เฉลย แบบฝึกหัด วงจรไฟฟ้า กระแสตรง

แผนการจัดการเรียนรู้
มุ่งเน้นสมรรถนะอาชีพและบรูณาการตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

วชิ าวงจรไฟฟ้ากระแสตรง
รหัส 20104 - 2002

จดั ทาโดย
นายศรานินทร์ แซ่ปัก

ครูพเิ ศษสอน

วทิ ยาลยั เทคนคิ สว่างแดนดนิ
สานกั งานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ

แบบคาขออนุมตั ใิ ช้แผนการจัดการเรียนรู้

มุ่งเน้นสมรรถนะอาชีพและบรูณาการตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
รายวชิ าวงจรไฟฟ้ากระแสตรง รหสั วชิ า 20104 - 2002

ลงช่ือ.....................................................
(นายศรานินทร์ แซ่ปัก)
ครูพิเศษสอน
ผจู้ ดั ทา

ความเห็นหวั หนา้ แผนกวิชาไฟฟ้ากาลงั ความเห็นหวั หนา้ งานพฒั นาหลกั สูตรฯ

ลงช่ือ............................................... ลงชื่อ...............................................
(นายธีระพล แกว้ กุลบุตร) (นายคมุ ดวง พรมอินทร์)
หวั หนา้ แผนกวชิ าไฟฟ้ากาลงั หวั หนา้ งานพฒั นาหลกั สูตรการเรียนการสอน

ความเห็นรองผอู้ านวยการฝ่ายวชิ าการ

ลงช่ือ……………………………………...
(นายทินกร พรหมอินทร์)
รองผอู้ านวยการฝ่ายวิชาการ

อนุมตั ิ ไมอ่ นุมตั ิ

ลงช่ือ............................................
(นางวรรณภา พ่วงกลุ )

ผอู้ านวยการวทิ ยาลยั เทคนิคสวา่ งแดนดิน

คานา

เอกสารประกอบการสอนวิชา “ วงจรไฟฟ้ากระแสตรง” รหสั วิชา 20104-2002 เรียบเรียง
ข้ึนตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) พุทธศักราช 2556 ของสานักงาน
คณะกรรมการการอาชีวศึกษา เน้ือหาภายในแบ่งออกเป็ น 16 บท พ้ืนฐานการคานวณ
วงจรไฟฟ้า การตอ่ ความตา้ นทานและการต่อเซลลไ์ ฟฟ้า วงจรอนุกรม วงจรขนาน วงจรผสม
วงจรแบ่งแรงดนั ไฟฟ้า วงจรแบ่งกระแสไฟฟ้า การแปลงวงจรความตา้ นทานสตาร์-เดลตา้ กฎ
ของเคอร์ชอฟฟ์ ทฤษฎีเมชเคอร์เรนต์ ทฤษฎีเทวินิน ทฤษฎีนอร์ตนั ทฤษฎีแรงดนั โนด ทฤษฎี
การวางซอ้ น ทฤษฎีการส่งถ่ายกาลงั ไฟฟ้าสูงสุด

สาหรับเอกสารประกอบการสอนรายวิชาน้ี ผเู้ รียบเรียงไดท้ ุ่มเทกาลงั กาย กาลงั ใจและ
เวลาในการศึกษาคน้ ควา้ รวบราม ปรับปรุงเน้ือหาให้เป็ นปัจจุบนั โดยมีความมุ่งหวงั ที่จะให้
เกิดประสิทธิภาพต่อการเรียนการสอน และเป็ นแนวทางสาหรับผูท้ ่ีเร่ิมจะศึกษา หรือผูท้ ่ี
ตอ้ งการขอ้ มลู เพ่ิมเติม

ทา้ ยท่ีสุดน้ี ผูเ้ รียบเรียงขอขอบคุณผูท้ ี่สร้างแหล่งความรู้ และผูท้ ี่มีส่วนเกี่ยวขอ้ งต่าง ๆ
ซ่ึงเป็ นส่วนสาคญั ที่ทาให้เอกสารรายวิชา วงจรไฟฟ้ากระแสตรง เล่มน้ีเสร็จสมบรูณ์เป็ นท่ี
เรียบร้อย และหากผูท้ ี่ศึกษาพบขอ้ บกพร่องหรือมีขอ้ เสนอแนะประการใด ขอไดโ้ ปรดแจง้ ผู้
เรียบเรียงทราบดว้ ย จกั ขอบคุณยงิ่

แผนการสอน/แผนการเรียนรู้รายวชิ า

ชื่อรายวิชา วงจรไฟฟ้ากระแสตรง รหสั วิชา 20104-2002 (ท-ป-น) 1-3(3)

ระดบั ช้นั ปวช. สาขาวชิ า/กลุ่มวชิ า/แผนกวิชา ไฟฟ้า

หน่วยกิต 3 จานวนคาบรวม 72 คาบ

ทฤษฏี 1 คาบ/สปั ดาห์ ปฏิบตั ิ 3 คาบ/สปั ดาห์

ภาคเรียนท่ี..........................1................................ปี การศึกษา........................2556.............................

จุดประสงค์รายวชิ า
1. เขา้ ใจกฎและทฤษฎีวงจรไฟฟ้ากระแสตรง
2. มีทกั ษะในการวเิ คราะหว์ งจรไฟฟ้ากระแสตรง
3. มีทกั ษะในการประกอบวงจร และใชเ้ ครื่องมือวดั และทดสอบวงจรไฟฟ้ากระแสตรง
4. มีกิจนิสยั ในการปฏิบตั ิงานดา้ นความละเอียดรอบคอบ ถกู ตอ้ งและปลอดภยั

คาอธิบายรายวชิ า
ศึกษาและปฏิบตั ิงานเกี่ยวกบั แหลง่ กาเนิดไฟฟ้ากระแสตรง แรงดนั ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า กาลงั และ

พลงั งานไฟฟ้า การอา่ นค่าตวั ตา้ นทาน การต่อวงจรตวั ตา้ นทานและเซลลไ์ ฟฟ้าแบบอนุกรม แบบขนาน และ
แบบผสม การคานวณหาคา่ ความตา้ นทาน กระแสไฟฟ้า แรงดนั ไฟฟ้าและกาลงั ไฟฟ้า โดยใชก้ ฎของโอห์ม
วงจรแบ่งแรงดนั และกระแสไฟฟ้า วงจรบริดจ์ กฎของเคอร์ชอฟฟ์ ทฤษฎีของเทวินินและนอร์ตนั โนด
โวลเตจ เมชเคอร์เรน ทฤษฎีการวางซอ้ น การส่งถา่ ยกาลงั ไฟฟ้าสูงสุดในวงจรไฟฟ้ากระแสตรง การประกอบ
วงจรและวดั หาความสัมพนั ธ์ของแรงดนั ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้าและความตา้ นทานตามทฤษฎีวงจรไฟฟ้า
กระแสตรง

สมรรถนะของรายวิชา

1. คานวณวงจรไฟฟ้า
2. เขา้ ใจวธิ ีการคานวณค่าความตา้ นทานรวม แรงดนั ไฟฟ้ารวม และความตา้ นทานภายในรวม
3. คานวณค่ากระแส แรงดนั และกาลงั ฟ้าวงจรอนุกรม
4. คานวณคา่ กระแส แรงดนั และกาลงั ฟ้าของวงจรขนาน
5. คานวณคา่ กระแส แรงดนั และกาลงั ฟ้าของวงจรผสม
6. คานวณคา่ กระแสและแรงดนั ของวงจรแบ่งแรงดนั ไฟฟ้า
7. คานวณคา่ กระแสไฟฟ้าโดยใชส้ ูตรสาเร็จ
8. คานวณคา่ ความตา้ นทานและแรงดนั ไฟฟ้าของวงจรบริดจ์
9. คานวณการแปลงวงจรความตา้ นทานสตาร์-เดลตา้
10. วเิ คราะห์วงจรดว้ ยกฎของเคอร์ชอฟฟ์
11. วิเคราะห์วงจรดว้ ยทฤษฎีเมชเคอร์เรนต์
12. วิเคราะห์วงจรดว้ ยทฤษฎีเทวินิน
13. วิเคราะห์วงจรดว้ ยทฤษฎีนอร์ตนั
14. วเิ คราะห์วงจรดว้ ยทฤษฎีแรงดนั โนด
15. วเิ คราะห์วงจรดว้ ยทฤษฎีการวางซอ้ น
16. วเิ คราะหว์ งจรดว้ ยทฤษฎีการส่งถา่ ยกาลงั ไฟฟ้าสูงสุด

รายการหน่วย ช่ือหน่วย และสมรรถนะประจาหน่วย

ช่ือเร่ือง สมรรถนะและจดุ ประสงค์เชิงพฤตกิ รรม

(บทท่ี 1) พ้นื ฐานการคานวณวงจรไฟฟ้า สมรรถนะ :
1. คานวณวงจรไฟฟ้า

จดุ ประสงค์เชิงพฤตกิ รรม
ด้านความรู้
1. อธิบายพ้นื ฐานการคานวณวงจรไฟฟ้า
2. บอกความสัมพนั ธ์ตามกฎของโอหม์

ด้านทกั ษะ
3. คานวณวงจรไฟฟ้า

ด้านคณุ ธรรม จริยธรรม/บูรณาการเศรษฐกจิ พอเพยี ง
4. ความรับผิดชอบ
5. ความสนใจใฝ่รู้

ช่ือเร่ือง สมรรถนะและจุดประสงค์เชิงพฤตกิ รรม

(บทที่ 2) การตอ่ ความตา้ นทานและการต่อ สมรรถนะ:
เซลลไ์ ฟฟ้า 1. เขา้ ใจวิธีการคานวณค่าความตา้ นทานรวม
แรงดนั ไฟฟ้ารวม และความตา้ นทานภายใน
รวม

จุดประสงค์เชิงพฤตกิ รรม:
ด้านความรู้
1. อธิบายการตอ่ ตา้ นความตา้ นทานและการต่อ
เซลลไ์ ฟฟ้า
2. คานวณค่าความตา้ นทานจากการตอ่ ความ
ตา้ นทาน

ด้านทักษะ
3. คานวณคา่ ความตา้ นทานจากการต่อความ
ตา้ นทาน

ด้านคณุ ธรรม จริยธรรม/บูรณาการเศรษฐกจิ พอเพยี ง
4.กาหนดให้ทุกคนเข้าเรียน เลิกเรียนตรงเวลาและ

ปฏิบตั ิงานเสร็จทนั ตามกาหนดเวลา
5.มีการนาภูมิปัญญาทอ้ งถิ่นมาใหค้ วามรู้ และคาปรึกษา

เกี่ยวกบั เร่ือง การทางบทดลอง

ช่ือเร่ือง สมรรถนะและจดุ ประสงค์เชิงพฤติกรรม
(บทที่ 3) วงจรอนุกรม สมรรถนะ:

1. คานวณคา่ กระแส แรงดนั และกาลงั ฟ้าวงจร
อนุกรม

จดุ ประสงค์เชิงพฤตกิ รรม:
ด้านความรู้
1. อธิบายองคป์ ระกอบของวงจรไฟฟ้า
2. บอกคณุ ลกั ษณะของวงจรอนุกรม
ด้านทกั ษะ
3. คานวณคา่ กระแส แรงดนั และกาลงั ฟ้าวงจร
อนุกรม

ด้านคณุ ธรรม จริยธรรม/บูรณาการเศรษฐกจิ พอเพยี ง
4. ความรับผดิ ชอบ
5. ความสนใจใฝ่รู้

