การเขียน เชิง กิจ ธุระ ที่ใช้ใน ชีวิต ประจำ วัน

จดหมายที่เขียนไปเพื่อติดต่อสื่อสารกันระหว่างบุคคลหรือหน่วยงาน องค์กรต่าง ๆ  เพื่อแจ้งเรื่องการงานหรือเรื่องส่วนตัว  โดยต้องไม่เกี่ยวข้องกับธุรกิจการค้า  จดหมายเชิงกิจธุระ  ได้แก่  จดหมายลาป่วย  จดหมายลากิจ  จดหมายขอความร่วมมือหรือขอความช่วยเหลือ  (การขอความอนุเคราะห์)  จากองค์กรหรือหน่วยงานต่าง  ๆ  ครับ

ประเภทของจดหมายกิจธุระ

๑.  จดหมายส่วนตัว    เป็นการสื่อสารระหว่างบุคคลที่สนิทสนมคุ้นเคยกัน ส่วนใหญ่มีจุดประสงค์เพื่อเล่าเรื่องราวส่วนตัวหรือสอบถามเรื่องราวไต่ถามสารทุกข์สุกดิบ  เช่น  ลูกเขียนจดหมายถึงพ่อแม่  ศิษย์เก่าเขียนจดหมายถึงคุณครูที่เคารพนับถือ

๒.  จดหมายติดต่อธุระ            เป็นการสื่อสารเพื่อแจ้งข้อมูลข่าวสาร  ความจำเป็นต่าง ๆ  ที่ประสงค์ให้ผู้อื่นหรือองค์กรต่าง ๆ  รับทราบเพื่อนำไปสู่การพิจารณาให้ความร่วมมือในเหตุจำเป็น   เช่น  นักเรียนเขียนจดหมายขอลาหยุดเรียนกรณีป่วย  นักเรียนเขียนจดหมายขอลาหยุดเรียนกรณีมีกิจธุระจำเป็นต่าง ๆ ที่มาเรียนไม่ได้ตามปกติ  จดหมายติดต่อองค์กรภายนอกขอความร่วมมือไปศึกษาแหล่งเรียนรู้ภายนอก  จดหมายขอความอนุเคราะห์วิทยากรจากองค์กรอื่นมาบรรยายหรือสาธิตความรู้แก่นักเรียนในโรงเรียน  เป็นต้น ครับ

ประโยชน์ของจดหมายกิจธุระ

๑.  ใช้สื่อสารแทนการพูดจา

๒.   ใช้เพื่อบอกกล่าวข้อความบางประการที่ไม่อาจพูดจากันโดยตรงได้

๓.   ใช้เป็นสื่อสัมพันธ์ระหว่างบุคคลที่ไม่รู้จักกัน เช่น  การเขียนจดหมายสมัครงาน  จดหมายเพื่อหามิตรต่างโรงเรียน

๔.  ใช้เป็นเอกสารสำคัญ  ถือว่าเป็นลายลักษณ์อักษรสามารถใช้อ้างอิงเป็นหลักฐานได้

มารยาทในการเขียนจดหมาย

๑.  ควรใช้กระดาษและซองสีสุภาพ หมายถึง  กระดาษที่ใช้เขียนจดหมายต้องมีความสะอาดเรียบร้อย  ไม่ขาดหรือยับยู่ยี่  สีของกระดาษมีสีที่ไม่ฉูดฉาด  กระดาษมีขนาดมาตรฐาน  ซองจดหมายมีขนาดมาตรฐานตามที่ไปรษณีย์รับรอง

๒.  ตัวหนังสือรวมถึงตัวเลขต้องชัดเจน  ควรเขียนด้วยปากกาสีดำหรือสีน้ำเงินเท่านั้น  ไม่ควรใช้ปากกาสีอื่น

๓.  ไม่ควรใช้ภาษาพูดในการเขียนจดหมาย  เช่นคำว่า  “มาช่วยงานทำบุญที่บ้านหลานได้ไหม”   ไม่ควรเขียนเป็น  “มาช่วยงานทำบุญที่บ้านหลานได้มั้ย”

๔.  ใช้คำขึ้นต้นและคำลงท้ายให้เหมาะสมตามธรรมเนียมนิยม

๕.  เขียนจดหมายเสร็จแล้วต้องพับให้เรียบร้อย  ไม่ควรพับจดต้องใช้เวลามากในการคลี่จดหมาย

