เฉลยข้อสอบการเป็นผู้ประกอบการ 30200-0003

เข้าใจเกี่ยวกับหลักการวางแผนเป้าหมายชีวิตด้วยวงจรควบคุมคุณภาพ ธุรกิจและการเป็นผู้ประกอบการ หลักการจัดการการเงิน หลักการบริหารงานคุณภาพและเพิ่มผลผลิตเบื้องต้น และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง

2. สามารถจัดทำแผนธุรกิจอย่างง่าย โดยประยุกต์ใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และหลักการบริหารงานคุณภาพและเพิ่มผลผลิต

3. มีเจตคติที่ดีต่อการเป็นผู้ประกอบการ และมีกิจนิสัยในการทำงานด้วยความรับผิดชอบ รอบคอบ ขยัน ประหยัดและอดทน


สมรรถนะรายวิชา

1. แสดงความรู้เกี่ยวกับหลักการวางแผนเป้าหมายชีวิตด้วยวงจรควบคุมคุณภาพ ธุรกิจและการเป็นผู้ประกอบการ หลักการจัดการการเงิน หลักการบริหารงานคุณภาพและเพิ่มผลผลิตเบื้องต้น และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง

2. จัดทำแผนธุรกิจอย่างง่าย

3. ประยุกต์ใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในการวางแผนและดำเนินงาน

4. ประยุกต์ใช้หลักการบริหารงานคุณภาพและเพิ่มผลผลิตในการวางแผนและดำเนินงาน


คำอธิบายรายวิชา

ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับการวางแผนเป้าหมายชีวิตด้วยวงจรควบคุมคุณภาพ การออมและการลงทุน ธุรกิจและการเป็นผู้ประกอบการ การจัดหาและวางแผนทางการเงิน กฎหมายที่เกี่ยวกับธุรกิจและการเป็นผู้ประกอบการ  รูปแบบและการจัดทำแผนธุรกิจ หลักเบื้องต้นในการบริหารงานคุณภาพและเพิ่มผลผลิตในองค์กร และการประยุกต์ใช้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในธุรกิจและการเป็นผู้ประกอบการ

ศึกษาเกี่ยวกับการวางแผนเป้าหมายชีวิตด้วยวงจรควบคุมคุณภาพ การออมและการลงทุน การเป็นผู้ประกอบการ การจัดหาและการวางแผนทางการเงิน กฎหมายที่เกี่ยวกับการเป็นผู้ประกอบการ รูปแบบแผนธุรกิจ หลักเบื้องต้นในการบริหารงานคุณภาพและเพิ่มผลผลิตในองค์กร และการประยุกต์ใช้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในการเป็นผู้ประกอบการ

5. “กล้าทจี่ ะแตกตา่ งจากตลาดที่มีอยเู่ ดิม กลา้ ใชว้ ธิ ีการขายทไ่ี มเ่ หมือนใคร และกลา้ ประดษิ ฐค์ ้นควา้ สงิ่

แปลกใหม่เข้าสตู่ ลาด” เปน็ คุณสมบตั ขิ องผูป้ ระกอบการดา้ นใด

1. ความกล้าเสีย่ ง 2. มงุ่ ความสำเรจ็

3. มีความคดิ ริเร่มิ สร้างสรรค์ 4. ใฝ่หาความรเู้ พิม่ เตมิ

5. มกี ารประสานงานทด่ี ี

6. กระบวนการของผู้ประกอบการมที ้งั หมดกี่ข้นั ตอนอะไรบ้าง

1. 1 ข้ันตอน คือ การสรา้ งผ้ปู ระกอบการ

2. 2 ข้ันตอน คือ การกำหนดและประเมนิ โอกาส และการจัดหาหน่วยธรุ กิจ

3. 3 ข้ันตอน คือ การกำหนดและประเมนิ โอกาส การจดั หาหน่วยธรุ กิจ และการวางแผนธรุ กจิ

4. 4 ขน้ั ตอน คือ การกำหนดและประเมินโอกาส การจดั หาหนว่ ยธรุ กิจ การกำหนดทรัพยากรท่ีต้องใช้

และการจดั การหนว่ ยธุรกิจ

5. 5 ขัน้ ตอน คือ การสร้างผู้ประกอบการ การกำหนดและประเมินโอกาส การกำหนดทรัพยากรที่ตอ้ ง

ใชก้ ารพัฒนาแผนธุรกิจ และการวางแผนธุรกจิ

7. โอกาสทางธุรกิจเกดิ ข้ึนได้อย่างไร

1. การคาดเดาเอาเองของผู้ประกอบการ

2. การวเิ คราะหส์ ภาพแวดล้อมภายนอกองค์กรธุรกจิ

3. การวิเคราะหส์ ภาพแวดล้อมภายในองค์กรธรุ กิจ

4. การวเิ คราะห์ผลงาในอดีตทผ่ี ่านมา

5. การคาดการณ์ในอนาคต

8. แผนธุรกิจที่ดีมีประโยชน์อยา่ งไรต่อผู้ประกอบการ

1. สามารถพฒั นาใหเ้ ขา้ ถึงโอกาสทางธรุ กิจได้

2. ต้องกำหนดทงั้ ก่อนและหลังการดำเนินธุรกิจ

3. ตอ้ งเข้าใจประเดน็ พนื้ ฐานตา่ ง ๆ ของแผนธรุ กจิ

4. เพื่อใช้ทรัพยากรใหค้ ุ้มคา่ ท่ีสุดตามทกี่ ำหนดไว้ในแผนธรุ กิจ

5.ถกู ทุกข้อ

9. ข้อใดไม่ใช่ทรัพยากรท่ีต้องนำมาใชใ้ นการประกอบกิจการ

1. พนกั งาน เงนิ ทุน และการจดั การ 2. เงินทนุ วตั ถุดิบ และเคร่ืองจักร

3. ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละเทคโนโลยี 4. ผ้บู รหิ าร เงนิ เดือน และขวัญกำลังใจ

5. หัวหน้างาน การบริหารจัดการ และค่าจา้ ง

10. ผู้ประกอบกจิ การท่ีมีความสามารถเป็นไดย้ ากหรอื ง่าย เพราะเหตุใด

1. เป็นไปได้ยาก เพราะมภี าระงานท่ีรับผิดชอบสูงกว่าผู้บริหารกิจการท่ัวไป

2. เป็นไปไดง้ า่ ย เพราะมผี ู้บริหารธรุ กจิ และพนักงานคอยสนบั สนนุ การทำงาน

3. เปน็ ไปไดง้ า่ ย เพราะในปัจจุบนั มีการสอนหลักสูตรการเป็นผู้ประกอบการอย่มู าก

4. เปน็ ไปไดย้ าก เพราะต้องเรียนรู้งานหลายด้าน

5. ถกู ทุกข้อ

หน่วยท่ี 1
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเป็นผูป้ ระกอบการ

สาระสำคญั

การเป็นผู้ประกอบการที่ดี มีความสำคัญและมีความหมายต่อการประกอบธุรกิจเชน่ เดียวกับการ
เป็นผู้บริหารที่ดี เนื่องจากผู้ประกอบการจะต้องใช้ความรู้ ความสามารถ และทักษะต่าง ๆ ที่สูงกว่าการ
ประกอบอาชีพอื่น ๆ หากองค์กรมีผู้ประกอบการที่ดีและมีความสามารถจะส่งเสริมให้องค์กรธุรกิจมีการ
เจริญเตบิ โตและสรา้ งกำไรได้มากกว่ากิจการที่มเี ฉพาะผ้บู รหิ ารที่ดี

