Audit checklist จัดซื้อ download

Audit checklist จัดซื้อ download

อาจารย์ จิรพร  สุเมธีประสิทธิ์

[email protected]

https://chirapon.wordpress.com

Audit checklist จัดซื้อ download

7.การคัดเลือกผู้เสนองานที่ชนะ

ประเด็นความเสี่ยงผลกระทบที่คาดว่าจะเป็นกิจกรรมที่ควรให้ความเห็น1.เลือกซับพลายเออร์ไม่เหมาะสมความล้มเหลวในการนำไปสู่การทำสัญญาให้บุคลากรได้รับทราบวิธีการประเมินผลข้อเสนอของผู้เสนองานที่เหมาะสม ด้วยการให้การอบรมทักษะทางเทคนิคและทางการเงิน และการเป็นผู้เชี่ยวชาญเชิงพาณิชย์

ปรับปรุงขั้นตอนการประเมินผลข้อเสนองาน

ปรับปรุงเงื่อนไขการประเมินผลและระบุเป็นลายลักษณ์อักษรให้ชัดเจน

ปฏิเสธข้อเสนอที่ไม่อาจยอมรับได้

จัดให้มีการประเมินตัวบริษัท ประเด็นทางเทคนิคและการประเมินผลทางการเงินก่อนการตัดสินใจเลือกผู้ชนะ

คณะกรรมการทบทวนการจัดซื้อควรทบทวนตัวผู้นำเสนอและกระบวนการคัดเลือกก่อนตัดสินใจเลือกผู้ชนะ

2.เลือกสินค้าไม่เหมาะสมล้มเหลวในการจัดซื้อที่ตอบสนองความต้องการของผู้เสนอเรื่องทำให้มั่นใจว่าผู้ใช้งานเข้ามาเกี่ยวข้องกับกระบวนการประเมินผล/เลือกสรรหาผู้ช่วยการนำเสนอ

ปรับปรุงขั้นตอนการประเมินผลทางเทคนิคและการอบรมบุคลากรอย่างเหมาะสม

คณะกรรมการทบทวนการจัดซื้อควรจะทบทวนข้อเสนอและกระบวนการเลือกสรรก่อนการตัดสินใจและลงนามสัญญา

8.การเจรจาต่อรอง

ประเด็นความเสี่ยงผลกระทบที่คาดว่าจะเป็นกิจกรรมที่ควรให้ความเห็น1.มีความไม่ลงรอยกันระหว่างความคาดหวังของผู้จัดซื้อกับผู้เสนองานการทำสัญญาไม่เกิดขึ้น

ความล่าช้าของการส่งมอบสินค้า

ความผันผวนของต้นทุน

ความคุ้มค่าลดลง

ซื้อได้สินค้าที่เหมาะสมน้อยกว่าที่ควร

การใช้ทรัพยากรไม่เหมาะสม

ปรับปรุงการสื่อสารและเงื่อนไขในสัญญาให้เหมาะและเกิดประโยชน์สูงสุด

ให้บุคลากรได้รับการฝึกอบรมในการวางแผนงานสัญญาและการบริหารสัญญา

ทำการระบุเงื่อนไขต่อรองอย่างระมัดระวัง

มีการบันทึกเงื่อนไขการเจรจาของแต่ละราย

2.การเกิด deadlock ของรายละเอียดของข้อตกลงความล่าช้าของการส่งมอบสินค้า

ต้องเริ่มการจัดซื้อใหม่หากการเจรจาไม่ได้ข้อยุติ

ซื้อได้สินค้าที่เหมาะสมน้อยกว่าที่ควร

มีต้นทุนของงานทางกฎหมายและนิติกรรมเพิ่ม

พิจารณาทางเลือกที่เป็นไปได้ในการแบ่งปันความเสี่ยงระหว่าง 2 ฝ่าย

แยกแยะระหว่างเป้าหมายจำเป็นที่ยอมรับการต่อรองไม่ได้ ออกจากส่วนที่ยอมรับได้

3.ล้มเหลวในการคงเงื่อนไขที่จำเป็นและต้องการไว้ไม่สามารถเกิดการลงนามในสัญญา

ความล่าช้าของการส่งมอบสินค้า

ความผันผวนของต้นทุน

การใช้ทรัพยากรไม่มีประสิทธิภาพ

วาง baseline ก่อนเริ่มเจรจา

แยกแยะเป้าหมายสำคัญที่ยอมให้ต่อรองไม่ได้

พิจารณาแนวทางการปรับปรุงเนื้อหาของสัญญาที่เป็นไปได้

ให้บุคลากรอบรมเทคนิคการเจรจาที่เพียงพอ

4.ล้มเหลวในการธำรงรักษาข้อตกลงให้เป็นไปตามแนวของอัยการสูงสุด(กรณีของหน่วยงานรัฐ)และการักษาความลับไม่สามารถเกิดการลงนามในสัญญา

