วิทยาการ คํา น วณ ป.5 บท ที่ 1

สมาชิกกลมุ่ นายณัฐวุฒิ รอดสัมฤทธ์ิ น.ส.พรพมิ ล ศรมี าทร 61131114040 61131114045 นายนราทร ธรรมโกวทิ นายไพรตั ถ่ินวงคม์ ่อม น.ส.ศริ นิ ทิพย์ จนั ทร์กลาง 61131114048 61131114053 61131114059 นายกวินภบู งค์ สธุ ยี ุเรืองโชค นายภาสุกานต์ เทพรตั น์ 61131114060 61131114065 รายวชิ าพ้ืนฐานเทคโนโลยี (วทิ ยาการคานวณ) ป.5

สารบัญ รายวชิ าพ้นื ฐานเทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ป.5

สารบญั (ต่อ) รายวชิ าพ้ืนฐานเทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ป.5

1บทที่ ตุ๊กตาแมล่ ูกดก 1 จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ เขยี นรหสั ลาลองเพ่อื แสดงข้นั ตอนแกป้ ัญหาหรือการทางาน 2 ตัวชี้วดั ป.5/1 ใช้เหตุผลเชิงตรรกะในการแก้ปัญหา การอธิบายการทางานการ คาดการณผ์ ลลัพธ์ จากปัญหาอยา่ งงา่ ย 3 สาระการเรยี นรู้ การเขียนรหสั ลาลอง เพ่อื แสดงขนั้ ตอนแก้ปัญหาหรอื การทางาน 4 แนวคดิ รหัสลาลอง เป็นการเขียนข้อความเป็นข้ันตอนเพ่ือแสดงอัลกอริทึม ในการทางานหรือการแก้ปัญหา รหัสลาลองที่ดีควรมีความชัดเจน ทุกคน สามารถเข้าใจได้ตรงกัน เราสามารถนาความรู้เกี่ยวกับการเขียนรหัส ลาลองไปประยุกต์ใช้ในการแสดงข้ันตอนการทางานต่าง ๆ เช่น การ ประดิษฐ์ดอกไม้กระดาษ การทาอาหาร การยืมคืนหนังสือในห้องสมุด อลั กอรทิ มึ สามารถแสดงได้ในรูปแบบของรหัสลาลองหรือผงั งาน 6 แนวทางการจัดการเรยี นการสอน

บทท่ี 1 เท่ยี วบ้านคุณยาย 5 แนวทางการจดั การเรยี นรู้ 1. การจดั เตรยี ม 1.1 เตรยี มใบกิจกกรมตามจานวนนักเรียน 2.ขั้นตอนการดาเนินการ 2.1 ครูใช้คาถามนาเข้าสู่บทเรียน เพ่ือให้นักเรียนบอกลาดับ ข้ันตอนในการทากจิ กรรมต่างๆ เชน่ - การทาไข่เจียวมวี ธิ ีการอยา่ ง - การปลกู ล้นิ จี่มีวิธีการอยา่ งไร - การเก็บขา้ วโพดมวี ิธกี ารอยา่ งไร ให้นกั เรียนเขียนวธิ กี ารขั้นตอนลงกระดาษ 2.2 ให้นักเรียนทาใบงาน 1.1 ตุก๊ ตาแม่ลกู ดก รายวิชาพ้นื ฐานเทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ป.5 7

2บทท่ี ชมิ ชอป แชะ 1 จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ 1.1 วธิ ีการสมคั ร G-mail 1.2 วิธีการเขยี นอเี มลท์ ถ่ี ูกต้อง 1.3 มารยาทในการใช้เทคโนโลยี 2 ตวั ช้วี ดั ป.5/3 ใช้อินเทอร์เนต็ ค้นหาข้อมูลติดต่อส่ือสารและทางานร่วมกัน ประเมินความน่าเช่อื ถอื ของข้อมลู ป.5/5 ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัยมีมารยาทเข้าใจสิทธิ และหนา้ ท่ีของตนเคารพในสิทธิของผู้อ่ืนแจ้งผู้เกี่ยวข้องเม่ือพบข้อมูลหรือ บุคคลท่ีไมเ่ หมาะสม 3 สาระการเรยี นรู้ 3.1 มาสมัครอเี มลกนั เถอะ 3.2 มารยาทในการใชส้ มารต์ โฟน 8 แนวทางการจดั การเรยี นการสอน