๖.  ไม่ควรสอดธนบัตรหรือสิ่งของมีค่าลงไปในซองจดหมาย

๗.  เขียนคำนำหน้าชื่อผู้รับบนจ่าหน้าให้ถูกต้อง ตามความนิยมและความเหมาะสม เช่น  คุณพ่อ, นายแพทย์, คุณครู,  ดร.,  ร้อยตำรวจตรี  เป็นต้น

๘.   ต้องเขียนชื่อและที่อยู่ของผู้รับไว้ให้ชัดเจน  ณ  ตำแหน่งเริ่มจากมุมกึ่งกลางของซองจดหมายด้านขวามือ

๙.  ต้องเขียนชื่อและที่อยู่ของผู้ส่งไว้ที่มุมบนด้านซ้ายของซองจดหมายด้วย  หากไปรษณีย์ส่งจดหมายถึงผู้รับไม่ได้ (ในกรณีไม่ถึงผู้รับ) จะได้ส่งคืนเจ้าของจดหมายถูก

Filed under: การเขียน, การเขียนจดหมายกิจธุระ/การเขียนจดหมายเชิงกิจธุระ, จดหมาย | Tagged: การเขียนจดหมายกิจธุระ, การเขียนจดหมายเชิงกิจธุระ, ความหมายการเขียนจดหมายกิจธุระ, จดหมายกิจธุระ หมายถึง, ประเภทของจดหมายกิจธุระ, ประโยชน์ของจดหมายกิจธุระ, มารยาทในการเขียนจดหมาย | Leave a comment »

การเขียนเชิงกิจธุระหมายถึงหน้าที่ที่พึงกระทำ การเขียนเชิงกิจธุระมีมากมายหลายแบบ บทเรียนในวันนี้จะพาน้อง ๆ ไปเรียนรู้ การเขียนประกาศ ซึ่งเป็นการเขียนเชิงกิจธุระรูปแบบหนึ่ง เราไปดูพร้อมกันเลยค่ะว่าการเขียนประเภทนี้จะมีวิธีการอย่างไรบ้าง

 

การเขียนเชิงกิจธุระ

 

การเขียนประกาศ

 

ประกาศ เป็นการสื่อสารที่ใช้เผยแพร่โดยกว้าง ให้บุคคลทุกระดับในหน่วยงานหรือบุคคลภายนอกได้อ่านและมีความเข้าใจที่ตรงกัน โดยอาศัยสื่อสาธารณะชนิดใดชนิดหนึ่งเป็นการแจ้งให้ทราบและปฏิบัติตาม อย่างเช่น หนังสือพิมพ์ วิทยุ โทรทัศน์ ป้ายประกาศต่าง ๆ การใช้ภาษาในการประกาศนั้นจะไม่ใช้ข้อความยาว ๆ หรือละเอียดซับซ้อนเกินกว่าการทำความเข้าใจของผู้อ่าน โดยเฉพาะส่วนที่สำคัญ ๆ ที่จะต้องเขียนให้ชัดเจน ซึ่งการเขียนประกาศนั้นจะสามารถแบ่งแยกย่อยออกไปได้อีก 2 ประเภท ดังนี้

 

การเขียน เชิง กิจ ธุระ ที่ใช้ใน ชีวิต ประจำ วัน
การเขียน เชิง กิจ ธุระ ที่ใช้ใน ชีวิต ประจำ วัน

 

การเขียนประกาศอย่างเป็นทางการ

 

การเขียน เชิง กิจ ธุระ ที่ใช้ใน ชีวิต ประจำ วัน
การเขียน เชิง กิจ ธุระ ที่ใช้ใน ชีวิต ประจำ วัน

 

การประกาศอย่างเป็นทางการจะยาวและละเอียดเพราะมักเกี่ยวเนื่องกับตัวบทกฎหมาย แต่ไม่ใช่ข้อความที่อ่านยาก หรือวกไปวนมา เพราะเป็นประกาศที่มีจุดมุ่งหมายในการแจ้งให้บุคคลทั่วไปได้ทราบและปฏิบัติตาม ภาษาที่ใช้จะเป็นทางการตามลักษณะของประกาศ กระชับ มีลักษณะที่คล้ายกับหนังสือราชการ มักเป็นประกาศขององค์การและหน่วยงานราชการต่าง ๆ ในประกาศนั้นจะประกอบไปด้วยชื่อหน่วยงานหรือองค์การที่ออกประกาศ เรื่องที่ประกาศ เนื้อหาของเรื่องที่ประกาศและในเนื้อความก็จะประกอบไปด้วยเหตุผลความเป็นมาเพื่อเกริ่นนำเล็กน้อยก่อนจะบอกจุดประสงค์และรายละเอียด ตามตัววันเดือนปีขณะที่ออกประกาศ สุดท้ายเป็นการลงนามผู้ออกประกาศ