ความล่าช้าของการส่งมอบสินค้า

การใช้ทรัพยากรไม่มีประสิทธิภาพ

ทำให้มั่นใจว่าซับพลายเออร์ที่เป็นไปได้ยังคงพร้อมจะเสนองาน และผู้ได้ผลประเมินสูงสุดเกิดความเข้าใจ5.ล้มเหลวในการส่งต่อเงื่อนไขที่ผ่านการเจรจาในเนื้อหาของสัญญาการหยุดชะงักของสัญญา

อาจจะต้องมีคดีความฟ้องร้อง

ความสัมพันธ์เป็นไปนทางลบ

ตรวจสอบร่างสัญญา

เก็บรายละเอียดและทำรายงานการประชุมผลการเจรจาต่อรอง

6.ผู้ที่มีอำนาจลงนามไม่เห็นด้วยและไม่ยอมลงนามในสัญญาเสียเวลาเจรจาใหม่ให้บุคลากรที่เกี่ยวข้องอบรมด้านการบริหารการผลักดันกระบวนการ สื่อสารให้เกิดความเข้าใจ

สนใจเชิญบรรยายหัวข้อนี้ติดต่อ [email protected]

Audit checklist จัดซื้อ download
          
Audit checklist จัดซื้อ download

อาจารย์ จิรพร  สุเมธีประสิทธิ์

[email protected]

https://chirapon.wordpress.com

Audit checklist จัดซื้อ download

          งานจัดซื้อจัดจ้างยังคงเป็นหนึ่งในขอบเขตงานตรวจสอบของทุกหน่วยงาน โดยเฉพาะหน่วยงานภาครัฐซึ่งนำเอาเงินงบประมาณแผ่นดินมาใช้ในกิจการของหน่วยงาน และเป็นจุดเพ่งเล็งว่าอาจจะเกิดความไม่โปร่งใส จุดรั่วไหลหรือช่องทางการทุจริตได้ ซึ่งงานจรวจสอบภายในไม่อาจจะละเว้นได้

การตรวจสอบภายในส่วนของงานจัดซื้อจัดจ้างจึงเป็นเสมือนงานประจำทุกปีอยู่แล้ว เพียงแต่ลักษณะ รูปแบบและเงื่อนไขของการจัดซื้อจัดจ้างอาจจะเปลี่ยนไปเรื่อยๆ

เพื่อให้ทีม Internal audit ของ GHPs & HACCP v.5  ได้ตรวจสอบความพร้อมของระบบภายใน รายการคำถามด้านล่างเป็นแนวทางเพื่อช่วยให้ ทีม Internal audit สะดวกในการใช้งาน ซึ่งการทำการตรวจติดตามภายในนั้น ก็มีขั้นตอนไม่ซับซ้อนอะไรมาก โดยเริ่มที่

  1. การแต่งตั้งทีมผู้ตรวจ ( ผ่านการฝึกอบรม หลักการตรวจติดตาม และข้อกำหนดที่จะทำการตรวจ และมีความรู้ประสบการณ์ในการทำงานอย่างน้อย 2 ปี )
  2. เตรียมรายการคำถาม ซึ่งจะใช้ข้อมูลจากจุดต่างๆ ขององค์กร เช่น ผลการตรวจที่ผ่านมาทั้งจากการตรวจติดตามจากภายใน และจากภายนอก  ศึกษาระบบเอกสารของหน่วยงานที่จะดำเนินการตรวจ ผลการทบทวนระบบ HACCP เป็นต้น
  3. ดำเนินการตรวจประเมิน
  4. จัดทำรายงานการตรวจ
  5. ติดตามผลการดำเนินการแก้ไข (หากมีประเด็นพบความไม่สอดคล้องตามข้อกำหนด )

ดำเนินการตามนี้ ท่านก็ได้ทั้งการปรับปรุงระบบ และ ไม่ได้ CAR จากผู้ตรวจประเมินที่ให้การรับรองระบบทันที