บทที่ 2 ชิม ชอป แชะ 4 แนวคดิ การใช้อีเมลต้องมีความเข้าใจเกี่ยวกับส่วนประกอบต่าง ๆ และ เน้ือหาของอีเมลก่อนส่งอีเมลควรตรวจดูความเรียบร้อยเพ่ือให้แน่ใจว่ามี รายละเอียดท่ีสาคัญครบถ้วน การใช้อีเมลช่วยให้การติดต่อส่ือสารและ การทางานร่วมกันสะดวกย่ิงข้ึนไม่ควรส่งอีเมลหรือข้อความถึงผู้อ่ืนบ่อย เกินไปเน่ืองจากจะเป็นการรบกวน ควรให้ความสนใจพูดคุยกับคนท่ีอยู่ รอบขา้ งมากกวา่ การใช้อุปกรณเ์ ทคโนโลยี 5 แนวทางการจดั การเรยี นรู้ 1. การจดั เตรยี ม 1.1 แบบฝึ กทักษะรายวิชาพ้ืนฐานวิทยาศาสตร์เทคโนโลยี (วทิ ยาการคานวณ) ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 2 สสวท. 1.2 คลปิ วิดโี อการใชม้ อื ถอื อยา่ งปลอดภยั 2.ขั้นตอนการดาเนินการ 2.1 ครูทบทวนเร่ืองการใช้อินเทอร์เน็ตโดยครูถามนักเรียนใน ประเด็นตอ่ ไปน้ี > นักเรยี นใช้อนิ เทอร์เนต็ ในการทากจิ กรรมใดบา้ ง > นักเรียนใช้อินเทอร์เน็ตให้เป็นประโยชน์ในการเรียน อยา่ งไร รายวชิ าพ้ืนฐานเทคโนโลยี (วทิ ยาการคานวณ) ป.5 9

บทท่ี 2 ชมิ ชอป แชะ 5 แนวทางการจดั การเรยี นรู้ (ตอ่ ) > ให้นักเรียนบอกวิธีการติดต่อส่ือสารกับผู้อ่ืนมาให้ได้มาก ที่สุด (โทรศัพท์ส่งจดหมายส่งข้อความผ่านส่ือสังคมออนไลน์ฝากผู้อ่ืนไป บอกต่อนกพิราบส่อื สารส่งอเี มล) 2. ครูตั้งคาถามว่า“ ถ้านักเรียนต้องการส่งรูปถ่ายครอบครัวให้กับ ญาติที่ต่างจังหวัดนักเรียนจะเลือกใช้วิธีใดบ้าง” ครูเขียนคาตอบที่ นักเรียนตอบบนกระดานแล้วนาอภิปรายว่าควรเลือกใช้วิธีใดจึงจะสะดวก รวดเร็ว 3. ครูต้ังคาถามว่า“ ถ้าครูให้นักเรียนช่วยกันทารายงานกลุ่มโดย นักเรียนมีเวลาทาในช่วงวันหยุดเสาร์-อาทิตย์และต้องส่งไฟล์รายงานให้ ครูในเช้าวันจันทร์นักเรียนคิดว่าจะมีวิธีการทางานในกลุ่มอย่างไรจะส่ง ข้อมูลให้กันอย่างไร” (แบ่งงานกันคนละส่วนแล้วรวมไฟล์ในเช้าวันจันทร์ ก่อนส่งครูนัดหมายมาทางานร่วมกันในวันหยุดติดต่อส่ือสารกันผ่านส่ือ สังคมออนไลน์หรือโทรศัพท์ติดต่อส่ือสารผ่านอีเมลใช้อินเทอร์เนต็ ใน การส่งข้อมูล) 4. ครูนานักเรียนศึกษาเน้ือหาในหนังสือเรียนบทที่ 2 เร่ืองชิมชอป แชะ (จนถงึ เน้ือเร่ืองทคี่ ณุ แมใ่ หโ้ ปง้ ไปอาบน้า) และอภิปรายความรทู้ ีไ่ ด้ 5. ครูแนะนาโปรแกรมอีเมลท่ีจะใช้ในการเรียนการสอนใน ห้องเรียนและสาธิตการใช้งานจากนั้นครูชี้แจงและให้นักเรียนทาใบ กิจกรรมท่ี 2.1 รู้จักโปรแกรมอีเมลเม่ือนักเรียนทาใบกิจกรรมเสร็จแล้วครู ส่มุ นกั เรียนออกมานาเสนอและอภปิ รายคาตอบรว่ มกัน 10 แนวทางการจดั การเรยี นการสอน

บทที่ 2 ชมิ ชอป แชะ 5 แนวทางการจดั การเรยี นรู้ (ตอ่ ) 6. ครูถามนักเรียนว่าการใช้ภาษาในการเขียนอีเมลควรใช้ถ้อยคา หรือภาษาอย่างไรให้เหมาะสม (ถ้าส่งจดหมายถึงครูหรือบุคคลท่ีมีอายุ มากกวา่ ควรเลือกใช้ภาษาท่ีสุภาพแสดงถึงความเคารพหรือถ้าส่งจดหมาย ถึงเพ่ือนใช้ภาษาทเ่ี ป็นกันเองสุภาพและไม่ใช้คาหยาบ) 7. ครูแบ่งนักเรียนเป็นกลุ่มกลุ่มละ 2-4 คนจากน้ันชี้แจงและให้ นักเรียนทาใบกิจกรรมที่ 2.2 เขียนอย่างไรให้เหมาะสมเม่ือนักเรียนทาใบ กิจกรรมเสร็จเรียบร้อยแล้วครูสุ่มนักเรียนออกมานาเสนอคาตอบและ อภปิ รายคาตอบร่วมกนั 8. ครูนานักเรียนศึกษาเน้ือหาในหนังสือเรียนส่วนท่ีเหลือ ซ่ึงเป็น เร่อื งเกยี่ วกบั มารยาทในการใช้สมาร์ตโฟนอย่างเหมาะสมจากน้ันอภิปราย ความรูท้ ่ีได้ 9. ครูช้ีแจงและให้นักเรียนทาใบกิจกรรมท่ี 2.3 อ๊ะ! อ๊ะ! อย่าทา จากนั้นสุ่มนักเรียนน้ าเสนอคาตอบโดยให้นักเรียนร่วมกันอภิปรายระบุ เหตุผลหรือข้อดีข้อเสียจากการปฏิบัติในแต่ละข้อและหากพบผู้ที่ใช้ สมารต์ โฟนไมเ่ หมาะสมควรทาอย่างไร (อาจให้คาแนะนาหรือบอกเหตุผล ข้อดีข้อเสียโดยใช้คาท่ีสุภาพและสังเกตว่าผู้ฟังยินดีท่ีจะรับฟังคาแนะนา หรือไม่) 10. ครูนาอภิปรายโดยให้นักเรียนบอกมารยาทการใช้โทรศัพท์ เพ่ิมเติมจากในหนงั สือเรียนและในแบบฝึกทักษะ รายวชิ าพ้นื ฐานเทคโนโลยี (วทิ ยาการคานวณ) ป.5 11