 

การเขียน เชิง กิจ ธุระ ที่ใช้ใน ชีวิต ประจำ วัน
การเขียน เชิง กิจ ธุระ ที่ใช้ใน ชีวิต ประจำ วัน

 

การเขียนประกาศอย่างไม่เป็นทางการ

 

การเขียน เชิง กิจ ธุระ ที่ใช้ใน ชีวิต ประจำ วัน
การเขียน เชิง กิจ ธุระ ที่ใช้ใน ชีวิต ประจำ วัน

 

ประกาศอย่างไม่เป็นทางการเป็นประกาศทั่ว ๆ ไป ที่ออกจากหน่วยงาน บุคคลหรือองค์การ เพื่อแจ้งข้อมูลให้ประชาชนทั่วไปทราบ เช่น ประกาศรับสมัครงาน ประกาศร่วมอบรมทักษะต่าง ๆ ประกาศเชิญให้เข้าร่วมประกวดเขียนนิยาย เป็นต้น ในเนื้อหาของการประกาศประเภทนี้ก็จะแตกต่างจากประกาศอย่างเป็นทางการ คือยังมีชื่อหน่วยงาน หรือองค์กร เรื่องที่ประกาศ เนื้อความอันประกอบไปด้วยเหตุผล ความเป็นมา จุดประสงค์ รายละเอียด ปิดท้ายด้วยลงวันที่ของวันที่ประกาศ แต่ภาษาที่ใช้จะไม่ได้เป็นทางการเท่าหนังสือราชการ มีเนื้อหากระชับ ไม่ซับซ้อน

 

การเขียน เชิง กิจ ธุระ ที่ใช้ใน ชีวิต ประจำ วัน
การเขียน เชิง กิจ ธุระ ที่ใช้ใน ชีวิต ประจำ วัน

 

ข้อจำกัดของการเขียนประกาศ

 

เมื่อประกาศถูกประกาศออกไปแล้ว ผู้รับสารจะไม่สามารถซักถามใด ๆ เกี่ยวกับประกาศได้หากมีข้อสงสัย ทำไมการเขียนประกาศนั้นจะต้องคำนึงถึงผู้รับสารเป็นอันดับแรกว่าการเขียน เขียนไปแล้วคนจะเข้าใจได้มากน้อยแค่ไหน เพราะถ้าหากเขียนไม่เข้าใจ ไม่ชัดเจน ก็จะทำให้การสื่อสารคลาดเคลื่อน ทำให้การประกาศที่เขียนออกไปนั้นไม่เกิดประโยชน์

 

ประกาศที่ดีจะต้องมีลักษณะอย่างไร?

การเขียน เชิง กิจ ธุระ ที่ใช้ใน ชีวิต ประจำ วัน
การเขียน เชิง กิจ ธุระ ที่ใช้ใน ชีวิต ประจำ วัน

 

การเขียนประกาศ เป็นสิ่งที่เราได้ใช้และได้เห็นกันอยู่ในชีวิตประจำวัน ดังนั้นบทเรียนในเรื่องการเขียนเรื่องนี้จึงมีความสำคัญมาก น้อง ๆ จะต้องได้ใช้ในอนาคตอย่างแน่นอนค่ะ ก่อนจากกัน ถ้าน้อง ๆ คนไหนอยากฟังคำอธิบายเพิ่มเติมให้เห็นภาพชัดเจนมากขึ้น ก็อย่าลืมตามไปดูคลิปการสอนของครูอุ้มนะคะ รับรองว่าจะเข้าใจการเขียนในลักษณะนี้และสามารถเขียนกันได้ทุกคนแน่นอนค่ะ ไปดูกันเลยนะคะ

