เฉลยใบงานที่ 2.1.1 เรื่องการออกแบบขั้นตอนการทำงานโดยใช้ภาษาธรรมชาติ

แผนการจดั การเรยี นรู้ วิชาวิทยาการคานวณ หน่วยการเรียนรูท้ ี่ 2 การออกแบบขัน้ ตอนการทางานและการเขยี น โปรแกรมด้วยภาษา Python ระดบั ชั้น จดั ทาโดย นายอิทธฤิ ทธ์ิ มหิสยา ตาแหน่ง ครู โรงเรียนประชาสามคั คี สานกั งานเขตพื้นท่กี ารศึกษาประถมศกึ ษาสรุ ินทร์ เขต 3 สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน กระทรวงศึกษาธิการ

คำนำ แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชาวิทยาการคำนวณ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ใช้เป็นแนวทางวางแผน จัดการเรียนรู้แก่ผู้เรียน โดยจัดทำเป็นหน่วยการเรียนรู้อิงมาตรฐานและออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ตาม แนวคิดการออกแบบย้อนกลับ (Backward Design) ตลอดจนเน้นกิจกรรมแบบ Active Learning อันจะช่วย ให้ผู้ปกครองและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการประเมินคุณภาพการศึกษา สามารถมั่นใจในผลการเรียนรู้และ คณุ ภาพของผู้เรยี นท่มี หี ลักฐานตรวจสอบผลการเรยี นรู้อยา่ งเป็นระบบ ผู้จัดทำขอขอบคุณท่านผู้มีส่วนเกี่ยวข้องที่ได้ให้คำปรึกษา แนะนำ แก้ไข ตรวจทาน และข้อเสนอแนะที่เป็นประโยชน์อย่างยิ่งในการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชาวิทยาการคำนวณ ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ่ี 2 ให้สมบูรณ์ยิง่ ขน้ึ อิทธิฤทธ์ิ มหิสยา

สารบญั 8 หน้า หนว่ ยการเรยี นรูท้ ่ี 2 การออกแบบขั้นตอนการทำงานและการเขียนโปรแกรมดว้ ยภาษาPython 38 56 แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 1 การออกแบบขน้ั ตอนการทำงานของโปรแกรม 70 แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 2 ตัวแปรภาษาไพทอน 78 แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 3 รหัสควบคมุ รหสั รูปแบบข้อมลู และตวั ดำเนินการในภาษาไพทอน 89 แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 4 การเขียนโปรแกรมดว้ ยภาษาไพทอน(Python) 97 แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ 5 การใชง้ านฟังก์ชันในโปรแกรมไพทอน 111 แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 6 โครงสรา้ งการทำงานแบบเรยี งลำดับ 123 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7 โครงสรา้ งการทำงานแบบเลอื กทำ

หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 2 การออกแบบขั้นตอนการทำงาน และการเขียนโปรแกรมดว้ ยภาษา Python หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 2 การออกแบบขั้นตอนการทำงานและการเขียนโปรแกรมดว้ ยภาษาPython เวลา 18 ชว่ั โมง 1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตวั ชี้วัด ว 4.2 เข้าใจและใชแ้ นวคิดเชงิ คำนวณในการแก้ปัญหาท่ีพบในชวี ิตจรงิ อยา่ งเปน็ ข้นั ตอนและเปน็ ระบบ ใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอื่ สารในการเรยี นรู้ การทำงาน และการแก้ปัญหาได้อย่างมี ประสิทธภิ าพ รู้เท่าทัน และมีจรยิ ธรรม ว 4.2 ม.2/2 ออกแบบและเขียนโปรแกรมท่ใี ชต้ รรกะและฟังกช์ นั ในการแกป้ ญั หา 2. สาระการเรยี นรู้ 2.1 สาระการเรียนรู้แกนกลาง 1) ตัวดำเนนิ การบูลีน 2) ฟงั กช์ ัน 3) การออกแบบและเขียนโปรแกรมที่มีการใช้ตรรกะและฟังก์ชัน 4) การออกแบบอัลกอริทึม เพ่ือแก้ปัญหาอาจใชแ้ นวคิดเชงิ คำนวณในการออกแบบ เพอ่ื ให้การแก้ปัญหามีประสทิ ธภิ าพ 5) การแกป้ ัญหาอย่างเป็นขน้ั ตอนจะช่วยให้แกป้ ญั หาไดอ้ ย่างมีประสทิ ธิภาพ 6) ซอฟตแ์ วรท์ ่ใี ช้ในการเขยี นโปรแกรม เช่น Scratch, python, java, c 7) ตัวอยา่ งโปรแกรม เช่น โปรแกรมตัดเกรด หาคำตอบทั้งหมดของอสมการหลายตวั แปร 2.2 สาระการเรยี นรู้ทอ้ งถน่ิ (พิจารณาตามหลกั สตู รสถานศึกษา) 3. สาระสำคญั /ความคดิ รวบยอด การออกแบบขั้นตอนการทำงานของโปรแกรมหรอื การออกแบบอัลกอริทึม เป็นการออกแบบลำดบั ข้นั ตอนการทำงานของโปรแกรม ซึ่งสามารถแบ่งได้เปน็ 3 ลักษณะ คอื การใชภ้ าษาธรรมชาติ การใชร้ หสั จำลอง และการใชผ้ งั งาน โดยภาษาไพทอนเป็นภาษาโปรแกรมคอมพวิ เตอร์ชนิดหน่งึ ทเ่ี หมาะสำหรับผู้ เริ่มต้นเขียนโปรแกรมไปจนถึงการประยุกต์ใชง้ านในระดับสงู เนือ่ งจากเปน็ ภาษาทีม่ ีโครงสรา้ งและไวยากรณ์ คอ่ นข้างง่าย ไม่ซับซ้อน ทำให้ง่ายต่อความเข้าใจ มีการนำตัวแปร และฟงั กช์ นั มาช่วยในการทำงาน ตลอดจน มโี ครงสร้างการทำงานแบบเรียงลำดับ และโครงสร้างการทำงานแบบเลือกทำ เพ่ือใหส้ ามารถคำนวณ ประมวลผลไดต้ ามท่ีตอ้ งการ เทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) 38

หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 2 การออกแบบข้ันตอนการทำงาน และการเขยี นโปรแกรมดว้ ยภาษา Python 4. สมรรถนะสำคัญของผู้เรียนและคณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ สมรรถนะสำคญั ของผเู้ รยี น คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ 1. ความสามารถในการสอ่ื สาร 1. มวี ินยั รบั ผดิ ชอบ - ทักษะการส่ือสาร - ทักษะการแลกเปลี่ยนข้อมลู รว่ มกัน 2. ใฝ่เรยี นรู้ 2. ความสามารถในการคดิ 3. มงุ่ มนั่ ในการทำงาน - ทกั ษะการคิดวิเคราะห์ 3. ความสามารถในการแกป้ ัญหา - ทกั ษะการสงั เกต 4. ความสามารถในการใช้ทักษะชวี ิต - ทกั ษะการทำงานร่วมกนั 5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี - ทกั ษะการสบื ค้นข้อมูล 5. ชน้ิ งาน/ภาระงาน (รวบยอด) - ชนิ้ งาน/ภาระงาน (รวบยอด) เรื่อง การออกแบบขนั้ ตอนการทำงาน และการเขียนโปรแกรมด้วยภาษา Python 6. การวัดและการประเมนิ ผล วิธีวดั เครื่องมือ เกณฑ์การประเมิน รายการวดั 6.1 การประเมนิ ช้ินงาน/ภาระงาน - ตรวจชิน้ งาน/ภาระ - แบบประเมินชิน้ งาน ระดบั คุณภาพ 2 (รวบยอด) เร่ือง การออกแบบ งาน (รวบยอด) /ภาระงาน (รวบยอด) ผา่ นเกณฑ์ ขน้ั ตอนการทำงาน และการ เขยี นโปรแกรมดว้ ยภาษา Python 6.2 การประเมนิ ก่อนเรียน - ตรวจแบบทดสอบ - แบบทดสอบก่อนเรยี น ประเมินตามสภาพจรงิ - แบบทดสอบก่อนเรียน กอ่ นเรยี น หน่วยการเรียนรู้ท่ี 2 เร่ือง การออกแบบข้นั ตอน การทำงาน และการเขียน โปรแกรมด้วยภาษา Python เทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) 39

หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 2 การออกแบบขั้นตอนการทำงาน และการเขยี นโปรแกรมด้วยภาษา Python รายการวดั วิธวี ดั เคร่ืองมือ เกณฑ์การประเมนิ 6.3 ประเมนิ ระหวา่ งการจดั กิจกรรม รอ้ ยละ 60 ผา่ นเกณฑ์ การเรยี นรู้ รอ้ ยละ 60 ผ่านเกณฑ์ 1) การออกแบบข้ันตอนการ - ตรวจใบงานที่ 2.1.1 - ใบงานท่ี 2.1.1 ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์ ทำงานโดยใชภ้ าษาธรรมชาติ รอ้ ยละ 60 ผ่านเกณฑ์ ร้อยละ 60 ผา่ นเกณฑ์ 2) การออกแบบข้นั ตอนการ - ตรวจใบงานที่ 2.1.2 - ใบงานท่ี 2.1.2 รอ้ ยละ 60 ผ่านเกณฑ์ ทำงานโดยใช้รหัสจำลอง ร้อยละ 60 ผา่ นเกณฑ์ 3) การออกแบบขนั้ ตอนการ - ตรวจใบงานท่ี 2.1.3 - ใบงานที่ 2.1.3 รอ้ ยละ 60 ผ่านเกณฑ์ ทำงานโดยใช้ผงั งาน รอ้ ยละ 60 ผา่ นเกณฑ์ 4) ตัวแปรในภาษาไพทอน - ตรวจใบงานท่ี 2.2.1 - ใบงานที่ 2.2.1 ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์ 5) รหสั ควบคุมและรหัสรปู แบบ - ตรวจใบงานที่ 2.3.1 - ใบงานท่ี 2.3.1 ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์ ขอ้ มลู ร้อยละ 60 ผา่ นเกณฑ์ 6) ตวั ดำเนินการ - ตรวจใบงานที่ 2.3.2 - ใบงานท่ี 2.3.2 ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์ 7) การเขยี นโปรแกรมด้วยภาษา - ตรวจใบงานท่ี 2.4.1 - ใบงานท่ี 2.4.1 ระดบั คุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์ ไพทอน ระดับคุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์ 8) การใช้งานฟงั ก์ชนั คำสั่ง - ตรวจใบงานท่ี 2.5.1 - ใบงานท่ี 2.5.1 ระดบั คุณภาพ 2 ผา่ นเกณฑ์ แสดงผลทางหนา้ จอ 9) การใช้รหสั รูปแบบข้อมลู - ตรวจใบงานที่ 2.5.2 - ใบงานที่ 2.5.2 ร่วมกับฟงั ก์ชนั print( ) 10) การใชง้ านฟงั กช์ นั คำสง่ั - ตรวจใบงานที่ 2.5.3 - ใบงานท่ี 2.5.3 รบั ขอ้ มลู ทางแปน้ พมิ พ์ 11) การเขียนโปรแกรมการ - ตรวจใบงานท่ี 2.6.1 - ใบงานท่ี 2.6.1 ทำงานแบบเรียงลำดบั 12) การทำงานแบบ Single - ตรวจใบงานท่ี 2.7.1 - ใบงานท่ี 2.7.1 Selection 13) การทำงานแบบ Double - ตรวจใบงานที่ 2.7.2 - ใบงานท่ี 2.7.2 Selection 14) การนำเสนอผลงาน - ประเมินการนำเสนอ - แบบประเมิน ผลงาน การนำเสนอผลงาน 15) พฤตกิ รรมการทำงาน - สงั เกตพฤติกรรม - แบบสงั เกตพฤตกิ รรม รายบุคคล การทำงานรายบุคคล การทำงานรายบุคคล 16) พฤติกรรมการทำงานกลุ่ม - สงั เกตพฤติกรรม - แบบสังเกตพฤตกิ รรม การทำงานกลุ่ม การทำงานกลุ่ม เทคโนโลยี (วทิ ยาการคำนวณ) 40

หนว่ ยการเรยี นร้ทู ่ี 2 การออกแบบขนั้ ตอนการทำงาน และการเขยี นโปรแกรมด้วยภาษา Python รายการวัด วิธวี ัด เครื่องมือ เกณฑ์การประเมิน 17) คุณลักษณะอนั พึงประสงค์ - สงั เกตความมีวนิ ัย - แบบประเมิน ระดบั คุณภาพ 2 ความรับผดิ ชอบ คุณลกั ษณะ ผา่ นเกณฑ์ 6.4 การประเมินหลังเรียน ใฝเ่ รยี นรู้ และมงุ่ มนั่ อนั พึงประสงค์ - แบบทดสอบหลังเรยี น ในการทำงาน ประเมินตามสภาพจรงิ หนว่ ยการเรียนรูท้ ี่ 2 - แบบทดสอบหลังเรียน เร่ือง การออกแบบขน้ั ตอน - ตรวจแบบทดสอบ การทำงาน และการเขียน หลงั เรียน โปรแกรมดว้ ยภาษา Python 7. กจิ กรรมการเรียนรู้ นักเรยี นทำแบบทดสอบก่อนเรยี นหนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 2 เร่อื ง การออกแบบขน้ั ตอนการทำงาน และ การเขยี นโปรแกรมดว้ ยภาษา Python เทคโนโลยี (วทิ ยาการคำนวณ) 41

หนว่ ยการเรยี นรูท้ ่ี 2 การออกแบบขนั้ ตอนการทำงาน และการเขียนโปรแกรมดว้ ยภาษา Python เรอื่ งที่ 1 : การออกแบบขน้ั ตอนการทำงานของโปรแกรม 2 ชวั่ โมง วิธกี ารสอนโดยเน้นรูปแบบการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ 5Es (5Es Instructional Model) ขัน้ นำ ขัน้ ที่ 1 กระตุน้ ความสนใจ (Engagement) ครถู ามคำถามประจำหวั ข้อวา่ “นกั เรียนคิดวา่ การออกแบบข้นั ตอนการทำงานของโปรแกรม มีความสำคญั อยา่ งไรต่อการเขียนโปรแกรมคอมพวิ เตอร์” ขนั้ สอน ขน้ั ที่ 2 สำรวจค้นหา (Exploration) 1. นกั เรยี นแบ่งกลุ่ม กลมุ่ ละ 3-4 คน เพ่ือคน้ หาลักษณะของการออกแบบข้ันตอนการทำงานของ โปรแกรมจากอินเทอรเ์ น็ตท่ีเคร่ืองคอมพวิ เตอรข์ องตนเอง จากนนั้ ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มมา นำเสนอเก่ียวกบั ลักษณะของการออกแบบขน้ั ตอนการทำงานของโปรแกรม 2. นกั เรียนศกึ ษาและสงั เกตการออกแบบข้นั ตอนการทำงานของโปรแกรมท้ัง 3 ลักษณะ ขน้ั ที่ 3 อธิบายความรู้ (Explanation) 3. ครยู กตัวอยา่ งการออกแบบขั้นตอนการทำงานโดยใช้ภาษาธรรมชาติ การออกแบบข้ันตอน การทำงานโดยใช้รหสั จำลอง และการออกแบบข้ันตอนการทำงานโดยใช้ผังงานตามหนังสือ เรียน เพือ่ อธบิ ายลำดบั ขนั้ ตอนการทำงานของโปรแกรมตามลำดับการทำงานก่อน-หลัง จากตัวอยา่ งต้องการคำนวณหาพ้นื ท่ขี องรูปสี่เหลีย่ มผืนผ้า ขั้นท่ี 4 ขยายความเข้าใจ (Elaboration) 4. นกั เรยี นทำใบงานที่ 2.1.1 เร่ือง การออกแบบขัน้ ตอนการทำงานโดยใช้ภาษาธรรมชาติ ใบงานท่ี 2.1.2 เรอ่ื ง การออกแบบขั้นตอนการทำงานโดยใช้รหัสจำลอง และใบงานท่ี 2.1.3 เรื่อง การออกแบบขน้ั ตอนการทำงานโดยใช้ผังงาน ขัน้ สรุป ขน้ั ที่ 5 ตรวจสอบผล (Evaluation) 1. ครูประเมนิ ผลนักเรียนจากการสงั เกตการตอบคำถาม การนำเสนอหนา้ ช้ันเรยี น การทำกิจกรรมกล่มุ ดว้ ยความต้งั ใจ และการทำใบงาน 2. ครตู รวจสอบความถูกต้องของผลการทำใบงานท่ี 2.1.1, ใบงานท่ี 2.1.2 และ ใบงานท่ี 2.1.3 3. นกั เรียนและครูรว่ มกันสรุปเก่ียวกับการออกแบบข้ันตอนการทำงานของโปรแกรม เทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) 42

หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 2 การออกแบบขน้ั ตอนการทำงาน และการเขียนโปรแกรมดว้ ยภาษา Python เรือ่ งท่ี 2: ตัวแปรภาษาไพทอน 2 ช่วั โมง วธิ กี ารสอนโดยเน้นรูปแบบการสอนแบบสบื เสาะหาความรู้ 5Es (5Es Instructional Model) ข้นั นำ ขั้นที่ 1 กระตุน้ ความสนใจ (Engagement) 1. ครูทบทวนความรู้เดิมจากชัว่ โมงทแี่ ลว้ เกย่ี วกับการออกแบบขั้นตอนการทำงานของโปรแกรม 2. ครถู ามกระตุ้นความสนใจของนักเรยี นว่า“จากการออกแบบขั้นตอนการทำงานของโปรแกรม ที่ไดเ้ รียนมาแล้ว นักเรียนคิดว่าสามารถนำไปเขียนในโปรแกรมอะไรบา้ งท่นี ักเรยี นรจู้ ัก” 3. ครูวาดรูปคอมพิวเตอร์ลงบนกระดานหนา้ ช้นั เรยี น และถามคำถามประจำหวั ข้อกบั นักเรียนวา่ “ถา้ เปรียบคอมพิวเตอรเ์ ป็นร่างกายมนุษย์ จะเปรียบหนว่ ยประมวลผลกลางกับอวยั วะใด” 4. ครอู ธบิ ายเพื่อเช่อื มโยงเข้าสู่บทเรยี น ข้นั สอน ขน้ั ท่ี 2 สำรวจค้นหา (Exploration) 1. ครูถามนักเรยี นวา่ “ถา้ นักเรียนตอ้ งการเขยี นโปรแกรมเพื่อคำนวณหาคา่ ขอ้ มลู ตา่ ง ๆ นั้น นกั เรียนรู้หรือไมว่ ่าข้อมลู ทเ่ี รานำมาใช้ในการคำนวณ จะถูกเก็บไว้ที่สว่ นใดในโปรแกรม” 2. นกั เรียนศกึ ษาข้อมูลเกี่ยวกับตวั แปรในภาษาไพทอนและการต้งั ชอื่ ตัวแปรในภาษาไพทอน จากหนงั สอื เรยี นหรือสบื ค้นจากอินเทอร์เนต็ ท่ีเครื่องคอมพิวเตอร์ของตนเอง ขั้นท่ี 3 อธิบายความรู้ (Explanation) 3. ครอู ธิบายถงึ การต้ังช่ือตวั แปรท่ีดใี นโปรแกรมภาษาไพทอน ซง่ึ มี 2 รูปแบบ วิธกี ารสร้าง และกำหนดค่าให้กบั ตัวแปร และชนดิ ขอ้ มูลของโปรแกรม พรอ้ มอธบิ ายเพมิ่ เติมเกีย่ วกบั ชนดิ ขอ้ มูลของตวั แปร ขน้ั ที่ 4 ขยายความเข้าใจ (Elaboration) 4. ครเู ปดิ โอกาสใหน้ ักเรียนซักถามข้อสงสัย และครใู ห้ความรูเ้ พิม่ เติมในสว่ นน้ัน 5. ครูใหน้ กั เรยี นทำใบงานที่ 2.2.1 เรือ่ ง ตัวแปรในภาษาไพทอน ข้ันสรปุ ขน้ั ที่ 5 ตรวจสอบผล (Evaluation) 1. ครปู ระเมินผลนักเรยี นจากการสงั เกตการตอบคำถาม และการทำใบงาน 2. ครูตรวจสอบความถูกต้องของผลการทำใบงานที่ 2.2.1 3. นกั เรยี นและครูร่วมกนั สรปุ เก่ียวกับการใชง้ านตัวแปรในโปรแกรมภาษาไพทอน เทคโนโลยี (วทิ ยาการคำนวณ) 43

หน่วยการเรยี นรู้ที่ 2 การออกแบบขน้ั ตอนการทำงาน และการเขยี นโปรแกรมดว้ ยภาษา Python เรื่องที่ 3: การเขียนโปรแกรมดว้ ยภาษาไพทอน (Python) 2 ชัว่ โมง วธิ กี ารสอนโดยเน้นรปู แบบการสอนแบบสบื เสาะหาความรู้ 5Es (5Es Instructional Model) ขนั้ นำ ข้นั ที่ 1 กระตุ้นความสนใจ (Engagement) 1. ครทู บทวนความรูเ้ ดิมจากชว่ั โมงท่ีแล้วเกี่ยวกับตัวแปรภาษาไพทอนและกฎการตัง้ ชอ่ื ตัวแปร 2. จากนั้นครถู ามกระตุ้นความสนใจของนักเรยี นว่า“นักเรียนรหู้ รือไมว่ ่าถ้าเราต้องการควบคุมการ แสดงผลตัวอักษรทางจอภาพในลักษณะต่าง ๆ จะต้องทำอยา่ งไร” ขัน้ สอน ขั้นที่ 2 สำรวจคน้ หา (Exploration) 1. นกั เรียนแบง่ กลุ่ม กลุ่มละ 3-4 คน เพ่ือสบื คน้ และศกึ ษาเรียนรูเ้ กย่ี วกบั การใช้รหสั ควบคุม การแสดงผลตวั อักษรทางจอภาพของโปรแกรมภาษาไพทอนจากหนงั สือเรยี นหรือสืบค้น จากอนิ เทอร์เนต็ ท่เี ครื่องคอมพวิ เตอรข์ องตนเอง 2. นักเรยี นแตล่ ะคนออกมานำเสนอเกีย่ วกับรหัสควบคมุ การแสดงผลตัวอักษรหน้าช้นั เรยี น คนละ 1 รหสั ควบคุมพรอ้ มบอกความหมายอยา่ งละเอยี ด 3. นักเรยี นศกึ ษารหสั รูปแบบข้อมูลท่ใี ช้แทนชนดิ ของข้อมูลจากหนงั สอื เรียน ข้นั ท่ี 3 อธิบายความรู้ (Explanation) 4. ครเู น้นยำ้ กับนักเรยี นเพื่อใหน้ ักเรียนเขา้ ใจเพิม่ มากขนึ้ เกยี่ วกับการใช้งานรหสั ควบคมุ และ รหสั รปู แบบทใ่ี ชค้ วบคุมการแสดงผลตัวอกั ษรออกทางจอภาพในลกั ษณะตา่ ง ๆ 5. นกั เรียนทำใบงานที่ 2.3.1 เรื่อง รหสั ควบคุมและรหสั รปู แบบข้อมูล 6. ครถู ามกระตุ้นความสนใจของนักเรียนว่า“นักเรียนรจู้ ักตัวดำเนนิ การทใ่ี ช้ในการเขยี นโปรแกรม ภาษาไพทอนหรือไม่” 7. นักเรยี นแตล่ ะกลุ่มอภปิ รายรว่ มกนั เกี่ยวกบั ตัวดำเนนิ การท่ีใชส้ ำหรับคำนวณหรอื ประมวลผล ตา่ ง ๆ ในภาษาไพทอน 8. ครูอธิบายเพื่อขยายความเข้าใจและเน้นย้ำกับนักเรียนถงึ ตัวดำเนินการในโปรแกรมภาษา ไพทอนพรอ้ มยกตวั อย่างประกอบ และลำดับการประมวลผลของตวั ดำเนินการ 9. นักเรยี นแต่ละคนสงั เกตลำดับการประมวลผลของตวั ดำเนนิ การจากหนงั สือเรยี น ขน้ั ท่ี 4 ขยายความเขา้ ใจ (Elaboration) 10. ครูเปดิ โอกาสใหน้ ักเรียนซักถามข้อสงสัย และครใู ห้ความรเู้ พม่ิ เติมในสว่ นนน้ั เทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) 44

หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 2 การออกแบบขั้นตอนการทำงาน และการเขยี นโปรแกรมดว้ ยภาษา Python 11. นักเรียนทำใบงานที่ 2.3.2 เรื่อง ตวั ดำเนินการ โดยใหน้ ักเรียนหาผลลัพธจ์ ากการคำนวณ ขั้นสรุป ข้นั ท่ี 5 ตรวจสอบผล (Evaluation) 1. ครปู ระเมนิ ผลนักเรยี นจากการสังเกตการตอบคำถาม ความสนใจในการเรียน การทำกจิ กรรม กลมุ่ ดว้ ยความตั้งใจ และการทำใบงาน 2. ครตู รวจสอบความถูกต้องของผลลพั ธ์การทำใบงานที่ 2.3.1 และ ใบงานท่ี 2.3.2 ของนกั เรียน 3. นกั เรยี นและครรู ว่ มกันสรปุ เกี่ยวกบั รหสั ควบคุม รหัสรปู แบบขอ้ มลู และตวั ดำเนินการ เทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) 45