บทที่ 2 ชมิ ชอป แชะ 5 แนวทางการจดั การเรยี นรู้ (ต่อ) 11. ครนู าอภิปรายในประเดน็ อ่ืนๆ ขยายความร้ทู ่ไี ดร้ ับในหนังสอื เรียน 12. ครูนานกั เรยี นรว่ มกนั สรปุ ความรทู้ ี่ไดจ้ ากการจดั กจิ กรรมเชน่ >นกั เรยี นได้รบั ความรอู้ ะไรจากกิจกรรมน้ี >ขอ้ ดีของการใช้อีเมลมอี ะไรบ้าง (สะดวกรวดเร็วประหยัดเวลา สามารถส่งไดท้ ั้งภาพข้อความเสยี งวิดโี อภาพเคล่ือนไหว) > ถ้านักเรียนจะเขียนอีเมลถึงครูประจาช้ันควรใช้ภาษาในการ เขียนอีเมลอย่างไร (ใช้คาสุภาพแสดงถึงความเคารพมีคาข้ึนต้น- คาลงท้าย) > ถ้ า น ักเ รียน อยู่ ใ น ห้ อง สมุ ดแต่ มีค วา ม จา เ ป็ น ต้อง ใ ช้ โทรศัพท์มือถอื นักเรยี นควรปฏิบัติอยา่ งไร (เปิดระบบส่ันหรือปิดเสียงเรียก เข้าใช้หูฟังไม่คุยโทรศัพท์เสียงดัง หากมีสายเรียกเข้าให้เดินออกไปคุย โทรศัพทน์ อกห้องสมุด) > นักเรียนจะนาความรู้ที่ได้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน อย่างไรการวดั และ 12 แนวทางการจัดการเรยี นการสอน

3บทที่ การใช้โปรแกรมตาราง การประมวลผลข้อมลู 1 จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ 1.1 ตรวจหา และแก้ไขขอ้ ผิดพลาดของข้อมูล 1.2 ประมวลผลขอ้ มลู และนาเสนอข้อมลู ตามวตั ถุประสงค์ 1.3 ใช้ซอฟต์แวร์เพ่อื แก้ปัญหาในชีวิตประจาวัน 2 ตวั ชว้ี ดั ป.5/4 รวบรวม ประเมิน นาเสนอข้อมูลและสารสนเทศตาม วัตถุประสงค์โดยใช้ซอฟต์แวร์หรือบริการอินเทอร์เนต็ ที่หลากหลาย เพ่ือ แก้ปัญหาในชีวิตประจาวัน 3 สาระการเรยี นรู้ การใชโ้ ปรแกรมตารางการประมวลผลขอ้ มูล 4 แนวคดิ - เราสามารถใช้โปรแกรมตารางทางานในการประมวลผลข้อมูลเช่น นับจานวน คานวณผลรวม เรียงลาดับข้อมูล การนับจานวนทาได้โดยใช้ สูตร เช่น COUNT,COUNTA,COUNTIF การเรียงลาดับข้อมูลทาได้ โดยใชค้ าสั่ง Sort &Filter 14 แนวทางการจดั การเรยี นการสอน