ชื่อเร่ือง สมรรถนะและจดุ ประสงค์เชิงพฤตกิ รรม
(บทท่ี 4) วงจรขนาน
สมรรถนะ:
1. คานวณค่ากระแส แรงดนั และกาลงั ฟ้าของ
วงจรขนาน

จดุ ประสงค์เชิงพฤตกิ รรม:
ด้านความรู้
1. บอกคณุ ลกั ษณะของวงจรขนาน
2. คานวณคา่ กระแส แรงดนั และกาลงั ไฟฟ้าของ
วงจรขนาน
ด้านทกั ษะ
3. คานวณคา่ กระแส แรงดนั และกาลงั ฟ้าของ
วงจรขนาน

ด้านคณุ ธรรม จริยธรรม/บูรณาการเศรษฐกจิ พอเพยี ง
4.กาหนดให้ทุกคนเขา้ เรียน เลิกเรียนตรงเวลาและ

ปฏิบตั ิงานเสร็จทนั ตามกาหนดเวลา
5.มีการนาภูมิปั ญญาท้องถ่ินมาให้ความรู้ และ

คาปรึกษาเก่ียวกบั เรื่อง การทางบทดลอง

ชื่อเรื่อง สมรรถนะและจุดประสงค์เชิงพฤติกรรม
(บทที่ 5) วงจรผสม สมรรถนะ :

1. คานวณค่ากระแส แรงดนั และกาลงั ฟ้าของ
วงจรผสม

จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม
ด้านความรู้
1. บอกคณุ ลกั ษณะของวงจรผสม
2. คานวณค่ากระแส แรงดนั และกาลงั ไฟฟ้าของ
วงจรผสม

ด้านทกั ษะ
3. คานวณค่ากระแส แรงดนั และกาลงั ฟ้าของ
วงจรผสม

ด้านคณุ ธรรม จริยธรรม/บูรณาการเศรษฐกจิ พอเพยี ง
4. ความรับผดิ ชอบ
5. ความสนใจใฝ่รู้

ช่ือเรื่อง สมรรถนะและจุดประสงค์เชิงพฤติกรรม
(บทท่ี 6) วงจรแบ่งแรงดนั ไฟฟ้า สมรรถนะ :

1. คานวณค่ากระแสและแรงดนั ของวงจรแบง่
แรงดนั ไฟฟ้า

จดุ ประสงค์เชิงพฤติกรรม
ด้านความรู้
1. วงจรแบง่ แรงดนั ไฟฟ้าขณะไม่มีโหลด
2. วงจรแบ่งแรงดนั ไฟฟ้าขณะมีโหลด

ด้านทักษะ
3. คานวณค่ากระแสและแรงดนั ของวงจรแบง่
แรงดนั ไฟฟ้า

ด้านคุณธรรม จริยธรรม/บูรณาการเศรษฐกจิ พอเพยี ง
4.กาหนดให้ทุกคนเขา้ เรียน เลิกเรียนตรงเวลาและ

ปฏิบตั ิงานเสร็จทนั ตามกาหนดเวลา
5.มีการนาภูมิปั ญญาท้องถิ่นมาให้ความรู้ และ

คาปรึกษาเกี่ยวกบั เรื่อง การทางบทดลอง

ชื่อเร่ือง สมรรถนะและจดุ ประสงค์เชิงพฤติกรรม
(บทท่ี 7) วงจรแบง่ กระแสไฟฟ้า สมรรถนะ :

1. คานวณค่ากระแสไฟฟ้าโดยใชส้ ูตรสาเร็จ

จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม
ด้านความรู้
1. วงจรแบ่งกระแสไฟฟ้า 2 สาขา
2. วงจรแบง่ กระแสไฟฟ้า 2 สาขา

ด้านทกั ษะ
3. คานวณคา่ กระแสไฟฟ้าโดยใชส้ ูตรสาเร็จ

ด้านคุณธรรม จริยธรรม/บูรณาการเศรษฐกจิ พอเพยี ง
4. ความรับผิดชอบ
5. ความสนใจใฝ่รู้

ชื่อเรื่อง สมรรถนะและจุดประสงค์เชิงพฤติกรรม
(บทท่ี 8) วงจรบริดจ์ สมรรถนะ :

1. คานวณค่าความตา้ นทานและแรงดนั ไฟฟ้าของ
วงจรบริดจ์

จดุ ประสงค์เชิงพฤติกรรม
ด้านความรู้
1. วงจรบริดจใ์ นภาวะสมดุล
2. วงจรบริดจใ์ นภาวะไมส่ มดุล

ด้านทักษะ
3. คานวณค่าความตา้ นทานและแรงดนั ไฟฟ้าของ
วงจรบริดจ์

ด้านคุณธรรม จริยธรรม/บูรณาการเศรษฐกจิ พอเพยี ง
4. ความรับผิดชอบ
5. ความสนใจใฝ่รู้

ช่ือเรื่อง สมรรถนะและจุดประสงค์เชิงพฤตกิ รรม

(บทท่ี 9) การแปลงวงจรความตา้ นทานสตาร์- สมรรถนะ :
เดลตา้ 1. คานวณการแปลงวงจรความตา้ นทานสตาร์-
เดลตา้

จดุ ประสงค์เชิงพฤติกรรม

ด้านความรู้
1. การแปลงความตา้ นทานจากเดลตา้ เป็นสตาร์
2. การแปลงความตา้ นทานจากสตาร์เป็นเดลตา้

ด้านทักษะ
1. คานวณการแปลงวงจรความตา้ นทานสตาร์-
เดลตา้

ด้านคุณธรรม จริยธรรม/บูรณาการเศรษฐกจิ พอเพยี ง
4.กาหนดให้ทุกคนเขา้ เรียน เลิกเรียนตรงเวลาและ

ปฏิบตั ิงานเสร็จทนั ตามกาหนดเวลา
5.มีการนาภูมิปั ญญาท้องถิ่นมาให้ความรู้ และ

คาปรึกษาเก่ียวกบั เรื่อง การทางบทดลอง

ชื่อเร่ือง สมรรถนะและจดุ ประสงค์เชิงพฤติกรรม
(บทท่ี 10) กฎของเคอร์ชอฟฟ์ สมรรถนะ :

1. วิเคราะหว์ งจรดว้ ยกฎของเคอร์ชอฟฟ์

จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม
ด้านความรู้
1. อธิบายการแกส้ มการโดยใชด้ ีเทอร์มิแนนต์
2. วเิ คราะห์วงจรดว้ ยกฎของเคอร์ชอฟฟ์

ด้านทักษะ
3. วิเคราะห์วงจรดว้ ยกฎของเคอร์ชอฟฟ์

ด้านคุณธรรม จริยธรรม/บูรณาการเศรษฐกจิ พอเพยี ง
4. ความรับผิดชอบ
5. ความสนใจใฝ่รู้

ช่ือเรื่อง สมรรถนะและจดุ ประสงค์เชิงพฤตกิ รรม
(บทท่ี 11) ทฤษฎีเมชเคอร์เรนต์ สมรรถนะ :

1. วเิ คราะหว์ งจรดว้ ยทฤษฎีเมชเคอร์เรนต์

จุดประสงค์เชิงพฤตกิ รรม
ด้านความรู้
1. อธิบายการเขยี นสมการภายในวงรอบ
2. วเิ คราะห์วงจรดว้ ยทฤษฎีเมชเคอร์เรนต์

ด้านทักษะ
1. วิเคราะห์วงจรดว้ ยทฤษฎีเมชเคอร์เรนต์

ด้านคุณธรรม จริยธรรม/บูรณาการเศรษฐกจิ พอเพยี ง
4.กาหนดให้ทุกคนเข้าเรียน เลิกเรียนตรงเวลาและ

ปฏิบตั ิงานเสร็จทนั ตามกาหนดเวลา
5.มีการนาภูมิปั ญญาท้องถิ่นมาให้ความรู้ และ

คาปรึกษาเก่ียวกบั เรื่อง การทางบทดลอง

ชื่อเร่ือง สมรรถนะและจุดประสงค์เชิงพฤตกิ รรม
(บทที่ 12) ทฤษฎีเทวินิน สมรรถนะ :

1. วิเคราะหว์ งจรดว้ ยทฤษฎีเทวินิน

จดุ ประสงค์เชิงพฤติกรรม
ด้านความรู้
1. อธิบายการเขยี นสมการภายในวงรอบ
2. วเิ คราะหว์ งจรดว้ ยทฤษฎีเมชเคอร์เรนต์

ด้านทกั ษะ
3. วเิ คราะหว์ งจรดว้ ยทฤษฎีเมชเคอร์เรนต์

ด้านคุณธรรม จริยธรรม/บูรณาการเศรษฐกจิ พอเพยี ง
4. ความรับผิดชอบ
5. ความสนใจใฝ่รู้

ชื่อเร่ือง สมรรถนะและจุดประสงค์เชิงพฤติกรรม
(บทที่ 13) ทฤษฎีนอร์ตนั สมรรถนะ :

1. วเิ คราะห์วงจรดว้ ยทฤษฎีนอร์ตนั

จดุ ประสงค์เชิงพฤตกิ รรม
ด้านความรู้
1. อธิบายข้นั ตอนการวิเคราะห์วงจรไฟฟ้าดว้ ย
ทฤษฎีนอร์ตนั
2. วเิ คราะห์วงจรดว้ ยทฤษฎีนอร์ตนั

ด้านทักษะ
1. วิเคราะหว์ งจรดว้ ยทฤษฎีนอร์ตนั

ด้านคุณธรรม จริยธรรม/บูรณาการเศรษฐกจิ พอเพยี ง
4.กาหนดให้ทุกคนเขา้ เรียน เลิกเรียนตรงเวลาและ

ปฏิบตั ิงานเสร็จทนั ตามกาหนดเวลา
5.มีการนาภูมิปั ญญาท้องถิ่นมาให้ความรู้ และ

คาปรึกษาเกี่ยวกบั เร่ือง การทางบทดลอง

ชื่อเร่ือง สมรรถนะและจุดประสงค์เชิงพฤติกรรม
(บทท่ี 14) ทฤษฎีแรงดนั โนด สมรรถนะ :

1. วเิ คราะหว์ งจรดว้ ยทฤษฎีแรงดนั โนด

จุดประสงค์เชิงพฤตกิ รรม
ด้านความรู้
1. อธิบายข้นั ตอนการวิเคราะห์วงจรไฟฟ้าดว้ ย
ทฤษฎีแรงดนั โนด
2. วเิ คราะห์วงจรดว้ ยทฤษฎีแรงดนั โนด

ด้านทักษะ
3. วิเคราะห์วงจรดว้ ยทฤษฎีแรงดนั โนด

ด้านคุณธรรม จริยธรรม/บูรณาการเศรษฐกจิ พอเพยี ง
4. ความรับผดิ ชอบ
5. ความสนใจใฝ่รู้

ช่ือเรื่อง สมรรถนะและจดุ ประสงค์เชิงพฤตกิ รรม
(บทที่ 15) ทฤษฎีการวางซอ้ น สมรรถนะ :

1. วิเคราะหว์ งจรดว้ ยทฤษฎีการวางซอ้ น

จุดประสงค์เชิงพฤตกิ รรม
ด้านความรู้
1. อธิบายข้นั ตอนการวิเคราะห์วงจรไฟฟ้าดว้ ย
ทฤษฎีการวางซอ้ น
2. วเิ คราะห์วงจรดว้ ยทฤษฎีการวางซอ้ น

ด้านทกั ษะ
3. วเิ คราะห์วงจรดว้ ยทฤษฎีการวางซอ้ น

ด้านคณุ ธรรม จริยธรรม/บูรณาการเศรษฐกจิ พอเพยี ง
4.กาหนดให้ทุกคนเขา้ เรียน เลิกเรียนตรงเวลาและ

