุนกับลูกขุน ขนาดชุมชนเป็นเพียงหมู่บ้านแล้วพัฒนาเป็นเมืองขยายเป็นแคว้นในที่สุด เช่น แคว้นสุโขทัย ละโว้ หริภุญชัย เชียงแสน เชียงใหม่สถานะของคนไทยในสังคมไม่มีการแบ่งชนชั้น แต่ในปลายสมัยสุโขทัยตรงกับกษัตริย์พญาลิไทเริ่มมีการแบ่งชนชั้นสูงและชนชั้นล่าง หรือชุมชนผู้ปกครองกับชนชั้นใต้ปกครอง ทำให้สังคมการปกครองแบบพ่อปกครองลูกเสื่อมลงกลายเป็นระบบนายกับบ่าว และหัวหน้าสังคมในฐานะพ่อบ้านเริ่มพัฒนาไปเป็นพระมหากษัตริย์

วัฒนธรรมไทยในช่วงนี้จะผสมผสานระหว่างวัฒนธรรมเดิมและวัฒนธรรมของมอญ อินเดียและจีน ได้แก่

  • วัฒนธรรมสุโขทัย มีศูนย์กลางอยู่ที่จังหวัดสุโขทัย กำแพงเพชร และพิษณุโลก มีลักษณะเด่นได้รับการยกย่องเป็นยุคทองของศิลปะไทย แบ่งเป็นงานศิลปะได้ดังนี้
    • สถาปัตยกรรม
    • ประติมากรรม
    • วรรณกรรม

สถาปัตยกรรม

สถาปัตยกรรมนิยมสร้างเจดีย์ 3 แบบ คือ เจดีย์ทรงพุ่มข้าวบิณฑ์ เจดีย์ทรงลังกา เจดีย์ทรงเรือธาตุ

ประติมากรรม

ประติมากรรม ได้แก่ การสร้างพระพุทธรูปสำริด มีพุทธลักษณะงดงามมาก พระพักตร์เป็นรูปไข่ พระวรกายอวบอ้วน พระนาสิกโด่ง รัศมีเป็นเปลวเพลิง นิยมสร้างปางลีลา มารวิชัย พระพุทธรูปสำคัญสมัยนี้คือ พระพุทธชินราช พระพุทธชินสีห์ พระศรีศากยะมุนี การทำเครื่องเคลือบ " สังคโลก"

วรรณกรรม

วรรณกรรม ที่สำคัญคือ ศิลาจารึกสุโขทัยหลักที่ 1 และหลักที่ 2 และหนังสือไตรภูมิพระร่วง

สมัยอยุธยา

สังคมไทยสมัยอยุธยา

สภาพสังคมเป็นสังคมศักดินา  เนื่องจากความต้องการกำลังคนหรือแรงงานเพราะแรงงานมีความสำคัญต่อความมั่นคงของอาณาจักร รัฐจึงต้องมีกำหนดกฎเกณฑ์ของสังคมเพื่อควบคุมแรงงานและกำลังคน  อันเป็นผลให้เกิดสังคมศักดินาซึ่งเข้มแข็งมากในสมัยอยุธยา

สังคมศักดินาหมายถึงระบบสังคมที่มีการแบ่งชนชั้น  ซึ่งกำหนดสิทธิหน้าที่และฐานะของแต่ละบุคคลในสังคม  จุดประสงค์ก็เพื่อควบคุมกำลังคนและแบ่งฐานะของบุคคลเป็นสำคัญ  ผู้ควบคุมกำลังคนสูงสุด  คือ  พระมหากษัตริย์  รองลงมาได้แก่  ขุนนาง (ข้าราชการและผู้ถูกควบคุมคือ สามัญชนหรือไพร่ ระบบศักดินาได้รับการจัดระเบียบในสมัยพระบรมไตรโลกนาถ  โดยมีการตราพระราชกำหนดกฎหมายเกี่ยวกับศักดินาขึ้นใน  ..  1998  เรียกว่า  พระไอยการตำแหน่งนายพลและนายทหารหัวเมือง  สังคมไทยในอดีตมีการจัดระเบียบของคนในสังคมออกเป็น  2  ชนชั้นใหญ่  คือ  ชนชั้นปกครองและชนชั้นใต้ปกครอง  โดยมีศักดินาเป็นตัวกำหนดหน้าที่ในแต่ละชนชั้น