บทท่ี 3 การใชโ้ ปรแกรมตารางการประมวลผลข้อมูล 5 แนวทางการจดั การเรยี นรู้ 1. เตรียมคอมพิวเตอร์ที่ติดต้ังโปรแกรมตารางทางานครูชี้แจง เน้ือหาและให้นักเรียนทาใบกิจกรรมข้อท่ี 1. ต้ังช่ือให้นอ้ งเป็ด ครูสุ่มให้ นกั เรยี นเสนอคาตอบ แลว้ ร่วมกนั อภิปรายประเดน็ ในการอภิปราย เชน่ - กิจกรรมน้ี เราสามารถหาคาตอบได้อย่างไร (ใช้สูตร COUNTA และ COUNTIF ในการนับจานวนช่ือตามเง่ือนไขใช้ ฟังก์ช่นั Sort ในการเรยี งลาดบั รายช่ือ) - ถ้าไม่ใช้สตู รชุดน้ีจะหาคาตอบได้หรือไมแ่ ละจะทาอยา่ งไร 2. ครูช้ีแจงให้นักเรียนชี้แจงเน้ื อหาและให้นักเรียนเร่ิมทา ใบกิจกรรมที่ 2 วัตถุดบิ ของเครป โดยอธิบายเพ่ิมเติมว่า สูตรของวัตถุดิบ ที่ใช้ในการทาเครปสาหรับกิจกรรมเป็นข้อมูลท่ีสมมติข้ึนเท่านั้น เม่ือ นักเรียนทาใบกิจกรรมเสร็จครูสุ่มนักเรียนนาเสนอ คาตอบ และร่วมกัน อภิปรายประเดน็ ในการอภิปราย เชน่ - นักเรียนมีวิธีสร้างไส้เครปโดยไม่ให้ซ้ากันอย่างไร (จด บันทึกหรือทาสัญลักษณ์ไว้ว่าเลือกใช้ไส้ใดไปแล้วบ้าง จากน้ันเลือก ไสท้ ่ีไม่ซ้าในเมนูตอ่ ไป) - หากสามารถเพ่ิมวัตถุดิบได้นักเรียนจะเพ่ิมอะไร และจะทา เมนูเครปได้เพ่ิมอีกก่ีเมนู (ชีส สามารถเพ่ิมได้อีก 5 เมนู เช่น ชีส พรกิ เผา ชสี ชอ็ กโกแลต ชีสกล้วยหอมเนย ชสี หมูยอง ชสี ผกั โขม) รายวชิ าพ้ืนฐานเทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ป.5 15

บทที่ 3 การใช้โปรแกรมตารางการประมวลผลขอ้ มลู 5 แนวทางการจดั การเรยี นรู้ (ตอ่ ) 3. ครูนานักเรียนอภิปรายสรุป โดยใช้ประเด็นคาถามว่า นักเรียน ได้รับความรู้อะไรจากกิจกรรมนี้ (การใช้คาสั่ง COUNT, COUNTA, COUNTIF ในการประมวลผลข้อมูลการตรวจสอบความถูกต้อง การ วิเคราะหป์ ัญหาและสร้างทางเลอื ก) 16 แนวทางการจัดการเรยี นการสอน

4บทท่ี ดาวกระจายทีค่ า่ ยลูกเสอื 1 จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ 1. เขียนโปรแกรมโดยใช้การทางานแบบวนซ้า 2. ตรวจสอบและแก้ไขข้อผิดพลาดของโปรแกรม 2 ตัวชีว้ ดั ป.5/2 ออกแบบและเขียนโปรแกรมที่มีการใช้เหตุผลเชิงตรรกะ อย่างง่ายตรวจหาขอ้ ผดิ พลาดและแก้ไข 3 สาระการเรยี นรู้ 3.1 การออกแบบโปรแกรมโดยใช้รหัสลาลอง 3.2 การเขียนโปรแกรมทม่ี ีการทางานแบบวนซ้า 3.3 การตรวจสอบและแก้ไขขอ้ ผดิ พลาดของโปรแกรม 4 แนวคดิ เราสามารถวางแผนเขียนโปรแกรมโดยเขียนรหัสลาลองเพ่ือแสดง ข้ันตอนการทางาน บล็อกค่าส่ัง repeat ในโปรแกรม Scratch ใช้ในการ ทางานแบบวนซ้า บล็อกคาสั่ง forever ใช้ครอบชุดคาส่ังที่ต้องการทาซ้า ไปเร่ือยๆ ไม่ส้ินสุด 18 แนวทางการจดั การเรยี นการสอน

บทท่ี 4 ดาวกระจายทค่ี า่ ยลูกเสอื 5 แนวทางการจดั การเรยี นรู้ 1.การจดั เตรยี ม 1.1 แบบฝึกทักษะรายวิชาพ้ืนฐานวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ช้นั ประถมศึกษาปีที่ 5 1.2 เคร่ืองคอมพิวเตอร์ทีต่ ดิ ตงั้ โปรแกรม Scratch 2.ข้นั ตอนการดาเนินการ 2.1 ครูนาเข้าสู่บทเรียนโดยให้นักเรียนร่วมกันร้องเพลงท่ีนักเรียน สนใจเพลงสาหรับเด็ก หรือเพลงเชียร์กีฬา พร้อมทาท่าทางประกอบโดย อาจใช้คลิปวิดีโอเพ่ือให้นักเรียนเห็นตัวอย่างการแสดงท่าทาง เช่น เพลง กามือข้นึ แลว้ หมุนๆ 2.2 ครูเขียนเน้ือเพลงบนกระดานและให้นักเรียนช่วยกันพิจารณา ดังตวั อย่าง (1) กามอื ข้ึนแลว้ หมนุ ๆ ชมู ือข้ึนโบงไปมา (2) กามอื ข้นึ แล้วหมุน ๆ ชูมือข้ึนโบกไปมา (3) กางแขนข้นึ และลง พบั แขนข้ึนแตะไหล่ (4) กางแขนข้ึนและลง ชูข้นึ ตรงหมนุ ไปรอบตัว ครูถามนักเรียนว่า จากเน้ือเพลงท่ีครูเขียนจะมีบรรทัดใดท่ีซ้ากันท้ังหมด และในเพลงนี้ตอ้ งรอ้ งทอ่ นทมี่ คี าวา่ “กามอื ข้นึ แล้วหมุน ๆ ชูมือข้ึนโบกไปมา” ก่ีคร้ัง (2 ครง้ั ) รายวิชาพ้ืนฐานเทคโนโลยี (วทิ ยาการคานวณ) ป.5 19