1. ความหมายของผู้ประกอบการ

คำว่า “ผู้ประกอบการ” (Entrepreneur) มีความหมายที่แตกต่างกันไปตามมุมมองและความคิด
ของผเู้ ขยี นแตล่ ะท่าน ซึง่ คำนิยามมคี วามหมายหลากหลาย ดังตอ่ ไปนี้

ฉัตยาพร เสมอใจ (2558, หน้า 42) กล่าวว่า เจ้าของกิจการที่เรียกว่า “ผู้ประกอบการ” ซ่ึง
สะท้อนถึงความเป็นนักธุรกิจที่มองเห็นโอกาส มีวิสัยทัศน์ที่เปี่ยมดว้ ยศรัทธาอย่างแรงกล้า ซึ่งจะเป็นพลัง
ผลักดันกจิ การและยอมรับความเสี่ยงในการท่ีจะเริ่มต้นเปน็ เจ้าของกจิ การ โดยมงุ่ หวงั ทจ่ี ะให้ธุรกิจอยู่รอด
และเจรญิ เตบิ โตเพ่อื วตั ถุประสงคด์ ังกล่าว

บญุ ฑวรรณ วงิ วอน (2556, หนา้ 201) กลา่ ววา่ ผปู้ ระกอบการ หมายถงึ บคุ คลท่มี ีแรงบันดาลใจ
ในการเสาะแสวงหาโอกาสและประยุกต์ใช้ความคิดสร้างสรรค์เพื่อสร้างความแตกต่างในการด ำเนินงาน
ทางธุรกิจ โดยมีความตั้งใจมุ่งมั่นที่จะทำการก่อตั้งธุรกิจ สามารถดำเนินธุรกิจได้อย่างต่อเนื่อง มีการ
บริหารความเสี่ยงในธรุ กจิ ท่ีได้จัดตั้งขึ้นมา อกี ทัง้ มีการบรู ณาการองค์ความรูท้ ่ีเปน็ ปจั จุบันและมีการเรียนรู้
อยา่ งตอ่ เน่อื ง

พนิตพร กลางประพันธ์ (2558, หน้า 43) กล่าวว่า ผู้ประกอบการ หมายถึง ผู้ที่ก่อตั้งธรุ กิจขึ้นมา
เป็นของตนเอง มีการลงทุนและรับผดิ ชอบในการดำเนินงานธรุ กิจทุกอย่างดว้ ยตนเอง เพื่อมุ่งหวังผลกำไร
ตอบแทน และยอมรับความเส่ยี งที่อาจจะเกิดขน้ึ จากผลการดำเนินธรุ กิจนน้ั

จากความหมายของผูป้ ระกอบการที่กล่าว มาขา้ งตน้ สรุปไดว้ า่ ผู้ประกอบการ หมายถึง บุคคลท่ีมี
แรงบันดาลใจใช้ความคิดสร้างสรรค์เพื่อริเริ่มก่อตั้งกิจการ เมื่อเริ่มก่อตั้งแล้วต้องลงทุนกำลังกาย กำลัง

ทรัพย์และกำลังความคิด มีการจัดสรรเงินทุนเพื่อค่าใช้จ่ายทางตรงและค่าใช้จ่ายทางอ้อมที่ก่อให้เกิด
รายได้ มงุ่ หวงั กำไรในเชิงพาณชิ ย์ และมคี วามเสี่ยงท่จี ะได้รบั ผลขาดทุนแตกต่างจากลูกจ้างหรอื พนักงาน

2. ปัจจยั ที่มีอิทธิพลต่อการประกอบธรุ กจิ

การประกอบธรุ กจิ ทกุ ประเภทมักไดร้ บั ผลกระทบจากปจั จัยและสิ่งแวดลอ้ มทางธรุ กิจผลกระทบ

นน้ั จะแตกต่างกนั ไปขึ้นอยูก่ ับส่ิงแวดล้อมที่ธรุ กิจนนั้ ตั้งอยู่ ซึ่งแบ่งได้เปน็ 2 ประเภทใหญ่ ๆ คือ

2.1 ปจั จัยและส่ิงแวดลอ้ มภายใน (Internal Environment)

2.1.1 บคุ ลากร (Man)

2.1.2 เงนิ (Money)

2.1.3 วัตถุดบิ (Material)

2.1.4 เครอื่ งจกั ร (Machine)

2.1.5 การจัดการ (Management)

2.1.6 การตลาด (Marketing)

2.1.7 ทำเล (Location)

2.1.8 คุณค่าทางจติ ใจ (Moral)

2.2 ปัจจัยและส่งิ แวดล้อมภายนอก (External Environment)

2.2.1 เศรษฐกจิ (Economic)

2.2.2 การแข่งขัน (Competition) ศกึ ษาขอ้ มูลเพิ่มเติม
2.2.3 วฒั นธรรม (Culture)

2.2.4 สังคม (Social)

2.2.5 กฎหมาย (Legal)

2.2.6 การเมือง (Political)

2.2.7 เทคโนโลยี (Technological)

2.2.8 จำนวนประชากรหรอื ประชากรศาสตร์ (Demographic)

3. จดุ มุ่งหมายและความสำคัญของการประกอบธรุ กจิ

3.1 จดุ ม่งุ หมายในการประกอบธรุ กจิ
3.1.1 เพ่อื ผลติ สนิ คา้ และใหบ้ ริการแก่ผู้บรโิ ภค
3.1.2 เพือ่ ต้องการไดผ้ ลตอบแทนเป็นกำไร
3.1.3 เพอื่ เป็นหลักประกันทางเศรษฐกิจหรอื จุนเจือครอบครัวหรือพนักงานในบริษทั
3.1.4 เพ่อื ให้บรกิ ารแก่ชุมชน สังคม และประเทศชาติ
3.1.5 เพอื่ ตอ้ งการความเปน็ อิสระและอำนาจในการทำงานความสำคญั ของธรุ กิจ

3.2 ความสำคญั ของการประกอบธรุ กิจ
3.2.1 ช่วยให้เศรษฐกิจของประเทศมีความก้าวหน้าและมั่นคง เนื่องจากมีการลงทุน

ประกอบธุรกจิ ทำใหม้ กี ารหมุนเวยี น มีการกระจายรายได้ ประชาชนมฐี านะความเป็นอยู่ดีขึ้น
3.2.2 ช่วยให้รัฐมีรายได้เพิ่มขึ้น จากการที่ประชาชนมีรายได้ จำเป็นต้องเสียภาษีอากร

และค่าธรรมเนยี มตา่ ง ๆ ใหร้ ัฐเพือ่ ทจ่ี ะนำรายได้เหลา่ นไี้ ปพฒั นาประเทศในดา้ นตา่ ง ๆ
3.2.3 ช่วยให้เกิดความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี การทำธุรกิจย่อมต้องมีการศึกษา

ค้นคว้าวิจัยอยู่เสมอ เพื่อเป็นการพัฒนาผลิตภัณฑ์ของตนให้เป็นที่ยอมรับของผู้บริโภค และทัน
คูแ่ ขง่ ขนั

3.2.4 ช่วยให้ประชาชนมมี าตรฐานการครองชีพดขี นึ้ ทั้งนี้เพราะธุรกิจทำให้มีการจา้ งงาน
ประชาชนมีรายได้