ปฏิบตั ิงานเสร็จทนั ตามกาหนดเวลา
5.มีการนาภูมิปั ญญาท้องถิ่นมาให้ความรู้ และ

คาปรึกษาเก่ียวกบั เร่ือง การทางบทดลอง

ช่ือเร่ือง สมรรถนะและจดุ ประสงค์เชิงพฤติกรรม
(บทท่ี 18) ทฤษฎีการส่งถ่ายกาลงั ไฟฟ้าสูงสุด
สมรรถนะ :
1. วเิ คราะหว์ งจรดว้ ยทฤษฎีการส่งถา่ ยกาลงั ไฟฟ้า
สูงสุด

จดุ ประสงค์เชิงพฤตกิ รรม

ด้านความรู้
1. อธิบายข้นั ตอนการวิเคราะห์วงจรไฟฟ้าดว้ ย
ทฤษฎีการส่งถ่ายกาลงั ไฟฟ้าสูงสุด
2. วิเคราะห์วงจรดว้ ยทฤษฎีการส่งถ่ายกาลงั ไฟฟ้า
สูงสุด

ด้านทกั ษะ
3. วเิ คราะห์วงจรดว้ ยทฤษฎีการส่งถ่ายกาลงั ไฟฟ้า
สูงสุด

ด้านคุณธรรม จริยธรรม/บูรณาการเศรษฐกจิ พอเพยี ง
4. ความรับผิดชอบ
5. ความสนใจใฝ่รู้

รายชื่อหน่วยการสอน/การเรียนรู้

หน่วยที่ ชื่อหน่วย ทฤษฎี จานวนคาบ
ทฤษฎี ปฏบิ ตั ิ
1 บทที่ 1 พ้ืนฐานการคานวรวงจรไฟฟ้า
2 บทท่ี 2 การต่อความตา้ นทานและการต่อเซลลไ์ ฟฟ้า 26
3 บทที่ 3 วงจรอนุกรม 26
4 บทท่ี 4 วงจรขนาน 13
5 บทท่ี 5 วงจรผสม 13
6 บทท่ี 6 วงจรแบ่งแรงดนั ไฟฟ้า 13
7 บทท่ี 7 วงจรแบ่งกระแสไฟฟ้า 13
8 บทที่ 8 วงจรบริดจ์ 13
9 บทท่ี 9 การแปลงวงจรความตา้ นทานสตาร์ –เดลตา้ 13
10 บทท่ี 10 กฎของเคอร์ชอฟฟ์ 13
11 บทที่ 11 ทฤษฎีเมชเคอร์เรนต์ 13
12 บทที่ 12 ทฤษฎีเทวนิ ิน 13
13 บทที่ 13 ทฤษฎีนอร์ตนั 13
14 บทที่ 14 ทฤษฎีแรงดนั โนด 13
15 บทท่ี 15 ทฤษฎีการวางซอ้ น 13
16 บทที่ 16 ทฤษฎีการส่งถา่ ยกาลงั ไฟฟ้าสูงสุด 13
13
รวม
72

กรอบมาตรฐานสมรรถนะรายวิชา
ตารางวิเคราะห์สมรรถนะ (Test blueprint)
รายวชิ า 20104-2002 วงจรไฟฟ้ากระแสตรง

หน่วยท่ี เข้าใจ ิว ีธในการคานวณวงจรไฟ ้ฟา ้ขัน ้พืนฐาน
คานวรหา ่คาความต้านทาน แรงดันไฟ ้ฟารวม และความ
สมรรถนะ ต้านทานภายในรวม
ประหน่วยการเรียน
คานวณหา ่คาในวงจรแบบ ่ตาง ๆ wfh

แปลงวงจรความต้านทานสตา ์ร-เดลต้า
ิวเคราะห์วงจรด้วยทฤษ ีฎในแบบ ่ตาง ๆ ได้

1 พ้นื ฐานการคานวรวงจรไฟฟ้า 
2 การต่อความตา้ นทานและการต่อเซลลไ์ ฟฟ้า 
3 วงจรอนุกรม    
4 วงจรขนาน   
5 วงจรผสม   
6 วงจรแบง่ แรงดนั ไฟฟ้า   
7 วงจรแบ่งกระแสไฟฟ้า    
8 วงจรบริดจ์    
9 การแปลงความตา้ นทานสตาร์-เดลตา้    

กรอบมาตรฐานสมรรถนะรายวชิ า
ตารางวเิ คราะห์สมรรถนะ (Test blueprint)
รายวิชา 20104-2002 วงจรไฟฟ้ากระแสตรง

หน่วยที่ เข้าใจ ิว ีธในการคานวณวงจรไฟ ้ฟา ้ขัน ้พืนฐาน
คานวรหา ่คาความต้านทาน แรงดันไฟ ้ฟารวม และความต้านทานภายในรวม
สมรรถนะ คานวณหาค่าในวงจรแบบ ่ตาง ๆ
ประหน่วยการเรียน แปลงวงจรความต้านทานสตา ์ร-เดลต้า
ิวเคราะห์วงจรด้วยทฤษ ีฎในแบบ ่ตาง ๆ ได้

10 กฎของเคอร์ชอฟฟ์   
11 ทฤษฎีเมชเคอร์เรนต์   
12 ทฤษฎีเทวินิน   
13 ทฤษฎีนอร์ตนั   
14 ทฤษฎีแรงดนั โนด   
15 ทฤษฎีการวางซอ้ น   
16 ทฤษฎีการส่งถ่ายกาลงั ไฟฟ้าสูงสุด   

แผนการสอน/แผนการเรียนรู้ภาคทฤษฎี หน่วยท่ี 1
สอนสปั ดาหท์ ี่
แผนการสอน/การเรียนรู้ภาคทฤษฎี 1-2
ชื่อวชิ า วงจรไฟฟ้ากระแสตรง คาบรวม 8

ชื่อหน่วย พ้ืนฐานการคานวณวงจรไฟฟ้า

ชื่อเร่ือง องคป์ ระกอบของคอมพวิ เตอร์ จานวนคาบ 8

หัวข้อเรื่อง
ด้านความรู้
4. อธิบายพ้นื ฐานการคานวณวงจรไฟฟ้า
5. บอกความสัมพนั ธต์ ามกฎของโอหม์

ด้านทกั ษะ
1. คานวณวงจรไฟฟ้า

ด้านคุณธรรม จริยธรรม
1. ความรับผิดชอบ
2. ความสนใจใฝ่รู้

สาระสาคญั
พ้นื ฐานการคานวณวงจรไฟฟ้า เร่ิมแรกท่ีควรทาความเขา้ ใจคอื การคานวณตามกฎของโอหม์

กาลงั ไฟฟ้า พลงั งานไฟฟ้า รวมถึงแหลง่ กาเนิดไฟฟ้ากระแสตรง เพราะตอ้ งใชใ้ นการทดลองดว้ ย

สมรรถนะอาชีพประจาหน่วย
17. คานวณวงจรไฟฟ้า

คาศัพท์สาคัญ
1. จอร์จ ไซมอน โอห์ม (George Simon Ohm) การคน้ พบความสมั พนั ธ์ระหวา่ งความตา่ งศกั ยไ์ ฟฟ้าและ
ความตา้ นทานไฟฟ้าและต้งั กฎของโอห์ม (Ohm's Law)
2. ศักย์ไฟฟ้า( Potential difference)ศกั ยไ์ ฟฟ้า หรือ เรียกวา่ ศกั ดาไฟฟ้า คือระดบั ของพลงั งานศกั ยไ์ ฟฟ้า
ณ จุดใด ๆ ในสนาม- ไฟฟ้า

จุดประสงค์การสอน/การเรียนรู้
• จุดประสงค์ท่ัวไป / บูรณาการเศรษฐกจิ พอเพยี ง

1. เพือ่ ใหม้ ีความรู้เกี่ยวกบั พ้ืนฐานการคานวณวงจรไฟฟ้า (ด้านความรู้)
2. เพือ่ ใหม้ ีทกั ษะใชง้ าน พ้ืนฐานการคานวณวงจรไฟฟ้า (ด้านทักษะ)
3. เพอ่ื ใหม้ ีเจตคติที่ดีต่อการเตรียมความพร้อมดา้ น วสั ดุ อุปกรณ์ และการปฏิบตั ิงานอยา่ งถูกตอ้ ง สาเร็จ

ภายในเวลาท่ีกาหนด มีเหตแุ ละผลตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง (ด้านคุณธรรม จริยธรรม)
• จดุ ประสงค์เชิงพฤตกิ รรม / บูรณาการเศรษฐกจิ พอเพยี ง

1. อธิบายพ้นื ฐานการคานวณวงจรไฟฟ้า ได้ (ด้านความรู้)
2. บอกความสัมพนั ธ์ตามกฎของโอหม์ ได้ (ด้านทักษะ)
3. การเตรียมความพร้อมดา้ นการเตรียม วสั ดุ อปุ กรณ์นกั ศึกษาจะตอ้ งกระจายงานไดท้ วั่ ถึง และตรง

ตามความสามารถของสมาชิกทุกคน มีการจดั เตรียมสถานที่ สื่อ วสั ดุ อปุ กรณ์ไวอ้ ยา่ งพร้อมเพรียง
(ด้านคณุ ธรรม จริยธรรม/บูรณาการเศรษฐกิจพอเพยี ง)
4. ความมีเหตมุ ีผลในการปฏิบตั ิงาน ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง นกั ศึกษาจะตอ้ งมีการใช้
เทคนิคท่ีแปลกใหมใ่ ชส้ ื่อและเทคโนโลยปี ระกอบการนาเสนอที่น่าสนใจนาวสั ดุในทอ้ งถ่ินมา
ประยกุ ตใ์ ช้ อยา่ งคุม้ ค่าและประหยดั (ด้านคุณธรรม จริยธรรมพอเพยี ง) /บูรณาการเศรษฐกิจ

เนื้อหาสาระการสอน/การเรียนรู้

• ด้านความรู้(ทฤษฎี)

1. อธิบายพ้นื ฐานการคานวณวงจรไฟฟ้าได้ (จุดประสงคเ์ ชิงพฤติกรรมขอ้ 1)
พ้ืนฐานการคานวณวงจรไฟฟ้าอยา่ งงา่ ยที่สุดคอื การวิเคราะหห์ รือหาคาตอบดว้ ยกฎของโอหม์

เนื่องจากมีหลกั เกณฑต์ ายตวั ไม่ซบั ซอ้ น ดงั น้นั ผูเ้ รียนจะตอ้ งทาความเขา้ ใจส่วนท่ีเป็นทฤษฎีตวั แปรตา่ ง ๆ ท่ี
กล่าวไวใ้ นกฎของโอห์ม เพราะจะทาใหส้ ามารถนาไปประยกุ ตใ์ ชก้ บั การวเิ คราะห์วงจรไฟฟ้าท่ีมีความซบั ซอ้ น
ไดเ้ ป้นอยา่ งดี ท้งั การวิเคราะหว์ งจรไฟฟ้ากระแสตรง (DC Circuit Analysis) และการวิเคราะหว์ งจรไฟฟ้า
กระแสสลบั (AC Circuit Analysis)
2. บอกความสมั พนั ธ์ตามกฎของโอห์มได้ (จุดประสงคเ์ ชิงพฤติกรรมขอ้ 2)

กฎของโอห์ม
จอร์จ ไซมอน โอห์ม (George Simon Ohm) เกิดเมื่อวนั ท่ี 16 มีนาคม ค.ศ. 1787 ที่เมือง เออร์แลงเกน