บทท่ี 4 ดาวกระจายทค่ี ่ายลกู เสือ 5 แนวทางการจดั การเรยี นรู้ (ต่อ) 2.3 ครูลบข้อความในบรรทัดท่ี (1) และตัวเลขกากับหนา้ บรรทัด ท่ี (3) (4) ออก และเขยี นขอ้ ความทา้ ยบรรทดั ที่ (2) ดงั น้ี กามอื ข้นึ แล้วหมนุ ๆ ชูมือข้นึ โบกไปมา (รอ้ งซ้า 2 ครงั้ ) กางแขนข้ึนและลง พับแขนข้นึ แตะไหล่ การแขนข้ึนและลง ชขู ้นึ ตรงหมนุ ไปรอบตัว ครูให้นักเรียนร้องเพลงตามเง่ือนไขที่กาหนดบนกระดานและ ตรวจสอบว่านักเรียนร้องซ้าครบตามจานวนท่ีกาหนดหรือไม่ จากนั้นครูนา อภิปรายวา่ ในโปรแกรม Scratch ก็สามารถเขียนโปรแกรมเพ่ือสงั่ งานแบบ วนซ้าหรอื ทาซ้าไดเ้ หมือนกนั 2.4 ครูทบทวนคาส่ังพ้ืนฐานของโปรแกรม Scratch และเขียนรหัส ลาลอง ซ่ึงนอกจากจะเป็นการแสดงข้ันตอนการแก้ปัญหาแล้วยังใช้ ออกแบบการทางานของโปรแกรมไดอ้ กี ดว้ ย 2.5 ครูนาอภิปรายเกี่ยวกับกิจกรรมในค่ายลูกเสือและนานักเรียน ศึกษาเน้ือหาในบทเรียนที่ 4 เร่อื ง ดาวกระจายทคี่ ่ายลกู เสอื โดยให้นักเรียน ลงมือปฏิบัติไปพร้อมกับการศึกษาเน้ือหา จากนั้นครูเพ่ิมตัวอย่างการใช้ บล็อกคาสั่ง ask and wait บล็อกคาส่ัง join เพ่ือให้นักเรียนเข้าใจวิธีการ ประยุกต์ใชง้ าน 20 แนวทางการจัดการเรียนการสอน

5บทที่ ส่ือออนไลน์ 1 จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ 1.1 ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอยา่ งปลอดภยั และมีมารยาท 1.2 แยกแยะขอ้ เทจ็ จรงิ กบั ข้อคิดเหน็ 2 ตวั ชว้ี ดั ป.5/3 ใช้อินเทอร์เนต็ ค้นหาข้อมูล ติดต่อส่ือสารและทางานร่วมกัน ประเมนิ ความน่าเช่ือถอื ของข้อมลู ป.5/5 ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย มีมารยาท เข้าใจสิทธิ และหนา้ ท่ีของตน เคารพในสิทธิของผู้อ่ืน แจ้งผู้เก่ียวข้องเม่ือพบข้อมูล หรือบคุ คลทไ่ี มเ่ หมาะสม 3 สาระการเรยี นรู้ - การถ่ายทอดสด (Live) - การแสดงความคดิ เหน็ บนส่อื สังคมออนไลน์ - การแยกแยะข้อเท็จจรงิ กับขอ้ คิดเห็น 22 แนวทางการจดั การเรียนการสอน

บทที่ 5 ส่อื ออนไลน์ 4 แนวคดิ การถ่ายทอดสดมีประโยชน์ ช่วยเผยแพร่ความรู้หรือส่ิงท่ีต้องการ นาเสนอให้ผู้ท่ีสนใจ สามารถโต้ตอบกับผู้ชมได้ สถานการณ์ท่ีไม่ควร ถ่ายทอดสด เช่น เม่ืออยู่ตามลาพัง การแสดงพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสม หรือการกระทาท่ีสร้างความเดือดร้อนแก่ตนเองและผู้อ่ืน ผู้ที่ถ่ายทอดสด ควรปกปอ้ งข้อมูลส่วนตัว ระมัดระวังความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน การถ่ายทอดสดอาจมีคนท่ีเราไม่รู้จักเข้ามาดู และมารบกวนสร้างความ เดือดร้อนให้เราได้ การแสดงความคิดเห็นในส่ือสังคมต้องแสดงความ คดิ เห็นอยา่ งสร้างสรรค์ และใชค้ าสภุ าพ ขอ้ เทจ็ จรงิ เป็นขอ้ ความหรือเหตุการณ์ท่ีสามารถตรวจสอบได้ว่าจริง หรือไม่ส่วนความคิดเห็นเป็นความเช่ือของแต่ละบุคคลอาจจะไม่สามารถ ตรวจสอบได้ เพราะแต่ละคนมีความเช่อื ทีแ่ ตกตา่ งกัน 5 แนวทางการจดั การเรยี นรู้ 1. ครูนาเขา้ สูบ่ ทเรยี น ส่ือในโลกออนไลน์พอสงั เขป 2. ครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่มกันเองตามใจชอบหลังจากแบ่งกลุ่มเสร็จ แล้วก็แจกใบงานให้แต่ละกลุ่มโดยสมาชิกแต่ละกลุ่มจะต้องแบ่งหนา้ ที่ จากนัน้ ลงมอื ชว่ ยกันทาใบกิจกรรมทีไ่ ดร้ บั 3. ให้นกั เรยี นออกแบบการนาเสนอและนาเสนอหนา้ ชัน้ เรียน 4. ประเมนิ ผลจากวธิ กี ารนาเสนอและขอ้ มลู ทีไ่ ดม้ า รายวชิ าพ้นื ฐานเทคโนโลยี (วทิ ยาการคานวณ) ป.5 23