3.2.5 ช่วยลดปัญหาทางด้านสังคม คือ ปัญหาเรื่องการว่างงาน ถ้าประชาชนมีการ
วา่ งงานจำนวนมาก จะไม่มรี ายได้ ปัญหาทเ่ี กดิ ข้นึ ตามมา เช่น การเกิดอาชญากรรม

4. รปู แบบและประเภทของธุรกจิ

4.1 การเลอื กรูปแบบธรุ กจิ (Consideration for choosing a business)

4.1.1 การจดั ตงั้ และผลการจัดธรุ กจิ มีความยากงา่ ยเพียงใด

4.1.2 การพิจารณาต้นทนุ ท่ีต้องนำมาใชใ้ นการประกอบธุรกิจ

4.1.3 การใช้ความรู้ ความสามารถ และประสบการณ์ ศกึ ษาขอ้ มลู เพ่ิมเติม
4.1.4 การบรหิ ารงาน

4.1.5 การพิจารณาสภาพของธรุ กิจ

4.1.6 การพิจารณาหนส้ี ินอนั เกดิ จากการประกอบธุรกจิ

4.1.7 ระยะเวลาและความตอ่ เนือ่ งของธุรกิจ

4.1.8 การแบง่ ผลกำไรจากการประกอบการ

4.1.9 การขยายธุรกจิ ในอนาคต

4.1.10 การเสยี ภาษี

4.2 ประเภทธุรกจิ (Types of business)

4.2.1 ประเภทธุรกิจแบบซื้อมาขายไป ธุรกจิ แบบซื้อมาขายไป หรอื ธรุ กิจพาณิชยกรรม

คือ ประเภทธุรกิจที่เราเห็นกันทั่ว ๆ ไปมากมาย เป็นการที่กิจการซื้อสินค้าสำเร็จรูปมาแล้วขาย

สินค้าเหล่านั้นออกไปสู่ผู้บริโภค ต้นทุนเกือบทั้งหมดเกิดจากต้นทุนในการซื้อสินค้า ทำให้การ

จัดการรายจ่ายและตน้ ทุนค่อนขา้ งง่ายและไม่ซบั ซ้อน เพราะไม่มีต้นทนุ ทางการผลิต รายได้ธุรกิจ

ส่วนใหญ่มาจากรายไดจ้ ากการขาย

4.2.2 ประเภทธรุ กิจอตุ สาหกรรม ธุรกิจอุตสาหกรรม คือ ประเภทธรุ กิจที่ดำเนินกิจการ
หลักเกี่ยวกับการผลิต มีการซื้อวัตถุดิบ เพื่อนำเข้ากระบวนการผลิต ใช้แรงงานและค่าใช้จ่ายใน
การผลิต เพื่อให้ได้ออกมาเป็นสินค้าสำเร็จรูป รายได้ของธุรกิจมาจากการขายสินค้าที่ผลิต การ
คำนวณต้นทนุ การผลติ ค่อนข้างซับซอ้ น

4.2.3 ประเภทธุรกิจบริการ ธุรกิจบริการ คือ ประเภทของธุรกิจที่ดำเนินกิจการ
แลกเปลย่ี นสินคา้ ท่ีไม่เปน็ ตัวตน มักอย่ใู นรูปแบบของแรงงานทต่ี อบสนองความต้องการของลูกค้า
ด้านความพึงพอใจและความคาดหวัง รายได้มาจากค่าบริการ เช่น ค่าธรรมเนียม ค่านายหน้า
คา่ บริการ และค่าเชา่ ต้นทุนสว่ นใหญ่จะอยู่ในรูปแบบของแรงงาน

ประเทศไทยได้มกี ารแบ่งแยกประเภทตามขนาดของธรุ กิจ แบ่งออกเป็น ธรุ กจิ ขนาดใหญ่
ธรุ กิจขนาดกลาง และธรุ กจิ ขนาดยอ่ ม หรอื SME ท่เี รารจู้ กั กัน ดว้ ยหลักเกณฑ์ดงั ตอ่ ไปน้ี

ขนาดย่อม ขนาดกลาง ขนาดใหญ่

ประเภทกิจการ แรงงาน มูลคา่ แรงงาน มลู ค่า แรงงาน มูลคา่ สนิ ทรพั ย์
(คน) สนิ ทรพั ย์ สนิ ทรัพย์ ถาวร

ถาวร ถาวร (ลา้ นบาท)
(ลา้ นบาท) (ลา้ นบาท)

กจิ การผลติ สนิ คา้ ไม่เกิน 50 ไม่เกนิ 50 51-200 51-200 มากกว่า 200 มากกวา่ 200

กจิ การใหบ้ ริการ ไม่เกนิ 50 ไม่เกิน 50 51-200 51-200 มากกวา่ 200 มากกว่า 200

กจิ การค้าส่ง ไมเ่ กนิ 25 ไมเ่ กนิ 50 26-50 51-100 มากกวา่ 50 มากกวา่ 100

กจิ การค้าปลีก ไมเ่ กนิ 15 ไมเ่ กิน 30 16-30 31-60 มากกวา่ 30 มากกวา่ 60

5. ปจั จัยของการเป็นผ้ปู ระกอบการ

5.1 ปจั จยั ท่ที ำใหผ้ ปู้ ระกอบการประสบความสำเร็จ
5.1.1 ความมงุ่ มัน่ ท่จี ะประสบความสำเรจ็ (Willingness to succeed)
5.1.2 ความมนั่ ใจในตนเอง (Self-confidence)
5.1.3 แนวคดิ เกย่ี วกับธุรกจิ (A business idea)
5.1.4 แผนงานทเ่ี ปน็ ระบบ (The business plan)
5.1.5 ความสามารถในการบริหารการเงิน (Exact control of finance)
5.1.6 การกำหนดเป้าหมายทางการตลาด (Targeted marketing)

5.1.7 ความสามารถในการมองเห็นสภาพของการแข่งขันในอนาคต (A step ahead of
the competition)

5.1.8 การสนบั สนุนด้านการจัดการ (Management support)
5.1.9 การประสานงาน (Cooperation)
5.1.10 การจัดองค์กรที่ชดั เจน (Clear company structure)
5.2 จริยธรรมและความรับผิดชอบต่อสังคมของผ้ปู ระกอบการ

รูปภาพท่ี 1 Corporate Social Responsibility
ท่ีมาของรูปภาพ: https://www.facebook.com/nida.ac.th/posts/1643159149075551/

6. กระบวนการของผู้ประกอบการ

6.1 การกำหนดและประเมนิ โอกาส (Identify and evaluate the opportunity)
6.2 การพัฒนาแผนธรุ กิจ (Develop a business plan)
6.3 การกำหนดทรพั ยากรท่ีต้องใช้ (Determine the resources required)
6.4 การจัดการหนว่ ยธรุ กิจ (Manage the enterprise)

สรุปสาระสำคญั

ผู้ประกอบการ เป็นผู้ที่มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์และสามารถยอมรับความเสี่ยงในด้านตา่ ง ๆ ท่ี
เกิดขึ้นกบั ธุรกิจไดโ้ ดยใช้ความสามารถ ความพยายาม และเงินทนุ เพ่ือให้การดำเนินธรุ กจิ ประสบผลสำเร็จ
และมผี ลกำไร

ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการประกอบธุรกิจ แบ่งออกเป็น 2 ลักษณะ ได้แก่ ปัจจัยภายในและปัจจัย
ภายนอก

จุดมุ่งหมายในการประกอบการ แบง่ ออกได้เป็น 5 ด้าน ไดแ้ ก่ ดา้ นธรุ กจิ ด้านจติ วิทยา ด้านสงั คม
ด้านเศรษฐกิจ และด้านสิ่งแวดลอ้ ม

รูปแบบของธุรกิจและประเภทของธุรกจิ ได้แก่การเลอื กรปู แบบธุรกิจและประเภทของธุรกจิ
ปัจจัยการเป็นผู้ประกอบการ ได้แก่ ปัจจัยที่ทำให้ผู้ประกอบการประสบความสำเร็จ เช่นความ
มุ่งมั่น แนวทางเกี่ยวกับธุรกิจ และปัจจัยที่ทำให้ผู้ประกอบการไม่ประสบความสำเร็จ เช่นการขาด
บคุ ลกิ ภาพ การขาดแนวคดิ ทีช่ ดั เจน การขาดแผนงาน
กระบวนการของผู้ประกอบการควรมีการประเมินความพร้อมในด้านตา่ ง ๆ เช่น การกำหนดและ
ประเมนิ โอกาสการพฒั นาแผนธุรกจิ การกำหนดวทิ ยากรท่ตี ้องใช้

แบบฝึกหดั หนว่ ยท่ี 1 ความรเู้ บ้อื งต้นเกย่ี วกับการเป็นผู้ประกอบการ
คำสั่ง จงตอบคำถามต่อไปน้ีให้ถกู ตอ้ ง (คะแนนเต็ม 10 คะแนน)

1. จงอธิบายความหมายของผู้ประกอบการ
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
2. ความสำคัญของการประกอบธุรกิจมีอะไรบา้ ง
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
3. ปจั จยั ที่ทำใหผ้ ูป้ ระกอบการประสบความสำเรจ็ มีอะไรบ้าง ให้เลือกมา 5 ปจั จัย ท่คี ดิ ว่ามีความสำคัญ
มากที่สุด
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
4. กระบวนการของผปู้ ระกอบการมีอะไรบ้าง ผู้เรียนคดิ วา่ กระบวนการข้อใดมคี วามสำคัญมากท่สี ดุ
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ใบมอบหมายงาน หน่วยที่ 1 ความรู้เบ้ืองตน้ เก่ียวกับการเป็นผู้ประกอบการ
คำชี้แจง ให้ผู้เรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 5 คน ร่วมกันหาข้อมูลของผู้ประกอบการ
จากสถานประกอบการหรือแหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ แล้วร่วมกันอภิปรายเกี่ยวกับ
คณุ สมบัติของผู้ประกอบการทด่ี ีท่ีดำเนนิ ธรุ กจิ จนประสบความสำเร็จ ส่งตัวแทน
กลุ่มนำเสนอผลการอภิปรายหนา้ ชัน้ เรยี น พร้อมทั้งยกตัวอย่างประกอบกลุ่มละ
5-10 นาที (คะแนนเต็ม 10 คะแนน)

แบบทดสอบหลังเรยี น หนว่ ยท่ี 1 ความร้เู บื้องตน้ เกยี่ วกับการเป็นผปู้ ระกอบการ
คำสั่ง จงเลือกคำตอบท่ถี ูกต้องท่ีสุดเพยี งขอ้ เดียว (คะแนนเต็ม 10 คะแนน)

1. ขอ้ ใดคือผู้ประกอบการ

1. แพทย์ 2. วศิ วกร

3. เจ้าของร้านถ่ายรูป 4. พอ่ ครัวปรงุ อาหาร

5. พนักงานขับรถ

2. การแสวงหาผลกำไรสำหรับผู้ประกอบการจะตอ้ งคำนึงถึงปจั จัยในข้อใด

1. เกาะกระแส 2. ดกี ว่า

3. แปลกใหม่ 4. ราคาเหมาะสม

5. การสร้างภาพลักษณ์ทดี่ ีงามของผ้ปู ระกอบการ

3. การเสียภาษีของผูป้ ระกอบการถือเป็นความรับผดิ ชอบตามข้อใด

1. ความรับผดิ ชอบตอ่ ลูกค้า 2. ความรบั ผิดชอบต่อรัฐ

3. ความรับผดิ ชอบต่อลูกจ้าง 4. ความรับผดิ ชอบตอ่ สังคม

5. ความรบั ผิดชอบต่อเศรษฐกิจ

4. “การหาข้อมลู ข่าวสารบ้านเมอื งและการใหค้ วามสนใจพดู คยุ สอบถามผู้ท่ีมีประสบการณ์ด้านต่าง ๆ”

เปน็ คุณสมบตั ิของผู้ประกอบการด้านใด

1. ความกล้าเสีย่ ง 2. มุ่งความสำเร็จ

3. มีความคิดริเร่ิมสรา้ งสรรค์ 4. ใฝห่ าความรู้เพ่ิมเตมิ

5. มีการประสานงานทด่ี ี

5. “กล้าทจี่ ะแตกตา่ งจากตลาดที่มีอยเู่ ดมิ กลา้ ใช้วธิ ีการขายทไี่ ม่เหมอื นใคร และกล้าประดิษฐ์คน้ ควา้ สง่ิ

แปลกใหม่เข้าสตู่ ลาด” เปน็ คุณสมบัตขิ องผู้ประกอบการดา้ นใด

1. ความกล้าเสีย่ ง 2. มุ่งความสำเรจ็

3. มีความคดิ รเิ ร่ิมสร้างสรรค์ 4. ใฝ่หาความรู้เพมิ่ เตมิ

5. มกี ารประสานงานทีด่ ี

6. กระบวนการของผ้ปู ระกอบการมที ั้งหมดก่ีขั้นตอนอะไรบา้ ง

1. 1 ข้ันตอน คือ การสรา้ งผปู้ ระกอบการ

2. 2 ข้นั ตอน คือ การกำหนดและประเมนิ โอกาส และการจัดหาหน่วยธรุ กจิ

3. 3 ขั้นตอน คือ การกำหนดและประเมนิ โอกาส การจัดหาหนว่ ยธุรกจิ และการวางแผนธรุ กิจ

4. 4 ขน้ั ตอน คือ การกำหนดและประเมินโอกาส การจัดหาหนว่ ยธุรกิจ การกำหนดทรัพยากรทต่ี ้องใช้

และการจัดการหน่วยธุรกิจ

5. 5 ข้นั ตอน คือ การสร้างผู้ประกอบการ การกำหนดและประเมินโอกาส การกำหนดทรัพยากรที่ตอ้ ง