ประเทศเยอรมนี เสียชีวิตเมื่อวนั ท่ี 27 กรกฎาคม ค.ศ. 1854 ที่เมืองมิวนิค ประเทศเยอรมนีผลงานของจอร์จ ไซ
มอน โอหม์ คอื การคน้ พบความสัมพนั ธ์ระหวา่ งความตา่ งศกั ยไ์ ฟฟ้าและความตา้ นทานไฟฟ้าและต้งั กฎของโอห์ม
(Ohm's Law) บิดาของเขาชื่อว่าโจฮัน โอห์ม (John Ohm) มีอาชีพเป็ นช่างทากุญแจและปื น แมว้ ่าฐานะทาง
ครอบครัวของโอห์มจะค่อนขา้ งยากจน แต่โอห์มก็ขวนขวายหาความรู้อยูเ่ สมอ โอหม์ เขา้ เรียนข้นั ตน้ ในโรงเรียน
รีลสคูลในแบมเบิร์ก หลังจากจบการศึกษาข้ันต้นแล้วโอห์มได้เข้าศึกษาเกี่ยวกับวิชาคณิตศาสตร์ และ
วิทยาศาสตร์ท่ีมหาวิทยาลยั แห่งเมืองเออร์แลงเกน (University of Erlangen) แต่เรียนอยู่ไดเ้ พียงปี กว่า ๆ เท่าน้นั
เขาก็ลาออก เพราะขาดทุนทรัพย์ จากน้ันโอห์มได้สมัครงานเป็ นครูสอนหนังสือที่ Gattstodt ในเมืองเบิร์น
(Bern)ประเทศสวติ เซอร์แลนด์ ตอ่ มาโอหม์ ไดเ้ ขา้ ศึกษาต่ออีกคร้ังหน่ึง และไดร้ ับปริญญาเอกทางคณิตศาสตร์ แต่
เขาก็ยงั คงทางานอยู่ท่ีโรงเรียนแห่งน้ันจนกระทง่ั ปี ค.ศ. 1817 โอห์มไดร้ ับเชิญจากพระเจ้าเฟรดเดอริคแห่งป
รัสเซีย (King Frederick of Prussia) ให้ดารงตาแหน่งศาสตราจารยส์ อนวิชาคณิตศาสตร์ ประจาวิทยาลยั จีสุท
(Jesuit College) แห่งมหาวิทยาลยั โคโลญ (Cologne University) ประเทศสวติ เซอร์แลนด์

ในปี ค.ศ. 1822 โจเซฟ ฟอร์เรอร์ (Joseph Fourier) นกั วทิ ยาศาสตร์ชาวฝร่ังเศส ไดเ้ ผยแพร่ผลงานออกมา
เล่มหน่ึง ช่ือวา่ การไหลของความร้อน (Analytic Theory of Heat) ภายในหนงั สือเลม่ น้ีไดอ้ ธิบายเก่ียวกบั การ
เคล่ือนที่ของความร้อนไวว้ า่ "อตั ราการเคล่ือนท่ีของความร้อนจากจุด A ไปยงั จุด B ข้ึนอยกู่ บั ความแตกตา่ ง
ระหวา่ งอุณหภูมิของจุดท้งั สอง และข้ึนอยกู่ บั ตวั นาดว้ ยวา่ สามารถถา่ ยทอดความร้อนไดด้ ีขนาดไหน" เม่ือโอห์ม
ไดอ้ า่ นผลงานชิ้นน้ีเขาไดเ้ กิดความสนใจ ที่จะทาการทดลองเช่นเดียวกนั น้ีกบั ไฟฟ้าข้ึนบา้ ง หลงั จากทาการ
ทดลองโดยอาศยั หลกั การเดียวกบั ฟอร์เรอร์ เขาพบวา่ การเคล่ือนที่ของกระแสไฟฟ้าระหวา่ งจุด 2 จุด จะตอ้ ง
ข้ึนอยกู่ บั วตั ถทุ ี่นามาใชเ้ ป็นตวั นาไฟฟ้าเช่นกนั คือ ควรเลือกโลหะที่เป็นตวั นาไฟฟ้าท่ีดี เช่น เงิน ทองแดง หรือ
อะลูมิเนียม เป็นตน้ นอกจากน้ีเม่ือโลหะที่เป็นตวั นาไฟฟ้ามีความร้อนมากข้ึนจะทาใหก้ ระแสไฟฟ้าไหลได้
นอ้ ยลงดว้ ย หลงั จากการทดลองไฟฟ้าในข้นั ตน้ สาเร็จลงแลว้ โอหม์ ไดเ้ ดินทางไปยงั เมืองโคโลญ เพื่อเขา้ เป็น
อาจารยส์ อนที่ยมิ เนเซียม (Gymnasium) ในระหวา่ งน้ีในปี ค.ศ. 1826 โอหม์ ไดจ้ ดั พมิ พห์ นงั สือออกมาเล่มหน่ึงช่ือ
วา่ Bestimmung des Gesetzes nach Welohem die Metalle die Kontaktee

ในปี ต่อมาโอห์มไดท้ าการทดลองเก่ียวกบั การนาไฟฟ้าต่ออีก และเขาก็พบคุณสมบตั ิเกี่ยวกบั การไหล
ของไฟฟ้าเพิ่มเติมอีก 2 ประการ คือ ความยาวของสายไฟ (ถา้ ยิ่งมีความยาวมากจะมีความตา้ นทานไฟฟ้ามาก)
และพ้ืนท่ีหนา้ ตดั ของสายไฟ(ถา้ ยง่ิ มีพ้ืนที่หนา้ ตดั มากจะมีความตา้ นทานไฟฟ้ามาก) กระแสไฟฟ้าไหลไดน้ ้อยลง
การพบคุณสมบตั ิข้อน้ีเขาไดเ้ ขียนลงในหนงั สือชื่อว่า Die Galvanisehe Katte Mathemetisoh Bearbeitet ภายใน
หนังสือเล่มน้ีมีรายละเอียดเก่ียวกบั การทดลอง ซ่ึงเขาต้งั เป็ นกฎช่ือว่า กฎของโอห์ม (Ohm's Law) โดยมีหลกั
สาคญั ว่า การเคลื่อนที่ของกระแสไฟฟ้าที่ผ่านตวั นาไฟฟ้า เป็นปฏิภาคโดยตรงกบั ความต่างศกั ย์ และเป็นปฏิภาค
ผกผนั กบั ความตา้ นทาน กล่าวคอื การเคลื่อนที่ของกระแสไฟฟ้า ระหวา่ งจุด 2 จุด ยอ่ มข้นึ อยกู่ บั คณุ สมบตั ิสาคญั
4 ประการของตวั นาไฟฟ้า คือ

1. วสั ดุที่ใชเ้ ป็นตวั นาไฟฟ้าไดด้ ี
2. วสั ดุท่ีใชต้ อ้ งทนความร้อนไดส้ ูง
3. ความยาวของสายไฟตอ้ งไมม่ ากจนเกินไป
4. พ้ืนที่หนา้ ตดั ของสายไฟตอ้ งไม่ใหญ่จนเกินไป

โดยสามารถคานวณความต่างศกั ยร์ ะหวา่ งจุดท้งั 2 จากสมการดงั ต่อไปน้ี
E
I = R

เมื่อ

I หมายถึง ปริมาณกระแสไฟฟ้าท่ีไหลในสายไฟตวั นา

E หมายถึง แรงดนั ทางไฟฟ้า

R หมายถึง ความตา้ นทานของสายไฟตวั นา

จากผลงานชิ้นดงั กล่าว แทนท่ีโอหม์ จะไดร้ ับการยกย่องแต่โอหม์ กลบั ไดร้ ับการต่อตา้ นอยา่ งมากจากชาว

เยอรมนั เนื่องจากความไม่รู้ และไม่เขา้ ใจนน่ั เอง ทาใหใ้ นระหว่างน้ีโอห์มไดร้ ับความลาบาก แต่ชาวต่างประเทศ

กลบั เห็นวา่ ผลงานชิ้นน้ีของโอหม์ เป็นงานที่มีคณุ ประโยชน์มากและในปี ค.ศ. 1841 โอหม์ ไดร้ ับมอบเหรียญคอพ

เลย์ (Copley Medal) จากราชสมาคมแห่งกรุงลอนดอน (Royal Society of London) และในปี ต่อมาโอห์มได้รับ

เชิญให้ร่วมสมาคมน้ีดว้ ย เม่ือรัฐบาลเยอรมนี เห็นดงั น้นั จึงเริ่มหันมาให้ความสนในผลงานของโอห์ม และในปี

ค.ศ. 1849 เม่ือโอห์มเดินทางกลบั จากประเทศองั กฤษ โอห์มไดร้ ับเชิญใหเ้ ป็นศาสตราจารย์ ประจามหาวิทยาลยั

มิวนิค (Munich University) ไม่เฉพาะเร่ืองไฟฟ้าเท่าน้นั ท่ีโอห์มทาการคน้ ควา้ โอห์มยงั คน้ ควา้ เก่ียวกบั เรื่องแสง

ดว้ ย แต่ไม่เป็ นท่ีสนใจมากเท่ากบั เร่ืองไฟฟ้า โอห์มเสียชีวิตในวนั ท่ี 27 กรกฎาคม ค.ศ.1854 ท่ีมิวนิค ประเทศ

เยอรมนี ถึงแมว้ ่าโอห์มจะเสียชีวิตไปแลว้ แต่ช่ือของโอห์มยงั ถูกนามาใชเ้ ป็นหน่วยวดั ความตา้ นทานไฟฟ้า ในปี

ค.ศ. 1881 สมาคมไฟฟ้านานาชาติ (International Congress of Electrical Engineers) ไดต้ กลงร่วมกนั ที่กรุงปารีส

ว่าควรใชช้ ่ือของโอห์ม เป็นหน่วยวดั ความตา้ นทานไฟฟ้า โดยความตา้ นทาน 1 โอห์ม หมายถึง กระแสไฟฟ้า 1

แอมแปร์ ไหลผา่ นบนตวั นาไฟฟ้าภายใตค้ วามตา่ งศกั ยไ์ ฟฟ้า 1 โวลต์

ด้านทักษะ(ปฏบิ ตั ิ) (จุดประสงคเ์ ชิงพฤติกรรมขอ้ ท่ี 1-3)

1. แบบทดสอบหน่วยการเรียนท่ี 1
2. ใบงาน หน่วยที่ 1

• ด้านคณุ ธรรม/จริยธรรม/จรรยาบรรณ/บูรณาการเศรษฐกจิ พอเพยี ง

(จดุ ประสงค์เชิงพฤตกิ รรมข้อที่ 4-5)

1. การเตรียมความพร้อมดา้ นการเตรียม วสั ดุ อุปกรณ์นกั ศึกษาจะตอ้ งกระจายงานไดท้ วั่ ถึง และตรงตาม
ความสามารถของสมาชิกทุกคน มีการจดั เตรียมสถานท่ี สื่อ วสั ดุ อปุ กรณ์ไวอ้ ยา่ งพร้อมเพรียง

2. ความมีเหตมุ ีผลในการปฏิบตั ิงาน ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง นกั ศึกษาจะตอ้ งมีการใช้
เทคนิคที่แปลกใหม่ใช้สื่อและเทคโนโลยีประกอบการนาเสนอที่น่าสนใจนาวสั ดุในท้องถ่ินมา
ประยกุ ตใ์ ช้ อยา่ งคุม้ คา่ และประหยดั

กจิ กรรมการเรียนการสอนหรือการเรียนรู้

ข้ันตอนการสอนหรือกจิ กรรมของครู ข้นั ตอนการเรียนรู้หรือกจิ กรรมของนักเรียน

1. ข้ันนาเข้าสู่บทเรียน (15 นาที ) 1. ข้นั นาเข้าสู่บทเรียน (15 นาที )