หน่วยการเรยี นรูท้ ี่ 2 การออกแบบขน้ั ตอนการทำงาน และการเขียนโปรแกรมดว้ ยภาษา Python เรอ่ื งที่ 4: การเขยี นโปรแกรมดว้ ยภาษาไพทอน (Python) 2 ชวั่ โมง วิธีการสอนโดยเน้นรูปแบบการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ 5Es (5Es Instructional Model) ขัน้ นำ ข้ันที่ 1 กระตุ้นความสนใจ (Engagement) 1. ครูทบทวนความรู้เดิมของนักเรียนเกี่ยวกับรหัสควบคุม รหัสรูปแบบข้อมูล และตัวดำเนินการ ในภาษาไพทอน 2. ครูสอบถามความรเู้ ดิมของนักเรียนวา่ “นกั เรยี นเคยเขียนโปรแกรมหรือไม่ และเคยใชโ้ ปรแกรม ใดในการเขยี น นอกจากโปรแกรมที่นักเรยี นตอบมา นกั เรยี นยังรู้จกั โปรแกรมอ่นื อีกหรือไม่” 3. ครถู ามคำถามกระต้นุ ความสนใจของนักเรียนวา่ “นักเรียนเคยใช้โปรแกรมภาษาไพทอนมาชว่ ย ในการเขียนโปรแกรมหรือไม่” 4. ครอู ธิบายเพื่อเช่ือมโยงเขา้ สูบ่ ทเรียน ขั้นสอน ขั้นท่ี 2 สำรวจคน้ หา (Exploration) 1. นักเรียนแต่ละคนสบื ค้นโปรแกรมท่ีใช้ในการเขยี นภาษาไพทอน วิธกี ารดาวน์โหลดและติดตัง้ ทเี่ คร่อื งคอมพิวเตอร์ของตนเอง จากน้นั ครูสุม่ นักเรียน 2-3 คน ออกมาอธิบายหนา้ ช้นั เรียน 2. เปิดโอกาสใหน้ ักเรียนแต่ละคนดาวนโ์ หลดและติดตั้งโปรแกรม Mu จากเว็บไซต์ http://codewith.mu/en/download ทเ่ี ครื่องคอมพวิ เตอรข์ องตนเอง โดยครคู อยให้ ความช่วยเหลอื อย่างใกลช้ ิด 3. นกั เรียนสงั เกตและศึกษาส่วนประกอบของโปรแกรม Mu จากหนงั สอื เรียน ขั้นที่ 3 อธิบายความรู้ (Explanation) 4. ครูอธิบายเพื่อเชอื่ มโยงความรู้สู่ชีวิตประจำวัน (Com Sci in Real Life) เกย่ี วกบั การประยุกต์ใช้งานภาษาไพทอน 6. นักเรยี นศึกษาการใชง้ านโปรแกรม Mu เบอื้ งต้นจากหนงั สือเรียน พร้อมให้นักเรียนลงมือเขยี น โปรแกรมตามตัวอยา่ งชดุ คำสั่งเพือ่ คำนวณหาผลลพั ธ์ จากนน้ั ใหท้ ำการบันทึกงานท่เี ขยี นไว้ ลงในโฟลเดอร์งานของตนเอง 7. ครอู ธบิ ายความรู้เสริมจากเนื้อหาเพ่ือขยายความรู้ของผเู้ รียน (Com Sci Focus) เรอ่ื ง การบนั ทกึ ชุดคำสง่ั ภาษาไพทอนว่า 8. นกั เรียนตรวจสอบคำสงั่ การทำงานของโปรแกรม Mu เพื่อดูผลลพั ธท์ ่ีไดจ้ ากการเขยี นโปรแกรม ที่จะแสดงในช่อง Running เทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) 46

หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 2 การออกแบบข้นั ตอนการทำงาน และการเขียนโปรแกรมด้วยภาษา Python 9. ครูซกั ถามนักเรียนถงึ ผลลพั ธ์ทีแ่ สดงในช่อง Running วา่ “ผลลัพธ์ของนักเรยี นคนใดไม่ตรงตาม หนังสอื เรยี นและเปิดโอกาสใหน้ ักเรีนภายในหอ้ งเรยี นรว่ มกันหาแนวทางการแก้ไข” 10. ครอู ธิบายวธิ กี ารเรยี กไฟลเ์ ดิมขึ้นมาแกไ้ ขหรือใชง้ านต่อว่า“ในกรณีท่ีตอ้ งการเรยี กไฟล์งาน ท่ีเคยบันทึก ให้นักเรียนคลกิ Load เพ่ือเรยี กใช้งานไฟล์ เลือกไฟล์ทตี่ ้องการ จากนน้ั กด Open กจ็ ะแสดงไฟล์เดิมขนึ้ มาให้แก้ไขหรือใช้งานต่อ” ขนั้ ที่ 4 ขยายความเข้าใจ (Elaboration) 11. ครเู ปิดโอกาสให้นักเรยี นซักถามขอ้ สงสยั และครใู ห้ความรู้เพม่ิ เตมิ ในสว่ นน้นั 12. นกั เรยี นทำใบงานที่ 2.4.1 เร่ือง การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาไพทอน โดยใหน้ กั เรยี น ตอบคำถามจากสถานการณ์ท่ีกำหนดไว้ใหถ้ ูกต้อง ข้นั สรุป ข้ันที่ 5 ตรวจสอบผล (Evaluation) 1. ครปู ระเมนิ ผลนักเรยี นจากการสังเกตการตอบคำถาม ความสนใจในการเรียน และ การทำใบงาน 2. ครตู รวจสอบความถูกตอ้ งของผลการทำใบงานท่ี 2.4.1 ของนักเรียน 3. นกั เรียนและครูร่วมกนั สรุปเก่ยี วกับการเขียนโปรแกรมดว้ ยภาษาไพทอนรว่ มกนั เทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) 47

หนว่ ยการเรยี นร้ทู ี่ 2 การออกแบบข้ันตอนการทำงาน และการเขยี นโปรแกรมดว้ ยภาษา Python เรอ่ื งที่ 5 : การใช้งานฟงั ก์ชนั ในโปรแกรมไพทอน 4 ชวั่ โมง วธิ กี ารสอนโดยเน้นรปู แบบการสอนแบบสบื เสาะหาความรู้ 5Es (5Es Instructional Model) ขัน้ นำ ขั้นที่ 1 กระตุ้นความสนใจ (Engagement) 1. ครูทบทวนความรเู้ ดิมจากชว่ั โมงที่แล้วเกย่ี วกบั การเขยี นโปรแกรมดว้ ยภาษาไพทอน (Python) 2. ครถู ามกระตนุ้ ความสนใจของนกั เรียนว่า“นกั เรียนรจู้ ักฟงั ก์ชันคำสงั่ ทีใ่ ช้ในการเขียนโปรแกรม คำสัง่ ใดบา้ ง และฟังกช์ นั คำส่ังเหลา่ นน้ั ทำหน้าท่ีอะไร” ขนั้ สอน ขนั้ ที่ 2 สำรวจค้นหา (Exploration) 1. นักเรียนแตล่ ะคนสืบคน้ เก่ยี วกับฟงั กท์ ่ใี ชใ้ นโปรแกรมไพทอนตา่ ง ๆ ในอนิ เทอร์เนต็ และครูคอยบนั ทึกผลการสบื ค้นของนักเรยี นลงบนกระดานหน้าชนั้ เรียน 2. นักเรียนศกึ ษาเรอ่ื งฟังกช์ ันคำสง่ั แสดงผลทางหนา้ จอของโปรแกรมภาษาไพทอนทมี่ รี ูปแบบ การใชง้ าน 2 รูปแบบจากหนังสอื เรยี น 3. ครสู ุ่มนักเรยี น 2-3 คน ออกมาอภปิ รายหนา้ ชนั้ เรียนเกย่ี วกับเรอื่ งทด่ี ำเนนิ การศกึ ษา ข้นั ที่ 3 อธิบายความรู้ (Explanation) 4. ครอู ธิบายเพ่ิมเตมิ เพ่ือให้นกั เรียนเข้าใจเพิ่มขึ้นเก่ยี วกับฟงั ก์ชนั print( ) 5. เปดิ โอกาสให้นักเรยี นสงั เกตตัวอยา่ งการใช้ print(ข้อมูล) ทั้ง 3 รูปแบบและทำความเขา้ ใจ กบั คำอธิบายการทำงานจากหนงั สอื เรยี น 6. ครอู ธิบายความรูเ้ สรมิ จากเน้ือหาเพื่อขยายความรขู้ องผ้เู รียน (Com Sci Focus) เรอื่ ง การใสเ่ ครื่องหมาย “…..” ในโปรแกรมภาษาไพทอน จากนั้นใหน้ ักเรยี นลงมือปฏิบตั ิ ตามตัวอย่างในหนังสือเรยี นเพื่อทำความเขา้ ใจเก่ียวกับเนอ้ื หามากยิง่ ข้ึน 7. ครเู ปดิ โอกาสให้นักเรยี นซักถามข้อสงสัยและครูให้ความรเู้ พ่มิ เติมในส่วนนน้ั 8. นกั เรียนทำใบงานที่ 2.5.1 เร่ือง การใชง้ านฟงั ก์ชนั คำสั่งแสดงผลทางหน้าจอ 9. ครสู ่มุ นักเรยี น 4-5 คน ออกมาอภปิ รายการทำใบงานจากช่ัวโมงท่ีผา่ นมาหนา้ ช้ันเรียน 10. ครอู ธิบายเพ่ิมเตมิ เพ่ือให้นกั เรียนเข้าใจเพ่ิมมากขน้ึ เกี่ยวกบั ฟงั กช์ ัน print( ) ในรูปแบบที่ 2 คอื print(“ข้อมูลที่มีการแทรกรหสั รปู แบบข้อมลู ” ตำแหน่งรหสั รูปแบบข้อมลู ) ตามตัวอยา่ ง 11. ครอู ธบิ ายการทำงานของตวั อยา่ งการใช้ print(“ข้อมูลทม่ี ีการแทรกรหัสรปู แบบขอ้ มูล” ตำแหน่งรหสั รปู แบบข้อมูล) ในหัวขอ้ ต่าง ๆ ในหนังสือเรยี น จากนัน้ ให้นกั เรยี นลงมือปฏิบัติ เทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) 48