ใช้การพัฒนาแผนธรุ กจิ และการวางแผนธรุ กจิ

7. โอกาสทางธรุ กจิ เกิดข้ึนได้อย่างไร

1. การคาดเดาเอาเองของผู้ประกอบการ

2. การวเิ คราะห์สภาพแวดล้อมภายนอกองค์กรธุรกจิ

3. การวเิ คราะหส์ ภาพแวดล้อมภายในองคก์ รธุรกจิ

4. การวเิ คราะหผ์ ลงาในอดตี ที่ผ่านมา

5. การคาดการณใ์ นอนาคต

8. แผนธุรกจิ ทดี่ ีมปี ระโยชนอ์ ย่างไรต่อผปู้ ระกอบการ

1. สามารถพฒั นาใหเ้ ขา้ ถึงโอกาสทางธรุ กิจได้

2. ต้องกำหนดท้ังก่อนและหลงั การดำเนนิ ธรุ กิจ

3. ตอ้ งเข้าใจประเด็นพ้ืนฐานต่าง ๆ ของแผนธุรกิจ

4. เพ่อื ใช้ทรัพยากรใหค้ มุ้ คา่ ท่ีสดุ ตามท่กี ำหนดไว้ในแผนธุรกิจ

5.ถูกทุกข้อ

9. ข้อใดไมใ่ ช่ทรพั ยากรท่ีต้องนำมาใช้ในการประกอบกิจการ

1. พนกั งาน เงินทุน และการจดั การ 2. เงินทุน วัตถดุ ิบ และเครอ่ื งจักร

3. ทรัพยากรธรรมชาติและเทคโนโลยี 4. ผ้บู ริหาร เงินเดือน และขวัญกำลงั ใจ

5. หัวหน้างาน การบรหิ ารจดั การ และค่าจ้าง

10. ผู้ประกอบกจิ การทีม่ ีความสามารถเปน็ ไดย้ ากหรอื งา่ ย เพราะเหตุใด

1. เป็นไปไดย้ าก เพราะมีภาระงานทรี่ บั ผดิ ชอบสูงกวา่ ผ้บู ริหารกิจการทั่วไป

2. เป็นไปไดง้ า่ ย เพราะมีผู้บริหารธรุ กจิ และพนักงานคอยสนับสนนุ การทำงาน

3. เป็นไปไดง้ ่าย เพราะในปจั จบุ นั มกี ารสอนหลักสตู รการเปน็ ผู้ประกอบการอย่มู าก

4. เป็นไปได้ยาก เพราะต้องเรียนรู้งานหลายดา้ น

5. ถกู ทุกข้อ

แบบทดสอบกอ่ นเรียน หน่วยที่ 2 การวางแผนเป้าหมายชวี ติ
คำส่ัง จงเลือกคำตอบทถ่ี ูกต้องที่สดุ เพียงขอ้ เดียว (คะแนนเต็ม 10 คะแนน)

1. การวางแผนเป้าหมายชีวิตคอื อะไร

1. การวางแผนการดำเนินชีวิตประจำวนั 2. การเลือกอาชพี ท่จี ะทำในปัจจบุ นั และอนาคต

3. การมีอาชีพเป็นผู้ประกอบการหรือนักธุรกจิ 4. การนำเงินไปลงทุนในด้านตา่ ง ๆ

5. ถกู ทุกข้อ

2. คนสว่ นใหญม่ ีความต้องการประกอบธรุ กจิ ส่วนตัวแตไ่ ม่สามารถทำได้เพราะสาเหตุใด

1. ค้นหาเป้าหมายชวี ิตไม่เจอและไม่ชดั เจน

2. ไมช่ อบเป็นเจ้านายของตนเองหรอื ชอบเปน็ ลูกจ้าง

3. มภี าระท่ตี อ้ งทำหลายด้านและมีความทา้ ทายมากกวา่ อาชพี อนื่

4. มีเงินมากพอที่จะดำรงชีพและไม่ต้องการลงทุน

5. อาชีพผ้ปู ระกอบการธุรกจิ ตอ้ งใช้เงินทนุ จำนวนมาก

3. ข้อใดเปน็ ปจั จัยภายนอกระดับมหภาคที่อาจจะสง่ ผลดีต่อการดำเนินกจิ การ

1. ผู้ขาย ปจั จยั การผลติ 2. กล่มุ สาธารณะชน

3. เทคโนโลยีและนวตั กรรม 4. ลูกคา้

5. คู่แขง่ ขัน

4. ประโยชนท์ ่ีไดจ้ ากการดำเนินธุรกิจมคี วามสำคญั ต่อเศรษฐกจิ อยา่ งไร

1. เพิ่มมาตรฐานการครองชีพให้กบั สงั คม

2. สรา้ งมูลคา่ เพมิ่ ใหก้ ับตวั ผลิตภัณฑ์ทำให้มรี ายได้เพ่ิมขึ้นเพ่อื หล่อเล้ียงให้กิจการดำรงอยู่ได้

3. เกดิ การอุปโภคบริโภคเพิม่ ข้นึ อยา่ งต่อเนื่อง

4. มกี ารนำเสนอการขายสินค้าหรือบริการใหมๆ่ และสรา้ งความแตกตา่ งไปสตู่ ลาด

5. ถกู ทกุ ข้อ

5. ข้อใดเป็นเปา้ หมายทางการเงินในระยะสั้นสำหรบั การประกอบกิจการ

1. เกบ็ เงนิ ไว้ซ้ือเส้อื เพอ่ื จำหน่าย 2. เก็บเงินไวเ้ ปิดกิจการเม่ือเรียนจบ

3. เกบ็ เงนิ ไวซ้ ้ือบา้ นเพื่อทำเป็นโรงงาน 4. เก็บเงินไว้ซ้ือรถยนต์คันใหม่

5. เก็บเงินไว้ขยายกจิ การ

6. การกำหนดเป้าหมายชีวติ ตอ้ งเร่ิมตน้ จากเรอ่ื งใดเป็นสำคัญ
1. ขดี กรอบเป้าหมายให้แคบลง
2. ต้งั คำถามใหแ้ ก่ตนเอง
3. วเิ คราะห์ความชอบของตนเอง
4. ศกึ ษาข้อมูลเพ่ือไปสูเ่ ป้าหมาย
5. หาเงินทุนก่อนกำหนดเป้าหมาย

7. การต้ังเปา้ หมายชวี ติ “ผปู้ ระกอบกจิ การควรกำหนดเป้าหมายท่ที า้ ทาย” หมายถงึ ข้อใด
1. การตงั้ เปา้ หมายท่ีไม่งา่ ยหรอื ไมย่ ากจนเกนิ ไป
2. การตั้งเปา้ หมายทง่ี ่ายเพื่อไดท้ ำได้สำเรจ็ โดยเรว็
3. การต้งั เปา้ หมายท่ยี ากมากเพื่อไมใ่ ห้ทำได้สำเรจ็ งา่ ย
4. การตง้ั เปา้ หมายท่ที ำไมไ่ ด้
5. การตง้ั เป้าหมายไว้ในหลาย ๆ ด้านเพื่อนำมาเลอื กใช้

8. ทำไมจงึ ต้องตั้งเปา้ หมายหลักและเปา้ หมายรองไวใ้ นการกำหนดเปา้ หมายชวี ติ
1. เพ่อื ให้ทำทง้ั สองเป้าหมายพร้อมกนั
2. ทำเปา้ หมายหลกั กอ่ นถา้ ไมส่ ำเรจ็ จึงทำเปา้ หมายรอง
3. ทำเป้าหมายรองก่อนถ้าไม่สำเรจ็ จงึ ทำเป้าหมายหลัก
4. จะไดไ้ มต่ อ้ งทำทัง้ สองเป้าหมายพร้อม ๆ กนั
5. ถกู ทกุ ขอ้