6บทท่ี โรบอทเอ็กซ์โป 1 จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ เขยี นโปรแกรมแบบมเี ง่อื นไข 2 ตวั ช้วี ดั ป.5/2 ออกแบบและเขียนโปรแกรมที่มีการใช้เหตุผลเชิงตรรกะ อย่างง่ายตรวจหาข้อผดิ พลาดและแกไ้ ข 3 สาระการเรยี นรู้ - การเขียนโปรแกรมทม่ี ีการใชเ้ หตผุ ลเชิงตรรกะอย่างงา่ ย - การตรวจสอบอนิ พตุ 4 แนวคดิ บล็อกคาสง่ั if ใช้ในการตรวจสอบเง่ือนไข หากตรวจสอบเป็นไปตาม เง่อื นไขโปรแกรมโดยใชบ้ ล็อกคาส่ัง if เป็นการฝึกแนวคดิ เกี่ยวกบั การใช้ เหตผุ ลเชิงตรรกะ 24 แนวทางการจดั การเรียนการสอน

บทท่ี 6 โรบอทเอก็ ซ์โป 4 แนวคดิ (ตอ่ ) บล็อกคาสงั่ touching color (สัมผสั ส)ี อยู่ในกลุ่มบล็อก Sensing สามารถนามาเป็นเง่อื นไขในคาสงั่ if บลอ็ กคาสงั่ ask and wait ใชส้ าหรบั ถามและรอรบั ข้อมูลจากผใู้ ช้ โดยคาตอบจะถูกเก็บไวใ้ นบลอ็ กคาส่ัง answer 5 แนวทางการจดั การเรยี นรู้ 1. ครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่มละเท่าๆ กันเพ่ือตอบคาถามและเป็น คะแนนกลุ่ม 2. ครูนาเข้าสู่บทเรียนเร่ืองขั้นตอนการทางานของโปรแกรมและ Flowchart แบบพอสังเขป 3. ครูแจกใบกิจกรรมให้นักเรียนทาโดยให้เวลาการสืบค้นข้อมูล เวลาทา 40 นาที 4. ครสู ่มุ ให้นักเรยี นมานาเสนอ Flowchart ของตวั เอง 5.ประเมนิ ผลจากใบกิจกรรม รายวชิ าพ้ืนฐานเทคโนโลยี (วทิ ยาการคานวณ) ป.5 25

7บทท่ี แฟนตะกรอ้ 1 จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ ใชเ้ ทคโนโลยอี ย่างปลอดภยั 2 ตวั ช้วี ดั ป.5/5 ใช้เทคโนโลยีอย่างปลอดภัย มีมารยาท เข้าใจสิทธิและหนา้ ท่ี ของตน เคารพในสิทธิของผู้อ่ืน แจ้งผู้เก่ียวข้องเม่ือพบข้อมูลหรือบุคคลที่ ไม่เหมาะสม 3 สาระการเรยี นรู้ > มารยาทในการตดิ ต่อส่อื สารผ่านอินเตอรเ์ นต็ > ปิดโปรแกรมเม่อื ไม่ตอบสนองของการทางาน > การใชอ้ ินเตอรเ์ นต็ อย่างปลอดภยั และเคารพสทิ ธผิ ู้อ่นื 4 แนวคดิ กา ร ติ ดต่ อ ส่ื อ สา ร ผ่ า น อิ น เ ตอ ร์ เ น็ต ค ว ร ใ ช้ ภ า ษา ท่ี สุ ภ า พ ผู้ ใ ช้ อินเตอร์เนต็ ควรระมัดระวังใช้งานอย่างรู้เท่าทัน และไม่สร้างความเสียหาย หรือความเดือดร้อนแก่ผู้อ่ืนเม่ือโปรแกรมไม่ตอบสนองต่อการงานอาจ แก้ปัญหาเบ้ืองต้นโดยใชค้ าสั่งเพ่อื ปิดโปรแกรม 26 แนวทางการจดั การเรยี นการสอน