อย่าพลาดการติดตามบทความภาษาไทยจาก nockacademy

NockAcademy คือโรงเรียนออนไลน์สำหรับเด็ก โดยแอปฯ และเว็บไซต์ นักเรียนสามารถเรียนรู้ผ่านคลิปบทเรียนวิชา คณิตศาสตร์ ภาษาอังกฤษ และภาษาไทย
มากไปกว่านั้น เรายังมีคอร์สเรียนออนไลน์ การสอนพิเศษ การติวนอกสถานที่โดยติวเตอร์ที่แน่นไปด้วยความรู้ อีกด้วย

การเขียน เชิง กิจ ธุระ ที่ใช้ใน ชีวิต ประจำ วัน
การเขียน เชิง กิจ ธุระ ที่ใช้ใน ชีวิต ประจำ วัน

การเขียน เชิง กิจ ธุระ ที่ใช้ใน ชีวิต ประจำ วัน
การเขียน เชิง กิจ ธุระ ที่ใช้ใน ชีวิต ประจำ วัน

แค่ 10 นาที ก็เข้าใจได้

สามารถดูคลิปบทเรียนวิชา คณิตศาสตร์ ภาษาอังกฤษ และภาษาไทย ที่มีมากกว่า 2,000+ คลิป และยังสามารถทำแบบทดสอบที่มีมากกว่า 4000+ ข้อ

ดูคลิป

แนะนำ

แชร์

การเขียน เชิง กิจ ธุระ ที่ใช้ใน ชีวิต ประจำ วัน
การเขียน เชิง กิจ ธุระ ที่ใช้ใน ชีวิต ประจำ วัน

การใช้ Verb Be

สวัสดีค่ะนักเรียนชั้นม.1 ที่รักทุกคน วันนี้เราจะไปเรียนรู้เรื่อง การใช้ Verb Be กันนะคะ พร้อมแล้วก็ไปลุยกันเลยจ้า Let’s go! ความหมาย   Verb be ในที่นี้จะแปลว่า Verb to be นะคะ แปลว่า เป็น อยู่ คือ ซึ่งหลัง verb to

การเขียน เชิง กิจ ธุระ ที่ใช้ใน ชีวิต ประจำ วัน
การเขียน เชิง กิจ ธุระ ที่ใช้ใน ชีวิต ประจำ วัน

การวัดความยาวส่วนโค้ง

การวัดความยาวส่วนโค้ง การวัดความยาวส่วนโค้ง ในบทความนี้จะเป็นการวัดความยาวของวงกลม 1 หน่วย วงกลมหนึ่งหน่วย คือวงกลมที่มีจุดศูนย์กลางที่จุดกำเนิด และมีรัศมียาว 1 หน่วย จากสูตรของเส้นรอบวง คือ 2r ดังนั้นวงกลมหนึ่งหน่วย จะมีเส้นรอบวงยาว 2 และครึ่งวงกลมยาว   จุดปลายส่วนโค้ง   จากรูป จะได้ว่าจุด P เป็นจุดปลายส่วนโค้ง   จากที่เราได้ทำความรู้จักกับวงกลมหนึ่งหน่วยและจุดปลายส่วนโค้งแล้ว

การเขียน เชิง กิจ ธุระ ที่ใช้ใน ชีวิต ประจำ วัน
การเขียน เชิง กิจ ธุระ ที่ใช้ใน ชีวิต ประจำ วัน

ประวัติความเป็นมาของวรรณคดีคำสอน เรื่องสุภาษิตพระร่วง

สุภาษิตพระร่วง   คนไทยนิยมใช้สุภาษิตสั่งสอนลูกหลานกันมาตั้งแต่สมัยก่อนจนถึงปัจจุบัน เชื่อว่าน้อง ๆ หลายคนก็คงจะเคยได้ยินสุภาษิตกันมาไม่มากก็น้อย ดังนั้นบทเรียนในวันนี้จะพาน้อง ๆ ไปเรียนรู้ประวัติความเป็นมาของสุภาษิตพระร่วง วรรณคดีอันทรงคุณค่าและเป็นวรรณคดีเล่มแรกที่แต่งคำประพันธ์เป็นร่ายโบราณแบบร่ายสุภาพ ไปศึกษาเรื่องนี้พร้อม ๆ กันเลยค่ะ   ความเป็นมาของสุภาษิตพระร่วง     สุภาษิตพระร่วง เป็นวรรณคดีคำสอนที่ทรงคุณค่าที่มีมาอย่างยาวนาน มีชื่อเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า สุภาษิตบัณฑิตพระร่วง คำว่า พระร่วง ทำให้คนเข้าใจว่าอาจจะเป็นคำสอนของกษัตริย์สักคนที่มีนามว่า พระร่วง