จดั ใหน้ กั เรียนศึกษาคาศพั ทใ์ นบทเรียน นกั เรียนศึกษาคาศพั ทใ์ นบทเรียน

1. ผูส้ อนจัดเตรียมเอกสาร พร้อมกับแนะนา 1. ผเู้ รียนเตรียมอุปกรณ์และ ฟังครูผสู้ อนแนะนา

รายวิชา วิธีการให้คะแนนและวิธีการเรียนเรื่ อง รายวิชา วิธีการให้คะแนนและวิธีการเรี ยนเ ร่ื อง

พ้ืนฐานการคานวณวงจรไฟฟ้า พ้นื ฐานการคานวณวงจรไฟฟ้า

2. ผูส้ อนแจ้งจุดประสงค์การเรียนของหน่วย 2. ผูเ้ รียนทาความเขา้ ใจเกี่ยวกับจุดประสงค์การ

เรียนที่ 1 และขอให้ผูเ้ รียนร่วมกันทากิจกรรมการ เรียนของหน่วยเรียนท่ี 1 และการให้ความร่วมมือใน

เรียนการสอน การทากิจกรรม

3. ผูส้ อนให้ผูเ้ รียนแสดงความรู้เก่ียวกับ วสั ดุ 3. ผเู้ รียนแสดงความรู้ความรู้เก่ียวกบั พ้นื ฐานการ

พ้นื ฐานการคานวณวงจรไฟฟ้า คานวณวงจรไฟฟ้า

2. ข้ันให้ความรู้ (75 นาที) 2. ข้ันให้ความรู้ (75 นาที )
1. ผู้ ส อ น แ น ะ น า วิ ธี ก า ร ใ ช้ บ ท เ รี ย น 1. ผสู้ อนแนะนาวิธีการใชบ้ ทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วย

คอมพิวเตอร์ช่วยสอน หน่วยท่ี 1 พ้ืนฐานการ สอน หน่วยที่ 1 พ้ืนฐานการคานวณวงจรไฟฟ้า และ
คานวณวงจรไฟฟ้า และให้ผู้เรี ยนศึกษาเอกสาร ใหผ้ เู้ รียนศึกษาเอกสารประกอบการสอน พ้ืนฐานการ
ประกอบการสอน พ้ืนฐานการคานวณวงจรไฟฟ้า คานวณวงจรไฟฟ้า หน่วยที่ 1 หนา้ ท่ี 1 - 14
หน่วยที่ 1 หนา้ ที่ 1 - 14
2.ผูส้ อนและผูเ้ รียนร่วมกนั อธิบายเกี่ยวกบั พ้ืนฐาน
2. ผูส้ อนและผูเ้ รียนร่วมกันอธิบายเกี่ยวกับ ก า รค า น ว ณ ว ง จรไ ฟฟ้ า ต า มท่ี ได้ศึ กษา จ ากบ ทเ รี ยน
พ้ืนฐานการคานวณวงจรไฟฟ้า ตามท่ีได้ศึกษาจาก คอมพวิ เตอร์ช่วยสอน
บทเรียนคอมพวิ เตอร์ช่วยสอน
3.อาจารยผ์ สู้ อนคอยใหค้ าแนะนาแก่ผเู้ รียน

3. อาจารยผ์ สู้ อนคอยใหค้ าแนะนาแก่ผเู้ รียน

กจิ กรรมการเรียนการสอนหรือการเรียนรู้

ข้นั ตอนการสอนหรือกจิ กรรมของครู ข้ันตอนการเรียนรู้หรือกจิ กรรมของนกั เรียน

3. ข้ันประยกุ ต์ใช้ ( 105 นาที ) 3. ข้ันประยุกต์ใช้ ( 105 นาที )

1. ผูส้ อนให้ผูเ้ รียนทาแบบทดสอบหน่วยการ 1. ผเู้ รียนทาแบบทดสอบหน่วยการเรียนรู้ หน่วย

เรียนรู้ หน่วยท่ี 1 หนา้ ที่ 11 เร่ือง พ้ืนฐานการคานวณ ท่ี 1 หนา้ ท่ี 11 เรื่อง พ้นื ฐานการคานวณวงจรไฟฟ้า

วงจรไฟฟ้า

2. ผสู้ อนใหผ้ เู้ รียนสืบคน้ ขอ้ มูลจากอินเทอร์เน็ต 2. ผเู้ รียนสืบคน้ ขอ้ มูลจากอินเทอร์เนต็

4. ข้ันสรุปและประเมินผล ( 30 นาที ) 4. ข้ันสรุปและประเมินผล ( 30 นาที )

1. ผสู้ อนและผเู้ รียนร่วมกนั สรุปเน้ือหาท่ีไดเ้ รียน 1. ผูส้ อนและผเู้ รียนร่วมกนั สรุปเน้ือหาที่ไดเ้ รียน

ใหม้ ีความเขา้ ใจในทิศทางเดียวกนั เพอ่ื ใหม้ ีความเขา้ ใจในทิศทางเดียวกนั

2. ผู้สอนให้ผู้เรี ยนทาแบบทดสอบหน่วยการ 2. ผเู้ รียนทาแบบทดสอบหน่วยการเรียนรู้ หน่วย

เรียนรู้ หน่วยท่ี 1 หนา้ 11 -13 ท่ี 1 หนา้ 11-13

3. ผสู้ อนใหผ้ เู้ รียนทาใบงาน หน่วยที่ 1 หนา้ 14 3. ผเู้ รียนทาใบงานเรียนรู้ ท่ี 1 หนา้ 14 - 23

- 23 4. ผู้เรี ยนศึกษาเพ่ิมเติมนอกห้องเรี ยน ด้วย

บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนที่จดั ทาข้ึน

(บรรลจุ ุดประสงค์เชิงพฤตกิ รรมข้อท่ี 1-2) (บรรลจุ ดุ ประสงค์เชิงพฤติกรรมข้อท่ี 1-2)

(รวม 480 นาที หรือ 8 คาบเรียน)

งานทม่ี อบหมายหรือกจิ กรรมการวดั ผลและประเมนิ ผล

ก่อนเรียน

1. จดั เตรียมเอกสาร ส่ือการเรียนการสอนหน่วยท่ี 1
2. ทาความเขา้ ใจเก่ียวกบั จุดประสงคก์ ารเรียนของหน่วยท่ี 1 และใหค้ วามร่วมมือในการทากิจกรรมใน

หน่วยท่ี 1

ขณะเรียน

1. ปฏิบตั ิตามกิจกรรมหน่วยที่ 1
2. ปฏิบตั ิตามใบงาน
3. ร่วมกนั สรุป “พ้ืนฐานการคานวณวงจรไฟฟ้า”

หลงั เรียน

1. ทาแบบประเมินการเรียนรู้
2. ทาแบบฝึกหดั หน่วยที่ 1

ผลงาน/ชิ้นงาน/ความสาเร็จของผู้เรียน

กิจกรรมท่ี 1 เร่ือง พ้ืนฐานการคานวณวงจรไฟฟ้า

สมรรถนะท่พี งึ ประสงค์

ผเู้ รียนสร้างความเขา้ ใจเก่ียวกบั พ้ืนฐานการคานวณวงจรไฟฟ้า
1. วิเคราะห์และตีความหมาย
2. ต้งั คาถาม
3. อภิปรายแสดงความคิดเห็นระดมสมอง
4. การประยกุ ตค์ วามรู้สู่งานอาชีพ

สมรรถนะการสร้างค่านิยม

ปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม

สมรรถนะการปฏิบตั ิงานอาชีพ

1.คานวณวงจรไฟฟ้า

สมรรถนะการขยายผล

-

ส่ือการเรียนการสอน/การเรียนรู้

ส่ือส่ิงพมิ พ์
1. เอกสารประกอบการสอนวิชา พ้ืนฐานการคานวณวงจรไฟฟ้า (ใชป้ ระกอบการเรียนการสอน

จุดประสงคเ์ ชิงพฤติกรรมขอ้ ท่ี 1-2)
2. แบบฝึกหดั หน่วยที่ 1 เรื่อง พ้นื ฐานการคานวณวงจรไฟฟ้า (ใชป้ ระกอบการเรียนการสอนข้นั

ใหค้ วามรู้ เพื่อใหบ้ รรลจุ ุดประสงคเ์ ชิงพฤติกรรมขอ้ ที่ 1-2)
3. แบบประเมินผูเ้ รียนในช้นั เรียน ใชป้ ระกอบการสอนข้นั ประยกุ ตใ์ ช้ ขอ้ 1-2

สื่อโสตทัศน์ (ถ้ามี)
1. บทเรียนคอมพวิ เตอร์ช่วยสอน เร่ือง พ้ืนฐานการคานวณวงจรไฟฟ้า

ส่ือของจริง
1. วงจรไฟฟ้ากระแสตรง (ใชป้ ระกอบการเรียนการสอนจุดประสงคเ์ ชิงพฤติกรรมขอ้ ที่ 1-2)

แหล่งการเรียนรู้

ในสถานศึกษา
1. หอ้ งสมดุ วิทยาลยั เทคนิคสมทุ รสาคร
2. หอ้ งปฏิบตั ิการคอมพวิ เตอร์ ศึกษาหาขอ้ มลู ทางอินเทอร์เน็ต

นอกสถานศึกษา
-

การบูรณาการ/ความสัมพนั ธ์กบั วชิ าอื่น

1. บรู ณาการกบั วชิ าชีวิตและวฒั นธรรมไทย ดา้ นการพูด การอ่าน การเขียน และการฝึ กปฏิบตั ิตนทาง
สงั คมดา้ นการเตรียมความพร้อม ความรับผิดชอบ และความสนใจใฝ่รู้

2. บูรณาการกบั วิชาการบริหารการจดั ซ้ือ ดา้ นการซ้ือ การแสวงหาผลิตภณั ฑ์
3. บูรณาการกบั วชิ ากีฬาเพ่ือพฒั นาสุขภาพและบุคลิกภาพ ดา้ นบคุ ลิกภาพในการนาเสนอหนา้ ช้นั เรียน
4. บูรณาการกบั วิชาหลกั เศรษฐศาสตร์ ดา้ นการเลือกใชท้ รัพยากรอยา่ งประหยดั

การประเมนิ ผลการเรียนรู้
• หลกั การประเมินผลการเรียนรู้

ก่อนเรียน
-

ขณะเรียน
1. ตรวจผลงานตาม แบบทดสอบหน่วยการเรียนรู้ที่ 1
2. สงั เกตการทางาน

หลงั เรียน
1. ตรวจแบบฝึกหดั ทดสอบความเขา้ ใจ
2. ตรวจกิจกรรม หน่วยที่ 1
3. ตรวจใบงาน

คาถาม

1. นกั ฟิ สิกส์ชาวเยอรมนั ที่คิดคน้ กฎของโอหม์ คือใคร
2. การคานวณตามกฎของโอห์มเก่ียวขอ้ งกบั องคป์ ระกอบสามอยา่ ง คืออะไรบา้ ง

ผลงาน/ชิ้นงาน/ผลสาเร็จของผู้เรียน

แบบทดสอบหน่วยการเรียนรู้ หน่วยท่ี 1 เร่ือง พ้นื ฐานการคานวณวงจรไฟฟ้า

สมรรถนะทพี่ งึ ประสงค์

ผเู้ รียนสร้างความเขา้ ใจเก่ียวกบั พ้ืนฐานการคานวณวงจรไฟฟ้า
1. วิเคราะห์และตีความหมาย
2. ต้งั คาถาม
3. อภิปรายแสดงความคดิ เห็นระดมสมอง
4. การประยกุ ตค์ วามรู้สู่งานอาชีพ