วัฒนธรรมอยุธยา

ศูนย์กลางอยู่ที่อยุธยา  ราชบุรี  และเพชรบุรี  ลักษณะศิลปะแบ่งได้ดังนี้

-   สถาปัตยกรรม

-    ประติมากรรม

-    จิตรกรรม

-    นาฏศิลป์

-     วรรณกรรม

-    ชนชั้นปกครอง

-     ชนชั้นใต้ปกครอง 

สมัยกรุงธนบุรี

ในสมัยกรุงธนบุรีได้รับการสืบทอดจากสมัยอยุธยา ลักษณะศิลปวัฒนธรรมยังไม่มีสิ่งใดโดดเด่น เพราะบ้านเมืองยังไม่มั่นคงนักประกอบกับกรุงธนบุรีเป็นราชธานีเพียงไม่กี่ปีก็เปลี่ยนเป็นกรุงรัตนโกสินทร์

สภาพสังคมเป็นสังคมศักดินา  เนื่องจากความต้องการกำลังคนหรือแรงงานเพราะแรงงานมีความสำคัญต่อความมั่นคงของอาณาจักร รัฐจึงต้องมีกำหนดกฎเกณฑ์ของสังคมเพื่อควบคุมแรงงานและกำลังคน อันเป็นผลให้เกิดสังคมศักดินาซึ่งเข้มแข็งมากในสมัยอยุธยา

 สังคมศักดินา หมายถึง ระบบสังคมที่มีการแบ่งชนชั้น ซึ่งกำหนดสิทธิหน้าที่และฐานะของแต่ละบุคคลในสังคม จุดประสงค์ก็เพื่อควบคุมกำลังคนและแบ่งฐานะของบุคคลเป็นสำคัญ ผู้ควบคุมกำลังคนสูงสุดคือ  พระมหากษัตริย์ รองลงมาได้แก่ ขุนนาง (ข้าราชการ) และผู้ถูกควบคุมคือ สามัญชนหรือไพร่ ระบบศักดินาได้รับการจัดระเบียบในสมัยพระบรมไตรโลกนาถ โดยมีการตราพระราชกำหนดกฎหมายเกี่ยวกับศักดินาขึ้นใน พ.ศ. 1998 เรียกว่า “พระไอยการตำแหน่งนายพลเรือนและนายทหารหัวเมือง”

-     ชนชั้นปกครอง

-     ชนชั้นใต้ปกครอง

สมัยกรุงรัตนโกสินทร์ 

สมัยกรุงรัตนโกสินทร์  ลักษณะของศิลปวัฒนธรรมได้รับอิทธิพลของศิลปวัฒนธรรมสุโขทัยและอยุธยา  ในสมัยรัชกาลที่๓ มีศิลปะจีนเข้ามาในด้านสถาปัตยกรรมงานสำคัญของสถาปัตยกรรมคือ วัด

สังคมและวัฒนธรรมสมัยสุโขทัยตอนปลายเป็นอย่างไร

วัดที่สำคัญมีดังนี้

รัชกาลที่๑   วัดพระศรีรัตนศาสดาราม

รัชกาลที่๒   บูรณวัดอรุณราชวราราม และสร้างองค์พระปรางค์วัดอรุณขึ้นมา

รัชกาลที่๓   บูรณะวัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามและให้เป็นแหล่งสะสมวิชาความรู้จนเป็นมหาวิทยาลัยแห่งแรกของไทย เจดีย์เป็นแบบทรงระฆัง เช่น เจดีย์ในวัดพระแก้วแบบย่อมุมไม้สิบสอง เช่น หมู่มหาเจดีย์ในวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม

  • ประติมากรรม  เลียนแบบสมัยอยุธยาตอนปลาย คือ พระพุทธรูปนิยมทรงเครื่องแบบกษัตริย์  พระประธานในพระอุโบสถฐานชุกชีนิยมสร้างยกสูงๆและปิดทองจนเหลืองอร่าม
  • จิตรกรรม  ได้แก่  ภายในพระที่นั่งพุทไธสวรรค์ ภายในพระอุโบสถวัดพระเชตุพน วัดสุทัศน์ วัดสุวรรณราม วัดราชโอรส
  • นาฏศิลป์  มีหนังใหญ่ หนังตะลุง โขน ละครนอกและละครใน