9. ขอ้ ใดเป็นจริยธรรมของผปู้ ระกอบธุรกจิ ทค่ี วรมีต่อพนักงาน
1. สรา้ งขวัญกำลังใจและใหค้ ่าตอบแทนอย่างยตุ ิธรรม
2. ปอ้ งกันไม่ใหม้ สี ง่ิ เจอื ปนในผลิตภัณฑ์อาหารของกจิ การ
3. ประหยดั คา่ ใช้จ่ายและลดการสญู เสียที่อาจเกดิ ขึ้น
4. ไม่หลกี เล่ียงภาษแี ละปฏิบัตติ ามข้อบังคับของภาครัฐ
5. สนิ ค้าและบรกิ ารทม่ี ีคุณภาพ

10. การละเว้นการกระทำที่ทำให้ราคาสนิ ค้าสงู ขนึ้ โดยไม่มเี หตุผลเปน็ จรรยาบรรณของผู้ประกอบธรุ กิจท่ี
ต้องมีต่อใคร

1. ลูกค้า
2. คูแ่ ข่งขัน
3. พนกั งาน
4. นกั ธุรกจิ ด้วยกนั
5. หนว่ ยงานราชการ

หนว่ ยท่ี 2
การวางแผนเป้าหมายชีวติ

สาระสำคญั

การเป็นผปู้ ระกอบการทดี่ ีควรวิเคราะห์โอกาสทางธุรกิจได้ โดยการใชป้ ัจจัยดา้ นต่าง ๆ ท่ีมีอิทธิพล
ต่อการประกอบธุรกิจเข้ามาช่วย มีการวางแผนเป้าหมายชีวิตเพื่อจะได้เป็นผู้ประกอบการที่ดี และมี
จรรยาบรรณในการดำเนนิ ธรุ กิจ

ผู้ประกอบการที่ดีควรมีการตั้งคำถามถึงเป้าหมายชีวิตในการประกอบอาชีพว่าชอบอาชีพอะไร
จากนั้นจึงวิเคราะห์ความชอบของตนเอง ศึกษาข้อมูล ตั้งเป้าหมาย และดำเนินการตามแผนเพื่อให้ถึง
เป้าหมาย ซึ่งการเป็นผู้ประกอบการท่ดี จี ะต้องคำนึงถงึ จรรยาบรรณในการประกอบธรุ กจิ ดว้ ย

1. โอกาสในการประกอบธรุ กจิ

1.1 เงื่อนไขความรู้ (Knowledge condition) การประกอบธุรกิจจะต้องมีความรู้ที่เป็น
ประโยชน์ตอ่ การดำเนินงาน ซึ่งในเงื่อนไขดา้ นความรู้มีระดับความยากงา่ ยที่แตกต่างกันตามกระบวนการ
ผลติ

1.2 เงื่อนไขด้านอุปสงค์ตลาด (Demand condition) อุปสงค์ตลาดเกิดจากความต้องการซ้ือ
ผลิตภัณฑ์ในอุตสาหกรรมใดอุตสาหกรรมหนึ่ง โดยคำนึงถึงองค์ประกอบที่มีความจำเป็น ความต้องการ
ความปรารถนาท่จี ะซ้อื และเงินทส่ี ามารถซ้ือผลิตภัณฑน์ ้ัน ๆ ได้ ซ่ึงอปุ สงคจ์ ะไมเ่ กิดหากขาดองค์ประกอบ
ใดองคป์ ระกอบหนง่ึ

1.3 วงจรชีวิตอุตสาหกรรม (Industry life cycle) วงจรชีวิตอุตสาหกรรมมีลักษณะ
เช่นเดียวกบั วงจรชีวติ ผลิตภัณฑ์ทางการตลาด และมีความสำคญั ต่อผู้ประกอบการเปน็ อย่างมาก เนอ่ื งจาก
การวิเคราะห์วงจรชีวติ อุตสาหกรรมเป็นการวิเคราะห์ภาวะต่าง ๆ ของอุตสาหกรรมท่ีกิจการมีความสนใจ
ทจ่ี ะเข้าไปลงทนุ หรือประกอบธุรกิจว่าตลาดและอุตสาหกรรมนน้ั มีลักษณะและแนวโน้มที่ดีหรือไม่ โดยจะ
พิจารณาจากอัตราการเติบโตของอุตสาหกรรมและช่วงช่วงเวลาของวงจรชีวิตอุตสาหกรรม รวมถึง
ภาวการณ์แข่งขัน ซึ่งจะทำให้คาดคะเนแนวโน้มอุตสาหกรรม เพื่อใช้ประกอบการตัดสินใจได้อย่าง
เหมาะสม

1.4 โครงสร้างอุตสาหกรรม (Industry structure) การวิเคราะห์โครงสร้างอุตสาหกรรมถือ
เป็นความจำเป็นที่ต้องนำมาพิจารณา เพื่อการนำเสนอขายสินค้าหรือบริการของธุรกิจไปสู่ตลาดว่ามี

จำนวนคู่แข่งมากน้อยเพียงใด รูปแบบธุรกิจที่ดำเนินอยู่มีความแตกต่างหรือคล้ายคลึงกัน โดยทั่วไป
อุตสาหกรรมหนง่ึ ๆ จะประกอบดว้ ยผู้ขายปจั จยั การผลติ ผู้ผลิตสินค้าหรอื ผู้สง่ มอบบริการ ผแู้ ทนจำหนา่ ย
และลกู ค้ารายยอ่ ยในตลาด

2. ปจั จยั ท่ีมีอิทธิพลต่อการประกอบธรุ กจิ
การประกอบธรุ กิจทกุ ประเภทมกั ไดร้ ับผลกระทบจากปจั จัยและสง่ิ แวดล้อมทางธรุ กิจผลกระทบ

นน้ั จะแตกตา่ งกันไปขึ้นอยกู่ ับส่ิงแวดลอ้ มท่ธี รุ กิจนน้ั ตั้งอยู่ ซ่ึงแบง่ ได้เปน็ 2 ประเภทใหญ่ ๆ คอื
2.1 สงิ่ แวดล้อมระดับจุลภาค (Micro environment)
2.2 สิง่ แวดล้อมระดับมหภาค (Macro environment)

รูปภาพที่ 2 สิ่งแวดลอ้ มทางการตลาด
ทมี่ าของรูปภาพ: http://patcharinboonsawad.blogspot.com/2017/11/ba09-spu-2.html

3. ประโยชน์ที่ไดร้ ับจากการประกอบธุรกจิ
3.1 ธุรกิจผลิตสินค้าและบริการเพื่อสนองความต้องการของมนุษย์ในสังคม เนื่องจากความ

ต้องการของคนเราแตกต่างกัน และมีความต้องการไม่มีที่สิ้นสุด โดยความต้องการของคนเราจะเพิ่มขึ้น
ตลอดเวลา เพื่อสร้างความพึงพอใจ และความสะดวกสบายแก่ตนเอง ธุรกิจจึงมีหน้าที่ในการจัดหาสิ่ง
ตา่ ง ๆ มาบริการสนองความตอ้ งการดงั กล่าว

3.2 ธุรกิจชว่ ยกระจายสนิ ค้าจากผู้ผลิตไปสู่ผบู้ ริโภค เม่อื ธุรกิจประเภทผ้ผู ลติ สินคา้ เช่น โรงงาน
อุตสาหกรรมผลิตสินค้าออกมาแล้ว การที่สินค้าจะกระจายไปสู่ผู้บริโภคได้นั้น จำเป็นต้องอาศัยธุรกิจ
ประเภทอื่นช่วยกระจายสินค้าไปสู่ผู้บริโภค เป็นต้นว่าธุรกิจการขนส่ง ทั้งทางบก ทางน้ำ ทางอากาศ
พ่อค้าคนกลาง การประชาสมั พนั ธ์ การบริการด้านการเงินของธนาคาร การสื่อสาร ฯลฯ