รายละเอียดการประเมนิ ผลการเรียนรู้

• จุดประสงคเ์ ชิงพฤติกรรม ขอ้ ท่ี 1 อธิบายพ้นื ฐานการคานวณวงจรไฟฟ้า ได้

1. วธิ ีการประเมิน : ทดสอบ

2. เครื่องมือ : แบบทดสอบ

3. เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน : อธิบายพ้นื ฐานการคานวณวงจรไฟฟ้า จะได้ 1 คะแนน

• จุดประสงคเ์ ชิงพฤติกรรม ขอ้ ท่ี 2 บอกความสัมพนั ธ์ตามกฎของโอห์ม ได้

1. วิธีการประเมิน : ทดสอบ

2. เคร่ืองมือ : แบบทดสอบ

3. เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน : บอกความสัมพนั ธต์ ามกฎของโอหม์ จะ

ได้ 1 คะแนน

• จุดประสงคเ์ ชิงพฤติกรรม ขอ้ ที่ 3 การเตรียมความพร้อมดา้ นการเตรียม วสั ดุ อุปกรณ์นกั ศึกษาจะตอ้ ง
กระจายงานไดท้ ว่ั ถึง และตรงตามความสามารถของสมาชิกทุกคน มีการจดั เตรียมสถานที่ สื่อ วสั ดุ

อปุ กรณ์ไวอ้ ยา่ งพร้อมเพรียง

1. วธิ ีการประเมิน : ทดสอบ

2. เครื่องมือ : แบบทดสอบ

3. เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน : การเตรียมความพร้อมดา้ นการเตรียม วสั ดุ

อุปกรณ์นกั ศึกษาจะตอ้ งกระจายงานไดท้ วั่ ถึง และตรงตาม

ความสามารถของสมาชิกทกุ คน มีการจดั เตรียมสถานท่ี ส่ือ วสั ดุ อุปกรณ์

ไวอ้ ยา่ งพร้อมเพรียง จะได้ 4 คะแนน

• จุดประสงคเ์ ชิงพฤติกรรม ขอ้ ท่ี 4 ความมีเหตุมีผลในการปฏิบตั ิงาน ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียง นกั ศึกษาจะตอ้ งมีการใช้ เทคนิคท่ีแปลกใหมใ่ ชส้ ื่อและเทคโนโลยปี ระกอบการนาเสนอที่

น่าสนใจนาวสั ดุในทอ้ งถ่ินมาประยกุ ตใ์ ช้ อยา่ งคมุ้ คา่ และประหยดั

1. วธิ ีการประเมิน : ตรวจผลงาน

2. เคร่ืองมือ : แบบประเมินกระบวนการทางานกลมุ่

3. เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน : ความมีเหตุมีผลในการปฏิบตั ิงาน ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

นกั ศึกษาจะตอ้ งมีการใช้ เทคนิคท่ีแปลกใหม่ใชส้ ่ือและเทคโนโลยี

ประกอบการนาเสนอที่น่าสนใจนา วสั ดุในทอ้ งถ่ินมาประยกุ ตใ์ ชอ้ ยา่ ง

คุม้ คา่ และประหยดั จะได้ 2 คะแนน

แบบทดสอบหน่วยการเรียนรู้ หน่วยท่ี 1 หน้าท่ี 11
เรื่อง พื้นฐานการคานวณวงจรไฟฟ้า

คาส่ัง ตอนท่ี 1 จงเลือกคาตอบที่ถกู ตอ้ งท่ีสุดเพยี งขอ้ เดียว
1.ขอ้ ใดคอื ความสัมพนั ธ์ตามกฎของโอหม์

ก. ข.

ค. ง.

2. กระแสไฟฟ้า เขยี นแทนดว้ ยสญั ลกั ษณ์ ตามขอ้ ใด

ก. R ข.V

ค. I ง.E

3. หน่วยวดั ของกาลงั ไฟฟ้า คือขอ้ ใด

ก.โอหม์ ข. แอมแปร์

ค. โวลต์ ง. วตั ต์

4. หน่วยวดั ของพลงั งานไฟฟ้า คือขอ้ ใด

ก.kWh หรือ Unit ข. Watt

ค. Var ง. Volt / Ohm

5.หน่วยวดั ของความตา้ นทานคือขอ้ ใด

ก.จูล ข. โวลต์

ค.โอหม์ ง. แอมแปร์

จากรูปท่ีกาหนดให้ จงตอบคาถามขอ้ ที่ 6-7

6. ตามกฎของโอหม์ กระแสไฟฟ้าที่ไหลผา่ นวงจร มีค่าเท่าใด

ก. 6 A ข. 10 A

ค. 0.6 A ง. 1.67 A

7. จากวงจร ถา้ หากเปล่ียนความตา้ นทานใหม้ ีคา่ สูงข้ึนกวา่ เดิม กระแสไฟฟ้าที่ไหลผา่ นในวงจรจะเป้นเช่นใด

ก.เพิ่มข้ึน ข. ลดลง

ค.คงท่ี ง. เพ่มิ ข้นึ แลว้ ก็ลดลง

จากรูปท่ีกาหนดให้ จงตอบคาถามขอ้ ที่ 8- 9

8. จากวงจร แหล่งจ่ายแรงดนั มีคา่ เทา่ ใด

ก. 0.1 V ข. 1 V

ค. 5 V ง. 500 V

9. จากวงจร ถา้ ลดแรงดนั ของแหล่งจ่ายใหต้ ่าลงกระแสไฟฟ้าจะเปลี่ยนแปลงอยา่ งไร

ก.เพ่มิ ข้นึ ข. ลดลง

ค.คงท่ี ง. เพ่ิมข้ึนอยา่ งต่อเนื่อง

10. ถา้ หากเปิ ดหลอดไฟฟ้าขนาด 1,000 วตั ต์ เป็นเวลานาน 2 ชว่ั โมง จะสิ้นเปลืองพลงั งานไฟฟ้าเทา่ เ

ก. 2 วตั ต์ –ชว่ั โมง

ข. 200 วตั ต-์ ชวั่ โมง

ค. 200 วตั ต-์ ชว่ั โมง หรือ 0.2 ยนู ิต

ง. 2 กิโลวตั ต์ หรือ 2 ยนู ิต

แบบประเมินผลการนาเสนอผลงาน
ช่ือกลมุ่ ……………………………………………ช้นั ………………………หอ้ ง...........................

รายช่ือสมาชิก

1……………………………………เลขท่ี……. 2……………………………………เลขที่…….

3……………………………………เลขท่ี……. 4……………………………………เลขท่ี…….

ท่ี รายการประเมิน คะแนน ขอ้ คดิ เหน็

32 1

1 เน้ือหาสาระครอบคลุมชดั เจน (ความรู้เก่ียวกบั เน้ือหา ความถกู ตอ้ ง

ปฏิภาณในการตอบ และการแกไ้ ขปัญหาเฉพาะหนา้ )

2 รูปแบบการนาเสนอ

3 การมีส่วนร่วมของสมาชิกในกลุ่ม

4 บุคลิกลกั ษณะ กิริยา ท่าทางในการพดู น้าเสียง ซ่ึงทาใหผ้ ฟู้ ังมีความ

สนใจ

รวม

ผปู้ ระเมิน…………………………………………………

เกณฑ์การให้ คะแนน
1. เน้ือหาสาระครอบคลมุ ชดั เจนถูกตอ้ ง

3 คะแนน = มีสาระสาคญั ครบถว้ นถกู ตอ้ ง ตรงตามจุดประสงค์
2 คะแนน = สาระสาคญั ไมค่ รบถว้ น แตต่ รงตามจดุ ประสงค์
1 คะแนน = สาระสาคญั ไม่ถกู ตอ้ ง ไม่ตรงตามจุดประสงค์
2. รูปแบบการนาเสนอ
3 คะแนน = มีรูปแบบการนาเสนอท่ีเหมาะสม มีการใชเ้ ทคนิคที่แปลกใหม่ ใชส้ ื่อและเทคโนโลยี

ประกอบการ นาเสนอท่ีน่าสนใจ นาวสั ดุในทอ้ งถ่ินมาประยกุ ตใ์ ชอ้ ยา่ งคมุ้ ค่าและประหยดั
คะแนน = มีเทคนิคการนาเสนอทแ่ี ปลกใหม่ ใชส้ ่ือและเทคโนโลยปี ระกอบการนาเสนอที่น่าสน ใจ แตข่ าดการ

ประยกุ ตใ์ ช้ วสั ดุในทอ้ งถ่ิน
1 คะแนน = เทคนิคการนาเสนอไม่เหมาะสม และไมน่ ่าสนใจ
3. การมีส่วนร่วมของสมาชิกในกล่มุ
3 คะแนน = สมาชิกทุกคนมีบทบาทและมีส่วนร่วมกิจกรรมกลมุ่
2 คะแนน = สมาชิกส่วนใหญ่มีบทบาทและมีส่วนร่วมกิจกรรมกลุ่ม
1 คะแนน = สมาชิกส่วนนอ้ ยมบี ทบาทและมีส่วนร่วมกิจกรรมกลุ่ม
4. ความสนใจของผฟู้ ัง
3 คะแนน = ผฟู้ ังมากกวา่ ร้อยละ 90 สนใจ และให้ความร่วมมือ
2 คะแนน = ผฟู้ ังร้อยละ 70-90 สนใจ และให้ความร่วมมือ
1 คะแนน = ผฟู้ ังนอ้ ยกวา่ ร้อยละ 70 สนใจ และให้ความร่วมมือ

เฉลยแบบทดสอบหน่วยการเรียนรู้ หน่วยท่ี 1 หน้าที่ 11
เรื่อง พืน้ ฐานการคานวณวงจรไฟฟ้า

คาสั่ง ตอนที่ 1 จงเลือกคาตอบที่ถูกตอ้ งท่ีสุดเพยี งขอ้ เดียว

1. ข
2. ค
3. ง
4. ก
5. ค
6. ค
7. ข
8. ค
9. ค
10. ง

แบบประเมินกระบวนการทางานกล่มุ

ช่ือกลุ่ม……………………………………………ช้นั ………………………หอ้ ง...........................

รายชื่อสมาชิก 2……………………………………เลขที่…….
4……………………………………เลขท่ี…….
1……………………………………เลขท่ี…….
3……………………………………เลขที่…….

ท่ี รายการประเมิน คะแนน ขอ้ คดิ เห็น

1 การกาหนดเป้าหมายร่วมกนั 321
2 การแบง่ หนา้ ที่รับผดิ ชอบและการเตรียมความพร้อม
3 การปฏิบตั ิหนา้ ท่ที ี่ไดร้ บั มอบหมาย
4 การประเมินผลและปรับปรุงงาน

รวม

ผปู้ ระเมิน…………………………………………………
วนั ที่…………เดือน……………………..พ.ศ…………...