บทท่ี 7 แฟนตะกร้อ 5 แนวทางการจดั การเรยี นรู้ 1. การจดั เตรียม 1.1 แบบฝึ กทักษะรายวิชาพ้ืนฐานวิทยาศาสตร์เทคโนโลยี (วทิ ยาการคานวณ) ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 5 สสวท. 2. ขน้ั ตอนดาเนินการ 2.1 ครูนาอภิปรายเพ่ือเข้าสู่บทเรียนโดยตั้งคาถามดังน้ีถ้านักเรียน ไปเที่ยวสวนสนกุ กับเพ่ือนและต้องการกลับไปข้ึนรถของโรงเรียนแต่ไม่รู้ วา่ รถจอดอยู่ท่ใี ดนกั เรยี นจะเลือกสอบถามจากใครบา้ งเพราะอะไร 2.2 ครูนานักเรียนศึกษาเน้ือหาในหนังสือเรียนบทที่ 7 เร่ืองแฟน ตะกรอ้ และอภปิ รายความรูท้ ่ไี ด้ 2.3 ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายว่ามารยาทในการติดต่อส่ือสาร ผา่ นอนิ เทอร์เนต็ มีอะไรบ้างโดยครูเขียนคาตอบบนกระดานและนักเรียน รว่ มกันอภปิ ราย 2.4 ครูชี้แจงและให้นักเรียนทาใบกิจกรรมท่ี 7. 1 ข้อความชวนคุย โดยนักเรียนพิจารณาสถานการณ์ในใบกิจกรรมว่าข้อความใดเหมาะสม หรอื ไม่เหมาะสมอยา่ งไร จากน้ันลุ่มนักเรียนออกมานาเสนอคาตอบและ รว่ มกันอภิปรายแสดงความคิดเหน็ 2.5 ครูนานักเรียนศึกษาเน้ือหาในหนังสือเรียนบทที่ 7 เร่ืองแฟน ตะกร้อ และอภิปรายความรทู้ ไี่ ด้ รายวิชาพ้นื ฐานเทคโนโลยี (วทิ ยาการคานวณ) ป.5 27

บทท่ี 7 แฟนตะกรอ้ 5 แนวทางการจดั การเรยี นรู้ (ต่อ) 2.6 ครูชี้แจงและให้นักเรียนทาใบกิจกรรมท่ี 7.3 จับกิจกรรมชน คาส่ังคอมพิวเตอร์โดยให้นักเรียนพิจารณาสถานการณ์ที่โจทย์กาหนด พร้อมให้เหตุผลลุ่มนักเรียนออกมา นาเสนอคาตอบและร่วมกันอภิปราย แสดงความคิดเห็นและสร้างความเข้าใจกับนักเรียนว่าวิธีการเหล่านี้ ใช้ สาหรับแก้ปัญหาเบ้ืองต้นซ่ึงหากเคร่ืองไม่ได้ค้างก็ไม่ ควรทดลองเล่น เพราะอาจทาให้โปรแกรมเสียหายและถ้าใช้วิธีการนี้ แล้วยังไม่สามารถ แก้ปัญหาได้ควรแจง้ ครหู รอื ผ้ปู กครอง 2.7 ครูนานักเรียนศึกษาเน้ือหาในหนังสือเรียนบทที่ 7 เร่ืองแฟน ตะกรอ้ และอภปิ รายความรู้ทีไ่ ด้ 2.8 ครูชี้แจงและให้นักเรียนทาใบกิจกรรมท่ี 7. 2 ความปลอดภัยบน โลกออนไลน์โดยครูสอบถามปัญหาท่ีเคยพบหรือข่าวที่เกิดจากการได้รับ อีเมลหลอกลวงจากนั้นให้นักเรียนพิจารณาสถานการณ์ที่โจทย์กาหนดลุ่ม นักเรียนออกมานาเสนอคาตอบและร่วมกันอภิปรายแสดงความคิดเห็น และครอู ธบิ ายเพ่มิ เติม 2.9 ครนู านักเรยี นร่วมกนั สรุปความรทู้ ไี่ ด้ 28 แนวทางการจัดการเรยี นการสอน

8บทที่ กีฬาฮาเฮ 1 จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ เขยี นโปรแกรมแบบมีเง่ือนไข 2 ตวั ชว้ี ดั ป.5/1 ใช้เหตุผลเชิงตรรกะในการแก้ปัญหา การอธิบายการทางาน การคาดการณผ์ ลลัพธ์ จากปัญหาอย่างง่าย 3 สาระการเรยี นรู้ การใช้เหตุผลเชงิ ตรรกะในการแก้ปัญหา 4 แนวคดิ ก า ร ใ ช้ เ ห ตุ ผ ล เ ชิ ง ต ร ร ก ะ เ ป็ น ก า ร ห า ข้ อ ส รุ ป ข อ ง ปั ญ ห า อ ย่ า ง สมเหตุสมผลการแก้ปัญหาโดยใช้เหตุผลเชิงตรรกะทาได้โดยเขียน แนวทางทเ่ี ป็นไปได้ท้งั หมดแล้วพจิ ารณาขอ้ มูลหรือเง่ือนไขที่มีอยู่ จากนั้น ตดั แนวทางทีไ่ ม่สอดคล้องเพ่อื นทาไปสู่แนวทางทีเ่ ป็นขอ้ สรุป 30 แนวทางการจดั การเรียนการสอน