3.3 ธุรกิจเป็นแหล่งตลาดแรงงาน ในการดำเนินการธุรกิจมีความจำเป็นต้องใช้แรงงาน เพื่อทำ
การผลิตสินค้าหรือบริการ ดังนั้นการดำเนินธุรกิจจึงทำให้คนมีงานทำ สามารถหารายได้ เพื่อเลี้ยงตัวเอง
และครอบครัวได้ ทำให้ชีวิตความเป็นอยู่ของคนในสังคมดีขึ้น นอกจากนั้นการที่ธุรกิจกระจายไปอยู่ตาม
ส่วนต่าง ๆ ของประเทศ ก็เปน็ การกระจายรายได้ และตลาดแรงงานไปสู่ทอ้ งถิ่นอกี ดว้ ย

3.4 ธุรกิจเป็นแหล่งเพิ่มรายได้ให้แก่รัฐบาล เมื่อการดำเนินธุรกิจมีผลกำไร ผู้ประกอบธุรกิจมี
หนา้ ท่เี สยี ภาษีใหร้ ัฐบาลตามที่กฎหมายกำหนด ทำรายได้ของรัฐเพิ่มขนึ้ และรายไดด้ ังกลา่ วรฐั บาลนำไปใช้
ในการพัฒนาประเทศ ได้แก่ การสร้างโรงพยาบาล สร้างถนน สร้างโรงเรียน ซึ่งสิ่งเหล่านี้เป็นการสร้าง
คณุ ภาพชีวติ ใหเ้ กดิ แกป่ ระชาชน

3.5 ธุรกิจชว่ ยพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ ในการผลิตสินค้าและบริการของธุรกิจในระยะแรก
ๆ ก็เพ่ือสนองความต้องการของประชาชนในท้องถ่นิ จังหวัด และประเทศ แต่เมอื่ ธุรกิจขยายตัวเติบโตข้ึน
สามารถผลิตสินค้าและบริการได้มาก จนเกิดความต้องการของคนในประเทศจึงต้องส่งสินค้าออกไป
จำหนา่ ยยังตา่ งประเทศ ทำให้รายได้เขา้ สู่ประเทศ เป็นการพฒั นาเศรษฐกิจของประเทศได้อีกทางหน่งึ

4. การวางแผนเปา้ หมายชีวิตของผู้ประกอบการ

4.1 ตง้ั คำถามกับตนเอง
4.2 การวเิ คราะห์ความชอบตนเอง
4.3 การกำหนดเปา้ หมายให้แคบลง
4.4 การศึกษาข้อมูลเพ่อื นำไปสเู่ ปา้ หมาย
4.5 การต้ังเป้าหมายใหท้ า้ ทาย
4.6 การดำเนินการตามแผนงานเพ่อื ใหถ้ งึ เปา้ หมาย

รูปภาพท่ี 3 เป้าหมายในชีวิต
ที่มาของรูปภาพ: http://islamhouse.muslimthaipost.com/article/19629

5. จรรยาบรรณของผู้ประกอบธรุ กจิ

ในภาวะสังคมปัจจุบันที่มีการแข่งขันสูงมาก ทำให้นักธุรกิจต่างคิดกลยุทธก์ ารตลาดหลากหลาย
เพื่อต่อสู้กับคู่แข่งเพื่อให้ธุรกิจของตนอยู่รอด ในบางครั้งไม่ได้คำนึงถึงจรรยาบรรณของผู้ประกอบธุรกิจ
ผปู้ ระกอบธุรกจิ หรือนกั ธุรกิจมีบทบาทสำคัญในการพฒั นาระบบเศรษฐกิจของประเทศชาติ เปน็ ผูท้ มี่ ีความ
รับผิดชอบต่อสังคม ทำให้เกิดกิจกรรมร่วมกันของคนในสังคม โดยมีนักธุรกิจเป็นกลไกในการเชื่อมโยง
ดงั น้นั ผปู้ ระกอบธุรกิจจึงต้องเป็นผู้ท่ีมีความประพฤติดีและศรัทธาในวชิ าชีพของตน เป็นแบบอย่างที่ดีแก่
เพื่อนร่วมอาชีพ อันส่งผลให้เกดิ การยอมรับจากคนทัว่ ไปในสงั คม และสามารถทำให้ธุรกิจดำรงอยู่ได้
และเจริญก้าวหนา้ มากข้ึน ซึ่งจรรยาบรรณของธุรกิจ คือ หลักเกณฑ์ให้ผ้ปู ระกอบธรุ กจิ ยึดเป็นแนวทางการ
ประพฤติในการดำเนินอาชีพ โดยกำหนดตามบทบาทหลกั ดงั นี้

5.1 จรรยาบรรณของผู้ประกอบธุรกจิ ต่อลกู ค้า
ลูกค้า (Customer) คือ กลุ่มบุคคลผู้ซื้อสินค้าหรือบริการทำให้ธุรกิจมีรายได้ มีกำไร สามารถ
ดำรงธรุ กิจเจริญก้าวหน้า
5.2 จรรยาบรรณของผปู้ ระกอบธุรกจิ ตอ่ ผลิตภัณฑ์
ผลิตภัณฑ์ (Product) คือ สิ่งที่เสนอขายเพื่อสนองความต้องการของผู้บริโภคซึ่งผู้ประกอบธุรกิจ
ตอ้ งมกี ารควบคมุ การผลิตใหไ้ ด้ผลิตภัณฑ์ทดี่ มี คี ุณภาพตรงตามความต้องการของผ้บู รโิ ภค
5.3 จรรยาบรรณของผปู้ ระกอบธุรกิจตอ่ ค่แู ข่งขัน
คู่แข่งขัน (Competitor) คือ ผู้ที่ประกอบธุรกิจประเภทเดียวกับซึ่งต้องมีการแข่งขันกัน บางครั้ง
ต้องมกี ารพงึ่ พาอาศยั กัน การแขง่ ขนั ต้องเป็นไปอยา่ งถกู ต้อง
5.4 จรรยาบรรณของผู้ประกอบธุรกจิ ต่อหนว่ ยราชการ
หน่วยราชการ (Government) เป็นสถาบันหนึ่งที่มีความสัมพันธ์กับการประกอบธุรกิจ ผู้
ประกอบธุรกิจต้องมีการติดต่อกับหน่วยงานอย่างสม่ำเสมอ นอกจากนี้การประกอบธุรกิจยังอยู่ในการ
ควบคมุ ดูแลของหน่วยราชการอกี ด้วย
5.5 จรรยาบรรณของผปู้ ระกอบธรุ กิจต่อพนักงาน
พนักงาน (Employer) คือ บุคลากร ซึ่งเป็นปัจจัยในการประกอบธุรกิจที่สำคัญ ถ้าไม่มีพนักงาน
ทำหน้าท่ตี ่าง ๆ ในองค์กร ยอ่ มทำใหไ้ ม่เกดิ กิจกรรมทางธุรกจิ
5.6 จรรยาบรรณของผ้ปู ระกอบธรุ กิจตอ่ สงั คม
สังคม (Society) คือ การอยู่ร่วมกันเป็นกลุ่มของบุคคล มีหน้าที่ในสังคมแตกต่างกัน มีการแบ่ง
งานกันทำ มีสิทธิและเสรีภาพในฐานะการเป็นพลเมืองเท่าเทียมกันตามกฎหมาย ผู้ประกอบธุรกิจก็ถือว่า
เป็นส่วนหนึ่งของสังคม จึงต้องมีส่วนร่วมช่วยพัฒนาสังคมให้เจริญก้าวหน้ามีความสงบสุข มีส่วน
รบั ผิดชอบกับสภาพแวดลอ้ มและกจิ กรรมต่าง ๆ ในสังคม