เกณฑ์ การให้ คะแนน

1. การกาหนดเป้าหมายร่วมกนั
3 คะแนน = สมาชิกทุกคนมสี ่วนร่วมในการกาหนดเป้าหมายการทางานอยา่ งชดั เจน
2 คะแนน = สมาชกิ ส่วนใหญม่ ีส่วนร่วมในการกาหนดเป้าหมายในการทางาน
1 คะแนน = สมาชิกส่วนนอ้ ยมีส่วนร่วมในการกาหนดเป้าหมายในการทางาน

2. การมอบหมายหนา้ ที่รับผิดชอบและการเตรียมความพร้อม
3 คะแนน = กระจายงานไดท้ ว่ั ถึง และตรงตามความสามารถของสมาชิกทกุ คน มกี ารจดั เตรียมสถานท่ี ส่ือ /
อุปกรณ์ไวอ้ ยา่ งพร้อมเพรียง
2 คะแนน = กระจายงานไดท้ วั่ ถึง แตไ่ มต่ รงตามความสามารถ และมีสื่อ / อปุ กรณ์ไวอ้ ย่างพร้อมเพรียง แต่ขาด
การจดั เตรียมสถานที่
1 คะแนน = กระจายงานไม่ทวั่ ถึงและมีสื่อ / อุปกรณไ์ มเ่ พียงพอ

3. การปฏิบตั ิหนา้ ท่ีที่ไดร้ ับมอบหมาย
3 คะแนน = ทางานไดส้ าเร็จตามเป้าหมาย และตามเวลาที่กาหนด
2 คะแนน = ทางานไดส้ าเร็จตามเป้าหมาย แต่ชา้ กวา่ เวลาท่ีกาหนด
1 คะแนน = ทางานไม่สาเร็จตามเป้าหมาย

4. การประเมินผลและปรับปรุงงาน
3 คะแนน = สมาชกิ ทุกคนร่วมปรึกษาหารือ ติดตาม ตรวจสอบ และปรับปรุงงานเป็นระยะ
2 คะแนน = สมาชกิ บางส่วนมีส่วนร่วมปรึกษาหารือ แตไ่ ม่ปรับปรุงงาน
1 คะแนน = สมาชกิ บางส่วนไม่มีส่วนร่วมปรึกษาหารือ และปรับปรุงงาน

บนั ทกึ หลงั การสอน

หน่วยท่ี 1 พ้ืนฐานการคานวณวงจรไฟฟ้า

ผลการใช้แผนการเรียนรู้

1. เน้ือหาสอดคลอ้ งกบั จุดประสงคเ์ ชิงพฤติกรรม
2. สามารถนาไปใชป้ ฏิบตั ิการสอนไดค้ รบตามกระบวนการเรียนการสอน
3. สื่อการสอนเหมาะสมดี

ผลการเรียนของนกั เรียน

1. นกั ศึกษาส่วนใหญ่มีความสนใจใฝ่รู้ เขา้ ใจในบทเรียน อภิปรายตอบคาถามในกล่มุ และร่วมกนั
ปฏิบตั ิใบงานที่ไดร้ ับมอบหมาย

2. นกั ศึกษากระตือรือร้นและรับผดิ ชอบในการทางานกลุ่มเพอ่ื ใหง้ านสาเร็จทนั เวลาที่กาหนด

ผลการสอนของครู

1. สอนเน้ือหาไดค้ รบตามหลกั สูตร
2. แผนการสอนและวธิ ีการสอนครอบคลมุ เน้ือหาการสอนทาใหผ้ สู้ อนสอนไดอ้ ยา่ งมนั่ ใจ
3. สอนไดท้ นั ตามเวลาที่กาหนด

แผนการสอน/แผนการเรียนรู้ภาคทฤษฎี หน่วยท่ี 2
สอนสัปดาห์ท่ี
แผนการสอน/การเรียนรู้ภาคทฤษฎี 3-4
ชื่อวชิ า วงจรไฟฟ้ากระแสตรง คาบรวม 8

ช่ือหน่วย การตอ่ ความตา้ นทานและการต่อเซลลไ์ ฟฟ้า

ช่ือเร่ือง การต่อความตา้ นทานและการตอ่ เซลลไ์ ฟฟ้า จานวนคาบ 8

หวั ข้อเรื่อง
ด้านความรู้
6. อธิบายการต่อตา้ นความตา้ นทานและการต่อเซลลไ์ ฟฟ้า
7. คานวณค่าความตา้ นทานจากการต่อความตา้ นทาน

ด้านทกั ษะ
2. คานวณคา่ ความตา้ นทานจากการต่อความตา้ นทาน

ด้านคุณธรรม จริยธรรม
1. ความรับผิดชอบ
2. ความสนใจใฝ่รู้

สาระสาคญั
ในวงจรไฟฟ้าโดยทวั่ ไปจะมีการต่อความตา้ นทานหลากหลายลกั ษณะ ข้ึนอยกู่ บั จุดประสงคก์ ารใช้

งาน กล่าวคอื มีท้งั การต่อแบบอนุกรม แบบขนาน และแบบผสม ส่วนการตอ่ ไฟฟ้าจะนิยมตอ่ สองแบบคือ ต่อ
แบบอนุกรมเพ่อื เสริมแรงดนั และต่อแบบขนานเพอื่ ใหส้ ามารถจ่ายกระแสไดม้ ากข้ึน

สมรรถนะอาชีพประจาหน่วย
18. เขา้ ใจวิธีการคานวณค่าความตา้ นทานรวม แรงดนั ไฟฟ้ารวม และความตา้ นทานภายในรวม

คาศัพท์สาคญั
3. ตวั ต้านทาน หรือ รีซิสเตอร์ ( resistor) เป็นอปุ กรณ์ไฟฟ้าชนิดสองข้วั ท่ีสร้างความตา่ งศกั ยท์ างไฟฟ้าข้นึ
คร่อมข้วั ท้งั สอง โดยมีสัดส่วนมากนอ้ ยตามกระแสท่ีไหลผา่ น อตั ราส่วนระหวา่ งความตา่ งศกั ย์ และ
ปริมาณกระแสไฟฟ้า ก็คอื ค่าความตา้ นทานทางไฟฟ้า หรือค่าความตา้ นทาน
4. รีโอสแตต (rheostat) : เป็นตวั ตา้ นทานปรับคา่ ไดม้ ี 2 ขา โดยท่ีขาหน่ึงถูกยดึ ตายตวั ส่วนขาท่ีเหลือเล่ือน
ไปมาได้ ปกติใชส้ าหรับส่วนที่มีปริมาณกระแสผา่ นสูง
5. โพเทนติโอมิเตอร์ (potentiometer) : เป็นตวั ตา้ นทานปรับค่าได้ ที่พบเห็นไดท้ วั่ ไป โดยเป็นป่ ุมปรับ
ความดงั สาหรับเครื่องขยายเสียง

จุดประสงค์การสอน/การเรียนรู้
• จดุ ประสงค์ท่วั ไป / บูรณาการเศรษฐกจิ พอเพยี ง

4. เพือ่ ใหม้ ีความรู้เก่ียวกบั การต่อความตา้ นทานและการต่อเซลลไ์ ฟฟ้า (ด้านความรู้)
5. เพ่ือใหม้ ีทกั ษะใชง้ าน การตอ่ ความตา้ นทานและการต่อเซลลไ์ ฟฟ้า (ด้านทักษะ)
6. เพือ่ ใหม้ ีเจตคติท่ีดีตอ่ การเตรียมความพร้อมดา้ น วสั ดุ อุปกรณ์ และการปฏิบตั ิงานอยา่ งถูกตอ้ ง สาเร็จ

ภายในเวลาที่กาหนด มีเหตแุ ละผลตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง (ด้านคณุ ธรรม จริยธรรม)
• จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม / บูรณาการเศรษฐกจิ พอเพยี ง

5. อธิบายากรต่อความตา้ นทานและการตอ่ เซลลไ์ ฟฟ้า ได้ (ด้านความรู้)
6. คานวณคา่ ความตา้ นทานจากการตอ่ ความตา้ นทาน ได้ (ด้านทักษะ)
7. คานวณค่าแรงดนั ไฟฟ้า คา่ ความตา้ นทานภายในและคา่ กระแสไฟฟ้าจากการต่อเซลลไ์ ฟฟ้าได้(ด้าน

ทักษะ)
8. การเตรียมความพร้อมดา้ นการเตรียม วสั ดุ อปุ กรณ์นกั ศึกษาจะตอ้ งกระจายงานไดท้ ว่ั ถึง และตรง

ตามความสามารถของสมาชิกทกุ คน มีการจดั เตรียมสถานท่ี สื่อ วสั ดุ อุปกรณ์ไวอ้ ยา่ งพร้อมเพรียง
(ด้านคุณธรรม จริยธรรม/บูรณาการเศรษฐกิจพอเพยี ง)
9. ความมีเหตุมีผลในการปฏิบตั ิงาน ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง นกั ศึกษาจะตอ้ งมีการใช้
เทคนิคท่ีแปลกใหม่ใชส้ ื่อและเทคโนโลยปี ระกอบการนาเสนอที่น่าสนใจนาวสั ดุในทอ้ งถิ่นมา
ประยกุ ตใ์ ช้ อยา่ งคุม้ ค่าและประหยดั (ด้านคณุ ธรรม จริยธรรมพอเพียง) /บูรณาการเศรษฐกิจ

เนื้อหาสาระการสอน/การเรียนรู้

• ด้านความรู้(ทฤษฎี)

3. อธิบายากรตอ่ ความตา้ นทานและการต่อเซลลไ์ ฟฟ้า ได(้ จุดประสงคเ์ ชิงพฤติกรรมขอ้ 1)
ตัวต้านทานหรือเรียกว่า รีซิสเตอร์ (Resistor: R) มีคุณลกั ษณะตา้ นทานการไหลของกระแสไฟฟ้า ถา้

หากมีค่าความตา้ นทานมากก็จะตา้ นทานการไหลของกระแสไฟฟ้าไดด้ ี ทาใหก้ ระแสไฟฟ้าไหลไดย้ าก สาหรับ
เซลลไ์ ฟฟ้า (Electric Cell) คอื แหลง่ กาเนิดไฟฟ้าชนิดหน่ึงท่ีสามารถเปล่ียนพลงั งานเคมีใหเ้ ป้นพลงั งานไฟฟ้าได้
เช่น ถ่านไฟฉาย แบตเตอร่ี (Battery) เป็นตน้ เมื่อนาเซลลไ์ ฟฟ้ามาต่อร่วมกนั อาจจะใหค้ ่าแรงดนั เพ่ิมหรือลดลง
แลว้ แต่ลกั ษณะการตอ่

การต่อความต้านทานมี 3 แบบ คือ การต่อความตา้ นทานแบบอนุกรม การต่อความตา้ นทานแบบขนาน
และการต่อความตา้ นทานแบบผสม การตอ่ แตล่ ะแบบจะใหค้ า่ ความตา้ นทานรวม (RT) ที่แตกต่างกนั
4. คานวณคา่ ความตา้ นทานจากการต่อความตา้ นทาน ได้ (จุดประสงคเ์ ชิงพฤติกรรมขอ้ 2)
การต่อเซลล์ไฟฟ้าแบบอนุกรม ( Series Cell )

การต่อเซลลไ์ ฟฟ้าแบบอนุกรม เรียกการต่อเซลลไ์ ฟฟ้าแบบ “ซีรี่ส์” (Series ) คือการนาเอา
เซลลไ์ ฟฟ้ามาต่อเรียงกนั โดยนาข้วั ของเซลลไ์ ฟฟ้าที่มีข้วั ตา่ งกนั มาต่อเขา้ ดว้ ยกนั แลว้ นาเอาข้วั ท่ีเหลือไปใชง้ าน
ในการท่ีจะนาเซลลไ์ ฟฟ้ามาต่อกนั แบบอนุกรม ( Series Cell) ควรเป็นเซลลไ์ ฟฟ้า ท่ีมีขนาดกระแสไฟฟ้าเทา่ กนั