บทที่ 8 กฬี าฮาเฮ 5 แนวทางการจดั การเรยี นรู้ 1. ครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่มละเท่าๆ กันเพ่ือตอบคาถามและเป็น คะแนนกลมุ่ 2. ครนู าเขา้ ส่บู ทเรยี นเร่ืองขั้นตอนการใช้เหตุผลเชิงตรรกะ ในการ แกป้ ัญหา 3. ครูแจกใบกิจกรรมให้นักเรียนทาโดยให้เวลาการสืบค้นข้อมูล เวลาทา 40 นาที 4. ครูประเมนิ ผลจากใบกจิ กรรมที่ 1 เร่ือง ฉันคือใคร รายวชิ าพ้ืนฐานเทคโนโลยี (วทิ ยาการคานวณ) ป.5 31

9บทที่ ขอ้ มลู นัน้ ลวงหรือจรงิ กนั นะ 1 จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ 1.1 ใช้อินเทอรเ์ นต็ คน้ หาความรู้ 1.2 ประเมินความหนา้ ช่ือถือของข้อมลู 2 ตวั ชว้ี ดั ป.5/3 ใช้อินเทอร์เนต็ ค้นหาข้อมูล ติดต่อส่ือสารและทางานร่วมกัน ประเมนิ ความน่าเช่อื ถือของข้อมูล 3 สาระการเรยี นรู้ - การประเมินความน่าเช่ือถือของข้อมูลและการตรวจสอบต้นตอของ ขอ้ มลู - การใช้เคร่ืองมือในโปรแกรมค้นหา เช่น ค้นหาด้วยวลี แปลภาษา แปลงค่าหน่วยวัด คานวณทางคณิตศาสตร์ พยากรณ์อากาศ คานวณอัตรา แลกเปลีย่ นเงิน - การพิจารณาขอ้ มูลให้รอบดา้ น 32 แนวทางการจัดการเรียนการสอน

บทที่ 9 ขอ้ มูลนัน้ ลวงหรือจรงิ กันนะ 4 แนวคดิ การประเมินความน่าเช่ือถือของข้อมูลอาจทาได้จากการตรวจสอบ ต้นตอของแหลง่ ขอ้ มลู ซ่ึงข้อมูลทีม่ ีความน่าเช่ือถือควรมาจากผ้เู ชี่ยวชาญ หรอื หน่วยงานท่เี กย่ี วข้องกับเร่ืองนนั้ โดยตรง ถ้าคาคน้ ทใี่ ช้ในการค้นหาข้อมูลเป็นคาศพั ทจ์ ากภาษาองั กฤษ อาจพิมพ์คาค้นเป็นภาษาอังกฤษเพ่ือให้ได้ผลลัพธ์ท่ีตรงตามความ ต้องการ นอกจากจะใช้โปรแกรมค้นหาข้อมูลจากแหล่งข้อมูลต่างๆ หา ข้อมูลพยากรณ์อากาศ คานวณอัตราแลกเปล่ียนเงิน แปลงค่าหน่วยวัด คานวณทางคณิตศาสตร์ ข้อมูลที่ปรากฏในบางเว็บไซต์อาจกล่าวถึงเฉพาะข้อดีหรือ ขอ้ เสยี ของเร่อื งนน้ั ๆ เราควรพจิ ารณาและหาข้อมูลให้ครบรอบด้าน 5 แนวทางการจดั การเรยี นรู้ 1. ครูนาเข้าสบู่ ทเรียน ส่อื ในโลกออนไลนพ์ อสงั เขป 2. ครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่มกันเองตามใจชอบหลังจากแบ่งกลุ่มเสร็จ แล้วก็แจกใบงานให้แต่ละกลุ่ม 3. โดยสมาชิกแต่ละกลุ่มจะต้องแบ่งหนา้ ท่ีกันเองโดยมี คนหา ข้อมูล(ก่ีคนก็ได้) คนจดบันทึก 1 คน และคนท่ีจะเป็นตัวแทนครู 1 คน จากนน้ั พอแบง่ หนา้ ทไี่ ดแ้ ล้วก็ลงมอื ช่วยกันทาใบกิจกรรมท่ไี ด้รับ รายวชิ าพ้นื ฐานเทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ป.5 33

บทที่ 9 ขอ้ มูลน้ันลวงหรือจรงิ กนั นะ 5 แนวทางการจดั การเรยี นรู้ (ต่อ) 3.1 ครูเรียกคนที่เป็นตัวแทนออกมารับข่าวสารที่ครูจะให้ในแต่ละ กลุ่มโดยทีข่ า่ วจะไม่เหมอื นกนั 3.2 จากนน้ั ตวั แทนกน็ าขา่ วกลับไปบอกเพ่อื นๆ 3.3 พอทาเสร็จแล้วก็นามาสง่ ครู 4. ประเมนิ ผลจากวธิ ีการนาเสนอและข้อมูลทีไ่ ด้มา 34 แนวทางการจัดการเรยี นการสอน