การเขียน เชิง กิจ ธุระ ที่ใช้ใน ชีวิต ประจำ วัน
การเขียน เชิง กิจ ธุระ ที่ใช้ใน ชีวิต ประจำ วัน

การวัดปริมาตรและน้ำหนัก

ในบทความนี้เราจะได้เรียนรู้หน่วยที่ใช้ในการวัดปริมาตร และน้ำหนักที่มีการใช้กันอย่างแพร่หลาย อีกทั้งยังมีมาตรฐาน ซึ่งแต่ละหน่วยล้วนแต่มีความสัมพันธ์กัน

การเขียน เชิง กิจ ธุระ ที่ใช้ใน ชีวิต ประจำ วัน
การเขียน เชิง กิจ ธุระ ที่ใช้ใน ชีวิต ประจำ วัน

ศึกษาตัวบทและคุณค่า คัมภีร์ฉันทศาสตร์ แพทยศาสตร์สงเคราะห์

จากบทเรียนครั้งที่แล้วที่เราได้เรียนรู้เกี่ยวความเป็นมาและเนื้อหาโดยสังเขปของ คัมภีร์ฉันทศาสตร์ แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ กันไปแล้ว เราได้รู้ถึงที่มาความเป็นไปของวรรณคดีที่เป็นตำราแพทย์ในอดีตรวมถึงเนื้อหา ฉะนั้นบทเรียนในวันนี้จะพาน้อง ๆ ไปเจาะลึกเกี่ยวกับตัวบทเพื่อให้รู้จักกับวรรณคดีเรื่องนี้กันมากขึ้น ว่าเหตุใดจึงเป็นตำราแพทย์ที่ได้มาอยู่ในแบบเรียนภาษาไทย ถ้าพร้อมแล้วเราไปเรียนรู้พร้อมกันเลยค่ะ   ตัวบทเด่น ๆ ในคัมภีร์ฉันทศาสตร์ แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์     ถอดความ เปรียบร่างกายของหญิงและชายเป็นกายนคร จิตใจเปรียบเหมือนกษัตริย์ซึ่งเป็นผู้ครอบครองสมบัติอันยิ่งใหญ่หรือก็คือร่างกาย ข้าศึกเปรียบได้กับโรคที่ทำลายร่างกายเรา พทย์เปรียบได้กับทหาร มีความชำนาญ เวลาที่ข้าศึกมาหรือเกิดโรคภัยขึ้นก็อย่างวางใจ แผ่ลามไปทุกแห่ง

การเขียน เชิง กิจ ธุระ ที่ใช้ใน ชีวิต ประจำ วัน
การเขียน เชิง กิจ ธุระ ที่ใช้ใน ชีวิต ประจำ วัน

ศึกษาตัวบทโคลนติดล้อ ตอน ความนิยมเป็นเสมียน

โคลนติดล้อ เป็นบทความแสดงความคิดเห็นของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎมีเนื้อหาเกี่ยวกับการเมือง การปลุกใจคนไทยให้รักชาติ และมีทั้งฉบับภาษาไทยและฉบับแปลเป็นภาษาอังกฤษ แค่นี้ก็น่าสนใจแล้วใช่ไหมคะ แต่ความดีเด่นของหนังสือเล่มนี้ยังมีอีกมาก บทเรียนในวันนี้จะพาน้อง ๆ ไปเรียนรู้ตัวบทที่สำคัญและคุณค่าของบทความที่ 4 ในเรื่องโคลนติดล้อตอน ความนิยมเป็นเสมียน พร้อม ๆ กันเลยค่ะ   บทเด่นใน โคลนติดล้อ ตอน ความนิยมเป็นเสมียน   บทนี้พูดถึงความนิยมในการเป็นเสมียนของหนุ่มสาวในยุคนั้นที่สนใจงานเสมียนมากกว่าการกลับไปช่วยทำการเกษตรที่บ้านเกิดเพราะเห็นว่าเสียเวลา คิดว่าตัวเองเป็นผู้ได้รับการศึกษาสูง จึงไม่สมควรที่จะไปทำงานที่คนไม่รู้หนังสือก็ทำได้