ผลการตอ่ เซลลแ์ บบอนุกรม จะทาใหแ้ รงดนั ไฟฟ้ารวมเพิม่ ข้นึ แต่กระแสไฟฟ้าจะไม่เพ่มิ กระแสรวม
ของวงจรมีค่าเทา่ กบั กระแสของเซลลท์ ่ีต่าสุด ดงั น้นั จึงไม่ควรนาถา่ นไฟฉายเก่ามาใชง้ านร่วมกบั ถ่านไฟฉาย
ใหม่ เพราะถ่านไฟเก่าจะเป็นเหตุใหก้ ระแสในวงจรลดนอ้ ยลงได้

a .รูปการต่อเซลลไ์ ฟฟ้า b.สัญลกั ษณ์

การต่อเซลล์ไฟฟ้าแบบขนาน ( Parallel cell )
การตอ่ เซลลไ์ ฟฟ้าแบบขนานคือ การนาเอาข้วั ของเซลลไ์ ฟฟ้าแต่ละเซลลท์ ่ีเหมือนกนั มาต่อเขา้ ดว้ ยกนั

แลว้ นาเอาข้วั ของเซลลท์ ี่ต่อขนานไปใชง้ าน การต่อเซลลไ์ ฟฟ้าแบบขนาน ( Parallel cell ) เซลลไ์ ฟฟ้าแต่ละ
เซลลต์ อ้ งมีค่าแรงดนั ไฟฟ้า ( Voltage ) และความตา้ นทานภายในเซลลไ์ ฟฟ้าแตล่ ะเซลลเ์ ท่ากนั การตอ่ แบบ
ขนานผลกค็ อื แรงเคล่ือนไฟฟ้ารวมเท่ากบั แรงเคลื่อนเคลื่อนเซลลท์ ่ีต่าสุดแต่กระแสไฟฟ้ารวมจะเพิม่ สูงข้ึน คือ
เทา่ กบั กระแสทกุ เซลลร์ วมกนั

การต่อเซลล์ไฟฟ้าแบบผสม
ในการต่อเซลลไ์ ฟฟ้าแบบผสม เซลลไ์ ฟฟ้าแตล่ ะเซลลท์ ่ีจะนามาต่อจะตอ้ งมี แรงดนั ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า

และความตา้ นทานภายในเซลลเ์ ทา่ กนั ทุกตวั การต่อเซลลไ์ ฟฟ้าแบบผสมจะมีการต่ออยู่ 2 วิธี คือ แบบอนุกรม-
ขนาน และแบบขนาน-อนุกรม

( a )การตอ่ เซลลแ์ บบอนุกรม ( b ) การต่อเซลลไ์ ฟฟ้าแบบผสม

ด้านทักษะ(ปฏบิ ตั ิ) (จุดประสงคเ์ ชิงพฤติกรรมขอ้ ท่ี 1-3)

3. แบบทดสอบหน่วยการเรียนท่ี 2
4. ใบงาน หน่วยท่ี 2

• ด้านคณุ ธรรม/จริยธรรม/จรรยาบรรณ/บูรณาการเศรษฐกจิ พอเพยี ง

(จดุ ประสงค์เชิงพฤตกิ รรมข้อที่ 4-5)

2. การเตรียมความพร้อมดา้ นการเตรียม วสั ดุ อุปกรณ์นกั ศึกษาจะตอ้ งกระจายงานไดท้ ว่ั ถึง และตรงตาม
ความสามารถของสมาชิกทุกคน มีการจดั เตรียมสถานท่ี สื่อ วสั ดุ อปุ กรณ์ไวอ้ ยา่ งพร้อมเพรียง

3. ความมีเหตุมีผลในการปฏิบตั ิงาน ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง นกั ศึกษาจะตอ้ งมีการใช้
เทคนิคที่แปลกใหม่ใช้ส่ือและเทคโนโลยีประกอบการนาเสนอที่น่าสนใจนาวสั ดุในท้องถิ่นมา
ประยกุ ตใ์ ช้ อยา่ งคุม้ คา่ และประหยดั

กจิ กรรมการเรียนการสอนหรือการเรียนรู้

ข้นั ตอนการสอนหรือกจิ กรรมของครู ข้ันตอนการเรียนรู้หรือกจิ กรรมของนกั เรียน

1. ข้ันนาเข้าสู่บทเรียน (15 นาที ) 1. ข้ันนาเข้าสู่บทเรียน (15 นาที )

จดั ใหน้ กั เรียนศึกษาคาศพั ทใ์ นบทเรียน นกั เรียนศึกษาคาศพั ทใ์ นบทเรียน

4. ผูส้ อนจัดเตรียมเอกสาร พร้อมกับแนะนา 4. ผเู้ รียนเตรียมอุปกรณ์และ ฟังครูผสู้ อนแนะนา

รายวิชา วิธีการใหค้ ะแนนและวิธีการเรียนเรื่อง การ รายวชิ า วธิ ีการใหค้ ะแนนและวธิ ีการเรียนเร่ือง การต่อ

ต่อความตา้ นทานและการต่อเซลลไ์ ฟฟ้า ความตา้ นทานและการตอ่ เซลลไ์ ฟฟ้า

5. ผูส้ อนแจ้งจุดประสงค์การเรียนของหน่วย 5. ผูเ้ รียนทาความเขา้ ใจเก่ียวกับจุดประสงค์การ

เรียนที่ 2 และขอให้ผูเ้ รียนร่วมกันทากิจกรรมการ เรียนของหน่วยเรียนที่ 2 และการให้ความร่วมมือใน

เรียนการสอน การทากิจกรรม

6. ผสู้ อนให้ผเู้ รียนแสดงความรู้เก่ียวกบั การต่อ 6. ผูเ้ รียนแสดงความรู้ความรู้เก่ียวกับ การต่อ

ความตา้ นทานและการต่อเซลลไ์ ฟฟ้า ความตา้ นทานและการตอ่ เซลลไ์ ฟฟ้า

2. ข้นั ให้ความรู้ (75 นาที) 2. ข้นั ให้ความรู้ (75 นาที )
4. ผู้ ส อ น แ น ะ น า วิ ธี ก า ร ใ ช้ บ ท เ รี ย น 1. ผสู้ อนแนะนาวธิ ีการใชบ้ ทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วย

คอมพิวเตอร์ช่วยสอน หน่วยท่ี 2 การต่อความ สอน หน่วยท่ี 2 การต่อความต้านทานและการต่อ
ตา้ นทานและการต่อเซลลไ์ ฟฟ้า และใหผ้ ูเ้ รียนศึกษา เซลล์ไฟฟ้า และให้ผูเ้ รียนศึกษาเอกสารประกอบการ
เอกสารประกอบการสอน การต่อความตา้ นทานและ สอน การต่อความต้านทานและการต่อเซลล์ไฟฟ้า
การต่อเซลลไ์ ฟฟ้า หน่วยท่ี 2 หนา้ ท่ี 25-45 หน่วยท่ี 2 หนา้ ท่ี 25-45

5. ผูส้ อนและผูเ้ รียนร่วมกันอธิบายเกี่ยวกับ 2.ผูส้ อนและผูเ้ รียนร่วมกันอธิบายเก่ียวกบั การต่อ
การต่อความตา้ นทานและการต่อเซลล์ไฟฟ้า ตามที่ ความตา้ นทานและการต่อเซลลไ์ ฟฟ้า ตามท่ีไดศ้ ึกษาจาก
ไดศ้ ึกษาจากบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน

6. อาจารยผ์ สู้ อนคอยใหค้ าแนะนาแก่ผเู้ รียน 3.อาจารยผ์ สู้ อนคอยใหค้ าแนะนาแก่ผเู้ รียน

กจิ กรรมการเรียนการสอนหรือการเรียนรู้

ข้ันตอนการสอนหรือกจิ กรรมของครู ข้นั ตอนการเรียนรู้หรือกจิ กรรมของนกั เรียน

3. ข้นั ประยกุ ต์ใช้ ( 105 นาที ) 3. ข้นั ประยกุ ต์ใช้ ( 105 นาที )

3. ผูส้ อนให้ผูเ้ รียนทาแบบทดสอบหน่วยการ 3. ผเู้ รียนทาแบบทดสอบหน่วยการเรียนรู้ หน่วย

เรียนรู้ หน่วยที่ 2 หน้าที่ 40 เร่ือง การต่อความ ที่ 2 หนา้ ที่ 40 เรื่อง การต่อความตา้ นทานและการต่อ

ตา้ นทานและการตอ่ เซลลไ์ ฟฟ้า เซลลไ์ ฟฟ้า

4. ผสู้ อนใหผ้ เู้ รียนสืบคน้ ขอ้ มลู จากอินเทอร์เน็ต 4. ผเู้ รียนสืบคน้ ขอ้ มลู จากอินเทอร์เนต็

4. ข้นั สรุปและประเมินผล ( 30 นาที ) 4. ข้ันสรุปและประเมินผล ( 30 นาที )

4. ผสู้ อนและผเู้ รียนร่วมกนั สรุปเน้ือหาท่ีไดเ้ รียน 5. ผูส้ อนและผเู้ รียนร่วมกนั สรุปเน้ือหาท่ีไดเ้ รียน

ใหม้ ีความเขา้ ใจในทิศทางเดียวกนั เพือ่ ใหม้ ีความเขา้ ใจในทิศทางเดียวกนั

5. ผู้สอนให้ผู้เรี ยนทาแบบทดสอบหน่วยการ 6. ผเู้ รียนทาแบบทดสอบหน่วยการเรียนรู้ หน่วย

เรียนรู้ หน่วยท่ี 2 หนา้ 40-44 ท่ี 2 หนา้ 40-44

6. ผู้สอนให้ผูเ้ รียนทาใบงาน หน่วยที่ 2 หน้า 7. ผเู้ รียนทาใบงานเรียนรู้ ท่ี 2 หนา้ 45-53

45-53 8. ผู้เรี ยนศึกษาเพ่ิมเติมนอกห้องเรี ยน ด้วย

บทเรียนคอมพวิ เตอร์ช่วยสอนท่ีจดั ทาข้นึ

(บรรลจุ ุดประสงค์เชิงพฤติกรรมข้อที่ 1-2) (บรรลจุ ดุ ประสงค์เชิงพฤตกิ รรมข้อท่ี 1-2)

(รวม 480 นาที หรือ 8 คาบเรียน)

งานท่มี อบหมายหรือกจิ กรรมการวดั ผลและประเมนิ ผล

ก่อนเรียน

1. จดั เตรียมเอกสาร ส่ือการเรียนการสอนหน่วยท่ี 2
2. ทาความเขา้ ใจเกี่ยวกบั จุดประสงคก์ ารเรียนของหน่วยที่ 2 และใหค้ วามร่วมมือในการทากิจกรรมใน

หน่วยท่ี 2

ขณะเรียน

4. ปฏิบตั ิตามกิจกรรมหน่วยที่ 2
5. ปฏิบตั ิตามใบงาน
6. ร่วมกนั สรุป “การต่อความตา้ นทานและการต่อเซลลไ์ ฟฟ้า”

หลงั เรียน

3. ทาแบบประเมินการเรียนรู้
4. ทาแบบฝึกหดั หน่วยที่ 2

ผลงาน/ชิ้นงาน/ความสาเร็จของผู้เรียน

กิจกรรมที่ 2 เรื่อง การต่อความตา้ นทานและการต่อเซลลไ์ ฟฟ้า

สมรรถนะทพ่ี งึ ประสงค์

ผเู้ รียนสร้างความเขา้ ใจเกี่ยวกบั การตอ่ ความตา้ นทานและการต่อเซลลไ์ ฟฟ้า
5. วิเคราะห์และตีความหมาย
6. ต้งั คาถาม
7. อภิปรายแสดงความคิดเห็นระดมสมอง
8. การประยกุ ตค์ วามรู้สู่งานอาชีพ