5.7 จรรยาบรรณของพนักงานตอ่ ผู้ประกอบธรุ กิจ

พนักงานต้องมีจรรยาบรรณในการประกอบอาชีพต่อผู้ประกอบธุรกิจเช่นเดียวกัน ถ้าทั้ง 2 ฝ่าย

ต่างปฏิบัติต่อกันด้วยการมีจรรยาบรรณย่อมทำให้การทำงานประสบผลสำเร็จและอยู่ร่วมกันอย่างมี

ความสุขได้ ศกึ ษาขอ้ มลู เพิ่มเติม

สรุปสาระสำคัญ

โอกาสในการประกอบธุรกิจมเี ง่ือนไขต่าง ๆ เพอ่ื ชว่ ยเอ้ืออำนวยต่อการดำเนนิ ธุรกจิ เช่น เง่ือนไข
ด้านความรู้ เงื่อนไขด้านอุปสงค์ วงจรอุตสาหกรรม โดยสร้างอุตสาหกรรม ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการ
ประกอบธุรกิจ ไดแ้ ก่ ปจั จัยภายนอกและปัจจยั ภายในของกจิ การโดยปจั จัยภายนอกไม่สามารถควบคุมได้

ประโยชน์ที่ได้รับจากการประกอบธุรกิจ ได้แก่ ประโยชน์ต่อธุรกิจ ประโยชน์ต่อสังคมประโยชน์
ต่อเศรษฐกิจ การวางแผนเป้าหมายชวี ิตของผู้ประกอบธรุ กิจ ไดแ้ ก่ การตัง้ คำถามกับตนเอง การวิเคราะห์
ความชอบของตนเอง การกำหนดเป้าหมาย การศกึ ษาขอ้ มูลการตัง้ เป้าหมายท่ที ้าทาย และการดำเนินตาม
แผนงานเพ่อื ใหถ้ งึ เปา้ หมาย

จรรยาบรรณของผู้ประกอบธุรกิจ เช่น จรรยาบรรณของผู้ประกอบธุรกิจต่อลูกค้าจรรยาบรรณ
ของผปู้ ระกอบธรุ กิจตอ่ ผลติ ภัณฑ์ จรรยาบรรณของผปู้ ระกอบธรุ กิจต่อค่แู ขง่ ฯลฯ

แบบฝึกหดั หน่วยท่ี 2 การวางแผนเปา้ หมายชีวิต
คำสั่ง จงตอบคำถามตอ่ ไปนี้ใหถ้ ูกต้อง (คะแนนเตม็ 10 คะแนน)

1. ความสำคญั ของการสร้างโอกาสในการประกอบธุรกจิ มีอะไรบา้ ง จงอธบิ ายโดยสังเขป
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
2. ความสำคญั ของการประกอบธุรกิจท่เี ป็นประโยชน์ตอ่ สังคมมีอะไรบ้าง จงบอกประโยชน์มา 3 ขอ้
พรอ้ มอธบิ าย
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
3. ความสำคญั ของการวางแผนเป้าหมายชีวิตมีอะไรบา้ ง จงอธิบายโดยสังเขป
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
4. จรรยาบรรณของการเปน็ ผู้ประกอบธุรกจิ มีอะไรบ้าง จงอธิบายพร้อมยกตัวอยา่ งประกอบ
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ใบมอบหมายงาน หน่วยที่ 2 การวางแผนเปา้ หมายชีวิต
คำชี้แจง ให้ผู้เรียนจับคู่ ร่วมกันเลือกธุรกิจ 1 ประเภท ที่ผู้เรียนสนใจ
แล้ววางแผนใหเ้ หมาะสมกับธุรกจิ ท่ีเลอื ก โดยตอบคำถามตอ่ ไปนี้
1. ประเภทธรุ กจิ
2. การวางแผนเปา้ หมายชีวิตของผู้ประกอบธุรกจิ
2.1 ตั้งคำถามให้กบั ตนเองในการวางแผนธุรกิจ
2.2 วิเคราะห์ความชอบของตนเอง
2.3 การกำหนดกรอบเป้าหมาย
2.4 การศึกษาขอ้ มูลเพือ่ การนำไปวเิ คราะห์
2.5 การตั้งเป้าหมาย
2.6 การดำเนนิ การตามแผนงาน
3. โอกาสในการประกอบธุรกจิ
4. ประโยชน์ทไี่ ดร้ บั จากการประกอบธรุ กจิ
5. จรรยาบรรณในการประกอบธรุ กิจ

แบบทดสอบหลังเรียน หน่วยท่ี 2 การวางแผนเป้าหมายชีวิต
คำสั่ง จงเลือกคำตอบทถี่ กู ต้องที่สดุ เพียงขอ้ เดียว (คะแนนเต็ม 10 คะแนน)

1. การวางแผนเปา้ หมายชีวิตคอื อะไร

1. การวางแผนการดำเนินชีวิตประจำวัน 2. การเลือกอาชพี ที่จะทำในปัจจุบนั และอนาคต

3. การมอี าชีพเปน็ ผปู้ ระกอบการหรือนกั ธุรกิจ 4. การนำเงินไปลงทนุ ในด้านต่าง ๆ

5. ถกู ทกุ ขอ้

2. คนสว่ นใหญ่มคี วามต้องการประกอบธรุ กิจส่วนตัวแตไ่ ม่สามารถทำไดเ้ พราะสาเหตุใด

1. ค้นหาเป้าหมายชวี ติ ไม่เจอและไม่ชัดเจน

2. ไมช่ อบเป็นเจา้ นายของตนเองหรอื ชอบเปน็ ลกู จ้าง

3. มภี าระทีต่ ้องทำหลายด้านและมีความท้าทายมากกวา่ อาชพี อนื่

4. มีเงินมากพอที่จะดำรงชีพและไม่ต้องการลงทนุ

5. อาชีพผ้ปู ระกอบการธุรกิจต้องใช้เงนิ ทนุ จำนวนมาก

3. ข้อใดเปน็ ปัจจัยภายนอกระดบั มหภาคท่อี าจจะส่งผลดีต่อการดำเนินกจิ การ

1. ผู้ขาย ปจั จัยการผลิต 2. กลุ่มสาธารณะชน

3. เทคโนโลยแี ละนวตั กรรม 4. ลูกคา้

5. คู่แขง่ ขัน

4. ประโยชนท์ ่ีได้จากการดำเนินธรุ กิจมคี วามสำคญั ตอ่ เศรษฐกจิ อย่างไร

1. เพิ่มมาตรฐานการครองชีพให้กบั สงั คม

2. สรา้ งมลู คา่ เพิ่มใหก้ บั ตวั ผลิตภัณฑ์ทำให้มรี ายได้เพ่ิมขึ้นเพื่อหล่อเล้ียงใหก้ จิ การดำรงอยูไ่ ด้