หน่วยการเรยี นร้ทู ่ี 2 การออกแบบขนั้ ตอนการทำงาน และการเขียนโปรแกรมดว้ ยภาษา Python 12. ครเู ปิดโอกาสให้นักเรยี นซักถามขอ้ สงสัย และครูให้ความรู้เพม่ิ เติมในสว่ นนั้น 13. นกั เรียนทำใบงานที่ 2.5.2 เรื่อง การใชร้ หสั รูปแบบขอ้ มูลรว่ มกบั ฟังกช์ ัน print ( ) 14. ครสู มุ่ นกั เรยี น 4-5 คน ออกมาอภิปรายการทำใบงานหนา้ ชั้นเรียน 15. ครูอธบิ ายรปู แบบการใชง้ านคำสง่ั input ( ) 16. นกั เรียนสงั เกตและศึกษาการใช้งานฟังก์ชันคำส่ังรับข้อมูลทางแปน้ พิมพ์จากหนังสือเรียน โดยครูอธบิ ายการทำงานของตวั อยา่ งการใชง้ านฟังกช์ ันคำสัง่ รบั ขอ้ มูลทางแป้นพมิ พใ์ นหัวขอ้ การใช้งานฟังก์ชัน input( ) และการใชง้ านฟงั ก์ชัน input( ) รว่ มกับรหัสควบคมุ ขอ้ มลู ขั้นที่ 4 ขยายความเขา้ ใจ (Elaboration) 17. ครเู ปิดโอกาสใหน้ ักเรยี นซักถามขอ้ สงสัย และครูให้ความรเู้ พ่ิมเตมิ ในส่วนนัน้ 18. นกั เรยี นทำใบงานที่ 2.5.3 เรื่อง การใชง้ านฟังก์ชันคำส่ังรบั ขอ้ มูลทางแปน้ พมิ พ์ ข้นั สรุป ขนั้ ที่ 5 ตรวจสอบผล (Evaluation) 1. ครปู ระเมนิ ผลนักเรยี นจากการสังเกตการตอบคำถาม การนำเสนอหนา้ ชัน้ เรียน และ การทำใบงาน 2. ครูตรวจสอบความถูกต้องของผลการทำใบงานที่ 2.5.1 ใบงานที่ 2.5.2 และ ใบงานท่ี 2.5.3 3. นักเรียนและครรู ว่ มกนั สรุปเก่ียวกบั การใช้งานฟังกช์ ันในโปรแกรมไพทอน เทคโนโลยี (วทิ ยาการคำนวณ) 49

หน่วยการเรยี นรู้ที่ 2 การออกแบบขน้ั ตอนการทำงาน และการเขยี นโปรแกรมดว้ ยภาษา Python เร่อื งท่ี 6 : โครงสร้างการทำงานแบบเรยี งลำดบั 2 ชว่ั โมง วธิ กี ารสอนโดยเน้นรูปแบบการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ 5Es (5Es Instructional Model) ขน้ั นำ ขั้นที่ 1 กระตนุ้ ความสนใจ (Engagement) 1. ครูถามคำถามประจำหวั ข้อกับนกั เรียนวา่ “นักเรยี นรู้หรือไมว่ า่ โปรแกรมที่มีโครงสรา้ ง การทำงานแบบเรียงลำดบั ต่างจากโครงสรา้ งการทำงานแบบเลอื กทำอยา่ งไร” 2. ครอู ธบิ ายเพ่ือเชื่อมโยงเขา้ สู่บทเรียน ขั้นสอน ขน้ั ท่ี 2 สำรวจคน้ หา (Exploration) 1. ครูส่มุ ถามนักเรียน 3-4 คนว่า“นักเรียนรหู้ รือไม่ว่าโครงสร้างการทำงานแบบเรยี งลำดับ มีลักษณะการทำงานอยา่ งไร” 2. นักเรยี นสืบค้นข้อมูลและศึกษาเนื้อหาเรอื่ งโครงสรา้ งการทำงานแบบเรียงลำดบั จากหนงั สือ เรยี นหรือจากอนิ เทอรเ์ นต็ ท่เี ครื่องคอมพวิ เตอร์ของตนเอง 3. นักเรียนสังเกตและศึกษาตัวอย่างท่ี 1 เก่ียวกบั การเขียนคำส่ังควบคุมโครงสร้างการทำงาน แบบเรยี งลำดับในหนงั สือเรียน เพอ่ื เขยี นคำสง่ั ให้แสดงผลการทำงานทางจอภาพ จากน้ันให้ นักเรียนลงมือปฏบิ ตั ิตาม 4. นักเรียนสังเกตและศึกษาตวั อย่างท่ี 2 เกี่ยวกบั การเขียนคำส่ังควบคมุ โครงสร้างการทำงาน แบบเรยี งลำดบั ในหนังสือเรียน เพื่อเขยี นคำสั่งคำนวณหาอัตราแลกเปลย่ี นเงินไทยเป็น เงนิ ดอลลาร์ จากนน้ั ใหน้ ักเรียนลงมอื ปฏิบตั ติ าม ขน้ั ที่ 3 อธิบายความรู้ (Explanation) 5. ครอู ธบิ ายการทำงานของโปรแกรมตามหนงั สอื เรียนให้นักเรยี นเข้าใจเพิ่มมากขึ้น และอธิบาย จุดสงั เกตจากการเขียนโปรแกรม เรอ่ื ง การใชเ้ ครอ่ื งหมายเท่ากับ ( = ) และการกำหนด รูปแบบการแสดงผลตัวเลขจำนวนจริงหรอื ตัวเลขทศนยิ ม ขัน้ ท่ี 4 ขยายความเข้าใจ (Elaboration) 6. ครูเปดิ โอกาสใหน้ ักเรยี นซักถามข้อสงสยั และครูให้ความรู้เพิม่ เตมิ ในสว่ นนั้น 7. นักเรียนทำใบงานท่ี 2.6.1 เร่ือง การเขียนโปรแกรมการทำงานแบบเรยี งลำดบั เทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) 50

หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 2 การออกแบบข้ันตอนการทำงาน และการเขยี นโปรแกรมด้วยภาษา Python ขัน้ สรุป ขั้นท่ี 5 ตรวจสอบผล (Evaluation) 1. ครูประเมินผลนกั เรียนจากการสังเกตการตอบคำถาม ความสนใจในการเรยี น และการทำ ใบงานที่ 2.6.1 2. ครูตรวจสอบความถูกต้องของผลการทำใบงานที่ 2.6.1 3. นกั เรียนและครรู ่วมกนั สรุปเกี่ยวกบั โครงสร้างการทำงานแบบเรยี งลำดับวา่ “โครงสร้าง การทำงานแบบเรยี งลำดับ เป็นลักษณะของโปรแกรมท่มี ีการทำงานเป็นลำดบั โดยการ ไลเ่ รียงลำดับกันไปเหมือนเสน้ ตรงจากบนลงลา่ ง ดังนั้น รูปแบบการทำงานของโปรแกรม มักจะเป็นเพียงแค่การกำหนดค่า รบั คา่ คำนวณหรือประมวลผลที่ไมส่ ลบั ซับซ้อนและ แสดงผล” เทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) 51

หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 2 การออกแบบขนั้ ตอนการทำงาน และการเขยี นโปรแกรมดว้ ยภาษา Python เรื่องท่ี 7 : โครงสรา้ งการทำงานแบบเลอื กทำ 4 ช่ัวโมง วิธกี ารสอนโดยเน้นรูปแบบการสอนแบบสบื เสาะหาความรู้ 5Es (5Es Instructional Model) \\ ขั้นนำ ขนั้ ที่ 1 กระตุน้ ความสนใจ (Engagement) 1. ครูทบทวนความรู้เดิมจากชว่ั โมงท่ผี า่ นมาเกยี่ วกบั โครงสร้างการทำงานแบบเรยี งลำดบั 2. ครอู ธบิ ายเพื่อเช่ือมโยงเขา้ สบู่ ทเรียน 3. ครูสุ่มถามนักเรยี น“นักเรยี นรู้หรอื ไม่วา่ การทำงานแบบเลอื กทำมีการทำงานอยา่ งไร” ขั้นสอน ขั้นที่ 2 สำรวจคน้ หา (Exploration) 1. นักเรยี นสืบค้นข้อมลู และศกึ ษาเน้อื หา เร่ือง การทำงานแบบ Single Selection Double Selection และ Multiple Selection จากหนังสอื เรยี น หรือสืบคน้ เพมิ่ เติม จากอินเทอร์เน็ตทเี่ ครื่องคอมพวิ เตอร์ของตนเอง โดยใหน้ ักเรียนสังเกตการเขยี นผังงาน และคำสงั่ ภาษาไพทอน 2. นกั เรียนสงั เกตและศึกษาตวั อย่างการเขยี นคำส่งั ควบคุมโครงสร้างการทำงานแบบ Single Selection Double Selection และ Multiple Selection ในหนังสือเรียนเพื่อตรวจสอบตวั เลขที่ผูใ้ ช้ป้อนทางแป้นพิมพว์ ่าเป็นเลขคู่ จากนนั้ ใหน้ ักเรยี นลงมือปฏิบัติตามโดยออกแบบ ขัน้ ตอนการทำงานของโปรแกรม และเขยี นคำสงั่ ควบคุมการทำงานดว้ ยภาษาไพทอน 3. ครสู ุ่มนกั เรยี นออกมาอธิบายการทำงานของโปรแกรมแต่ละบรรทัดตามที่นักเรยี นเข้าใจ 4. ครเู ปิดโอกาสให้นักเรียนซักถามข้อสงสัย และครูให้ความร้เู พ่ิมเตมิ ในส่วนน้ัน 5. นกั เรยี นทำใบงานท่ี 2.7.1 เรื่อง การทำงานแบบ Single Selection 6. นกั เรยี นทำใบงานที่ 2.7.2 เร่ือง การทำงานแบบ Double Selection ขน้ั ท่ี 3 อธบิ ายความรู้ (Explanation) 7. ครูทบทวนโครงสรา้ งการทำงานของโปรแกรมทั้ง 3 รปู แบบคอื โครงสร้างการทำงานแบบ Single Selection Double Selection และ Multiple Selection 8. เปดิ โอกาสให้นักเรยี นภายในชนั้ เรยี นอภปิ รายร่วมกันเกย่ี วกับโครงสร้างการทำงานของ โปรแกรมและให้นกเั รยี นซักถามขอ้ สงสยั และครใู ห้ความรเู้ พ่มิ เติมในส่วนนัน้ เทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) 52

หน่วยการเรยี นรู้ที่ 2 การออกแบบขน้ั ตอนการทำงาน และการเขียนโปรแกรมด้วยภาษา Python ขั้นที่ 4 ขยายความเขา้ ใจ (Elaboration) 9. นกั เรียนทำกจิ กรรมทส่ี อดคล้องกับเน้ือหา โดยให้ผูเ้ รยี นฝึกปฏิบัตเิ พื่อพัฒนาความรู้และทกั ษะ การเรียนรูใ้ นศตวรรษท่ี 21 จากหนงั สือเรียน ข้นั สรุป ขนั้ ที่ 5 ตรวจสอบผล (Evaluation) 1. ครูประเมินผลนกั เรยี นจากการสงั เกตการตอบคำถาม ความสนใจในการเรียน และ การทำใบงาน 2. ครูตรวจสอบความถูกต้องของผลลัพธ์การทำใบงานที่ 2.7.1 และ ใบงานที่ 2.7.2 3. นักเรียนและครูรว่ มกันสรุปเก่ียวกับโครงสรา้ งการทำงานแบบเลือกทำว่า“โครงสรา้ งแบบเลือก ทำเปน็ ลกั ษณะการทำงานของโปรแกรมทีม่ ีกระบวนการทำงานท่จี ะต้องมีการตัดสินใจ หรอื ต้องมีการพสิ ูจน์ ตรวจสอบผ่านเงอ่ื นไขใด ๆ” 4. ครทู บทวนคำถามประจำหวั ข้อกบั นักเรียนวา่ “นักเรยี นรู้หรือไมว่ า่ โปรแกรมท่ีมีโครงสรา้ งการ ทำงานแบบเรียงลำดบั ตา่ งจากโครงสร้างการทำงานแบบเลือกทำอย่างไร” 5. นกั เรยี นตรวจสอบความรู้ ความเขา้ ใจดว้ ยตนเองจากหนังสือเรียน โดยพจิ ารณาข้อความวา่ ถูก หรือผดิ หากนกั เรยี นพจิ ารณาขอ้ ความไมถ่ ูกตอ้ งใหน้ ักเรียนกลับไปทบทวนเน้อื หาตามหัวขอ้ ท่ี กำหนดให้ 6. ครูมอบหมายให้นกั เรียนทำแบบฝึกหัดประจำหน่วยการเรียนร้ทู ี่ 2 โดยให้บันทกึ ลงในสมุด ประจำตัว และทำช้ินงาน/ภาระงาน (รวบยอด) เรื่อง การออกแบบข้นั ตอนการทำงาน และ การเขยี นโปรแกรมดว้ ยภาษา Python เพื่อตรวจสอบความเข้าใจของนักเรียน และนำมาสง่ ในชัว่ โมงถัดไป 7. นกั เรยี นทำแบบทดสอบหลงั เรียนหนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 2 เรอ่ื ง การออกแบบข้ันตอนการทำงาน และการเขยี นโปรแกรมด้วยภาษา Python เพ่ือวดั ความรู้ที่นักเรยี นได้รบั หลังจากผ่าน กระบวนการเรยี นรู้ เทคโนโลยี (วทิ ยาการคำนวณ) 53

หนว่ ยการเรยี นร้ทู ี่ 2 การออกแบบขน้ั ตอนการทำงาน และการเขยี นโปรแกรมดว้ ยภาษา Python แบบทดสอบกอ่ นเรียน หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 2 คำช้ีแจง : ใหน้ กั เรยี นเลือกคำตอบที่ถูกต้องท่ีสุดเพียงข้อเดียว 1. สญั ลักษณใ์ ดใชใ้ นการรบั ข้อมลู ทางแป้นพิมพ์ 6. ขอ้ ใดเป็นการใชต้ วั แปรที่ไมถ่ ูกต้อง ก. ก. name = “Somsri” . ข. thai_score = 24 ข. ค. 1product = “pen” ง. mySubject = “Computer” ค. ง. 7. คำสัง่ ใดใช้รับข้อมลู ทางแป้นพมิ พ์ 2. สัญลักษณ์ใดใชใ้ นการแสดงผลออกทางจอภาพ ก. print( ) ก. ข. input( ) ค. output( ) ข. ง. compute( ) 8. ขอ้ ใดคือผลลพั ธข์ องการคำนวณต่อไปน้ี ค. ง. (8 + 3) * 2 – 9 / 3 3. รหสั ควบคมุ ตัวใดใชก้ ำหนดให้ขนึ้ บรรทดั ใหม่ ก. 19 ข. 4.33 ก. \\f ข. \\n ค. 22 ง. -11 ค. \\v ง. \\t 9. ขอ้ ใดไม่ใช่รูปแบบโครงสรา้ งการทำงานของ โปรแกรมแบบเลือกทำ 4. รหัสควบคุมตัวใดใชแ้ สดงข้อมูลท่เี ป็นเลข ก. Single Selection จำนวนเต็ม ข. Multiple Selection ก. %f ข. %s ค. Double Selection ค. %c ง. %d ง. Third Selection 10. การทำงานของโปรแกรมแบบเลือกทำรปู แบบ 5. รหสั ควบคมุ ตัวใดใชแ้ สดงข้อมลู ทีเ่ ปน็ ตวั อักษร ใดทม่ี ีการพิสูจน์เงื่อนไขหลายเงอื่ นไข ก. %f ก. Single Selection ข. %s ข. Multiple Selection ค. %c ค. Double Selection ง. %d ง. Third Selection เฉลย 1. ค 2. ก 3. ข 4. ง 5. ข 6. ค 7. ข 8. ก 9. ง 10. ข เทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) 54

หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 2 การออกแบบขนั้ ตอนการทำงาน และการเขยี นโปรแกรมด้วยภาษา Python แบบทดสอบหลังเรียน หนว่ ยกาสรเนรียนร้ทู ี่ 2 คำชแี้ จง : ใหน้ ักเรียนเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว 1. สญั ลกั ษณใ์ ดใชใ้ นการตดั สินใจ 6. ข้อใดเป็นการใช้ตัวแปรท่ีไม่ถูกต้อง ก. ก. name = Laddawan ข. ข. thai_score = 24 ค. total_product = 125 ค. ง. mySubject = “Thai” ง. 7. คำส่งั ใดใช้แสดงผลทางจอภาพ 2. สัญลกั ษณ์ใดใช้ในการประมวลผล ก. output( ) ก. ข. input( ) ค. print( ) ข. ง. compute( ) 8. ขอ้ ใดคือผลลพั ธข์ องการคำนวณต่อไปน้ี ค. ง. (15 - 3) / 4 + 2 * 3 3. รหัสควบคุมตวั ใดใชก้ ำหนดให้ข้ึนหนา้ ใหม่ ก. 6 ข. 18 ก. \\f ข. \\n ค. 15 ง. 9 ค. \\v ง. \\t 9. โครงสรา้ งการทำงานแบบใดท่ีมกี ารพสิ จู น์ เง่ือนไขเพยี ง 1 ครง้ั 4. รหสั ควบคุมตวั ใดใช้แสดงข้อมูลทีเ่ ปน็ ก. Single Selection เลขทศนิยม ข. Multiple Selection ก. %c ข. %s ค. Double Selection ค. %f ง. %d ง. Third Selection 10. โครงสร้างการทำงานแบบใดที่มีการพิสจู น์ 5. รหัสควบคมุ ตัวใดใชแ้ สดงเสียงออกทางลำโพง เงื่อนไขท่ีแบง่ ออกเปน็ 2 ทางเลอื กนนั่ คือ ก. \\b ข. \\a เงอ่ื นไขท่เี ป็นจรงิ และเงื่อนไขท่ีเปน็ เทจ็ ค. \\v ง. \\r ก. Single Selection ข. Multiple Selection ค. Double Selection เฉลย ง. Third Selection 1. ง 2. ข 3. ก 4. ค 5. ข 6. ก 7. ค 8. ง 9. ก 10. ค เทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) 55

หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 2 การออกแบบขนั้ ตอนการทำงาน และการเขียนโปรแกรมด้วยภาษา Python แผนการจดั การเรียนรทู้ ี่ 1 การออกแบบขนั้ ตอนการทำงานของโปรแกรม แผนการจดั การเรียนรทู้ ่ี 1 การออกแบบขั้นตอนการทำงานของโปรแกรม เวลา 2 ชว่ั โมง 1. มาตรฐาน/ตัวชว้ี ดั 1.1 ตัวชวี้ ดั ว 4.2 ม.2/2 ออกแบบและเขียนโปรแกรมทใี่ ช้ตรรกะและฟงั กช์ นั ในการแกป้ ญั หา 2. จุดประสงค์การเรยี นรู้ 1. อธบิ ายความหมายของการออกแบบข้นั ตอนการทำงานแตล่ ะแบบได้ถูกต้อง (K) 2. ออกแบบข้นั ตอนการทำงานโดยใช้ภาษาธรรมชาติไดถ้ ูกต้อง (P) 3. ออกแบบขน้ั ตอนการทำงานโดยใชร้ หัสจำลองได้ถูกตอ้ ง (P) 4. ออกแบบขัน้ ตอนการทำงานโดยใชผ้ ังงานได้ถูกตอ้ ง (P) 5. สนใจใฝเ่ รียนรูใ้ นการศึกษาและนำไปใชใ้ นชีวติ ประจำวันได้ (A) 3. สาระการเรียนรู้ สาระการเรียนรทู้ ้องถนิ่ พจิ ารณาตามหลักสตู รของสถานศกึ ษา สาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง - การออกแบบอัลกอริทมึ เพ่ือแก้ปัญหาอาจใช้ แนวคดิ เชิงคำนวณในการออกแบบ เพื่อให้การ แกป้ ญั หามปี ระสทิ ธภิ าพ 4. สาระสำคญั /ความคดิ รวบยอด การออกแบบขั้นตอนการทำงานของโปรแกรมหรือการออกแบบอัลกอริทึม เป็นการออกแบบลำดับ ข้ันตอนการทำงานของโปรแกรม ซ่ึงสามารถแบ่งได้เป็น 3 ลักษณะ คือ การใช้ภาษาธรรมชาติ การใช้รหัส จำลอง และการใชผ้ ังงาน 5. สมรรถนะสำคญั ของผู้เรียนและคุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน คุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ 1. ความสามารถในการสือ่ สาร 1. มวี ินยั รับผดิ ชอบ - ทักษะการส่ือสาร 2. ใฝเ่ รียนรู้ - ทกั ษะการแลกเปลีย่ นข้อมูล 3. มุ่งมัน่ ในการทำงาน เทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) 56

หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 2 การออกแบบขนั้ ตอนการทำงาน และการเขยี นโปรแกรมด้วยภาษา Python แผนการจดั การเรยี นรทู้ ี่ 1 การออกแบบขนั้ ตอนการทำงานของโปรแกรม สมรรถนะสำคญั ของผเู้ รยี น คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 2. ความสามารถในการคิด - ทักษะการคดิ วเิ คราะห์ 3. ความสามารถในการแกป้ ัญหา - ทักษะการคดิ วเิ คราะห์ 4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต - ทกั ษะการทำงานรว่ มกัน 5. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี - ทกั ษะการสบื คน้ ข้อมูล 6. กิจกรรมการเรียนรู้  วิธกี ารสอนโดยเน้นรปู แบบการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ 5Es (5Es Instructional Model) ชว่ั โมงท่ี 1 ข้นั นำ ข้ันท่ี 1 กระต้นุ ความสนใจ (Engagement) 1. นกั เรียนทำแบบทดสอบกอ่ นเรียนหนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี 2 เรอ่ื ง การออกแบบขนั้ ตอนการทำงาน และการเขียนโปรแกรมดว้ ยภาษา Python เพ่ือวัดความร้เู ดมิ ของนักเรยี นกอ่ นเข้าสกู่ ิจกรรม 2. ครูถามคำถามประจำหัวข้อว่า“นกั เรียนคิดว่าการออกแบบข้ันตอนการทำงานของโปรแกรม มคี วามสำคัญอยา่ งไรต่อการเขียนโปรแกรมคอมพวิ เตอร์” (แนวตอบ : นักเรยี นตอบตามความคิดเห็นของตนเอง โดยคำตอบขึ้นอยู่กบั ดลุ ยพินจิ ของ ครผู ูส้ อน เชน่ ทำให้สามารถเขียนโปรแกรมไดง้ า่ ยขึน้ ลดความผิดพลาดท่ีอาจเกิดขึน้ จากการ เขยี นโปรแกรมคอมพิวเตอร์) ขน้ั สอน ข้นั ที่ 2 สำรวจคน้ หา (Exploration) 1. นกั เรียนแบ่งกลุ่ม กลมุ่ ละ 3-4 คน เพ่อื คน้ หาลกั ษณะของการออกแบบขนั้ ตอนการทำงานของ โปรแกรมจากอนิ เทอร์เนต็ ท่ีเครือ่ งคอมพิวเตอร์ของตนเอง เทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) 57

หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 2 การออกแบบข้ันตอนการทำงาน และการเขยี นโปรแกรมด้วยภาษา Python แผนการจดั การเรียนรทู้ ่ี 1 การออกแบบขนั้ ตอนการทำงานของโปรแกรม 2. จากน้ันครูใหน้ ักเรยี นแต่ละกล่มุ มานำเสนอเก่ยี วกบั ลกั ษณะของการออกแบบขั้นตอน การทำงานของโปรแกรม พร้อมอภปิ รายรว่ มกันในห้องเรยี น 3. นักเรียนศึกษาและสงั เกตการออกแบบขน้ั ตอนการทำงานของโปรแกรมท้งั 3 ลกั ษณะ จากหนังสือเรียนรายวิชาพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) ม.2 หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 2 เร่ือง การออกแบบข้นั ตอนการทำงาน และการเขียนโปรแกรม ด้วยภาษา Python ข้นั ที่ 3 อธบิ ายความรู้ (Explanation) 4. ครูอธิบายเพ่ิมเตมิ เพ่ือใหน้ ักเรียนเขา้ ใจเพิ่มขึน้ ว่า“การออกแบบลำดบั ขน้ั ตอนการทำงาน ของโปรแกรม สามารถแบ่งได้เปน็ 3 ลักษณะ คือ 1) การออกแบบลำดบั ขนั้ ตอนการทำงานโดยใชภ้ าษาธรรมชาติ เป็นการบรรยาย ขน้ั ตอนการทำงานของโปรแกรมโดยใชภ้ าษามนษุ ยท์ ี่เข้าใจงา่ ย เพอ่ื อธิบายลำดับ ขน้ั ตอนการทำงานของโปรแกรมตามลำดบั การทำงานกอ่ นหลงั 2) การออกแบบลำดบั ขน้ั ตอนการทำงานโดยใช้รหสั จำลอง เปน็ รปู แบบภาษาท่ีมี โครงสรา้ งท่ชี ดั เจนและกระชับ เพื่อใช้อธบิ ายขน้ั ตอนการทำงานของโปรแกรม 3) การออกแบบลำดบั ขน้ั ตอนการทำงานโดยใช้ผงั งาน เป็นการใช้แผนภาพ สัญลักษณ์เพื่อแสดงลำดับข้ันตอนการทำงานของโปรแกรม” 5. ครยู กตัวอยา่ งการออกแบบขั้นตอนการทำงานโดยใช้ภาษาธรรมชาตติ ามหนังสอื เรียน เพื่ออธบิ ายลำดับข้ันตอนการทำงานของโปรแกรมตามลำดับการทำงานกอ่ น-หลงั จากตวั อย่าง ตอ้ งการคำนวณหาพ้ืนที่ของรูปสี่เหล่ียมผืนผ้า มีขนั้ ตอนการทำงานดงั นี้ ขั้นตอนท่ี 1 เร่ิมการทำงาน ขน้ั ตอนที่ 2 นำเขา้ ข้อมูลความกว้างของรูปส่เี หลยี่ ม ขัน้ ตอนที่ 3 นำเข้าขอ้ มูลความยาวของรูปสเี่ หลย่ี ม ขั้นตอนท่ี 4 คำนวณพ้นื ทีร่ ูปสเ่ี หลีย่ ม = ความกวา้ ง x ความยาว ขั้นตอนท่ี 5 แสดงผลพนื้ ที่ของรูปสีเ่ หลี่ยม ข้ันตอนท่ี 6 จบการทำงาน 6. ครูยกตัวอยา่ งการออกแบบข้ันตอนการทำงานโดยใชร้ หัสจำลองตามหนงั สือเรยี นเพื่ออธิบาย ข้นั ตอนการทำงานของโปรแกรมโดยใชภ้ าษาคอมพวิ เตอร์ จากตวั อยา่ งต้องการคำนวณ หาพ้นื ทขี่ องรูปสี่เหลี่ยมผนื ผา้ สามารถเขียนเปน็ ภาษาคอมพวิ เตอร์ได้ดังนี้ เทคโนโลยี (วทิ ยาการคำนวณ) 58

หน่วยการเรยี นรู้ที่ 2 การออกแบบขน้ั ตอนการทำงาน และการเขยี นโปรแกรมดว้ ยภาษา Python แผนการจดั การเรยี นรทู้ ี่ 1 การออกแบบขน้ั ตอนการทำงานของโปรแกรม START INPUT width INPUT length COMPUTE area = width * length OUTPUT area STOP 7. ครูยกตวั อยา่ งการออกแบบขั้นตอนการทำงานโดยใช้ผงั งานตามหนังสือเรียน เพอ่ื แสดงลำดบั ข้นั ตอนการทำงานของโปรแกรมโดยใช้แผนภาพสญั ลกั ษณ์ จากตวั อยา่ งต้องการคำนวณหา พ้นื ทข่ี องรูปส่เี หลีย่ มผนื ผา้ มีขั้นตอนการทำงานดงั นี้ START width length area = width * length area STOP เทคโนโลยี (วทิ ยาการคำนวณ) 59

หน่วยการเรยี นรู้ที่ 2 การออกแบบขนั้ ตอนการทำงาน และการเขยี นโปรแกรมดว้ ยภาษา Python แผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ี 1 การออกแบบขน้ั ตอนการทำงานของโปรแกรม ช่ัวโมงที่ 2 ขัน้ ท่ี 4 ขยายความเข้าใจ (Elaboration) 8. นักเรียนทำใบงานที่ 2.1.1 เร่ือง การออกแบบข้นั ตอนการทำงานโดยใชภ้ าษาธรรมชาติ 9. นักเรยี นทำใบงานท่ี 2.1.2 เรอื่ ง การออกแบบขนั้ ตอนการทำงานโดยใช้รหสั จำลอง 10. นกั เรยี นทำใบงานที่ 2.1.3 เร่ือง การออกแบบข้ันตอนการทำงานโดยใชผ้ ังงาน Note วตั ถุประสงค์ของกจิ กรรมเพื่อให้นกั เรียน - มีทกั ษะการทำงานรว่ มกนั โดยใช้กระบวนการกลุม่ ในการทำงานหรือการทำ กิจกรรมเพ่อื ให้เกิดการสอ่ื สารและแลกเปลย่ี นข้อมลู ร่วมกันภายในกลุ่ม - มีทักษะการสืบค้นข้อมลู โดยใหน้ กั เรยี นแตล่ ะคนสบื คน้ ข้อมลู จากอนิ เทอรเ์ น็ต เพ่อื สบื เสาะหาความรูต้ ามหัวข้อท่ีได้รบั มอบหมาย - มีทักษะการสังเกต โดยใหน้ ักเรียนสงั เกตลกั ษณะการทำงานของโปรแกรม ทัง้ 3 ลักษณะจากหนังสอื เรียนเพ่อื นำไปปรบั ใชใ้ นการเรยี นได้อย่างเหมาะสม - มีทักษะการคดิ วิเคราะห์ โดยให้นักเรียนพจิ ารณาเนื้อหาจากการสบื ค้นหรือศึกษา ขอ้ มูลจากแหล่งข้อมลู ต่าง ๆ เช่น หนังสือเรยี น อินเทอรเ์ น็ต เปน็ ต้น ขนั้ สรุป ขั้นท่ี 5 ตรวจสอบผล (Evaluation) 1. ครปู ระเมนิ ผลนักเรียนจากการสงั เกตการตอบคำถาม การนำเสนอหนา้ ช้นั เรียน การทำกิจกรรมกลมุ่ ด้วยความตงั้ ใจ และการทำใบงาน 2. ครูตรวจสอบความถูกต้องของผลการทำใบงานที่ 2.1.1, ใบงานที่ 2.1.2 และ ใบงานที่ 2.1.3 3. นักเรยี นและครูร่วมกนั สรปุ เกี่ยวกับการออกแบบข้ันตอนการทำงานของโปรแกรมวา่ “การออกแบบขน้ั ตอนการทำงานของโปรแกรมเปน็ การออกแบบลำดับข้นั ตอนก่อนนำไปเขียน โปรแกรมจรงิ ส่งผลใหก้ ารขยี นโปรแกรมทำไดง้ า่ ยขนึ้ และเกิดข้อผดิ พลาดน้อยเนื่องจาก เป็นการเขยี นอยา่ งเป็นลำดับข้นั ตอนการทำงานตามโปรแกรมการทำงานก่อน – หลัง” เทคโนโลยี (วทิ ยาการคำนวณ) 60

หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 2 การออกแบบข้นั ตอนการทำงาน และการเขยี นโปรแกรมดว้ ยภาษา Python แผนการจดั การเรยี นรทู้ ี่ 1 การออกแบบขนั้ ตอนการทำงานของโปรแกรม 7. การวดั และประเมินผล วิธวี ดั เคร่อื งมอื เกณฑก์ ารประเมนิ - ตรวจแบบทดสอบ - แบบทดสอบก่อนเรยี น ประเมนิ ตามสภาพจริง รายการวัด ก่อนเรยี น 7.1 การประเมินก่อนเรยี น - ใบงานท่ี 2.1.1 ร้อยละ 60 ผา่ นเกณฑ์ - ตรวจใบงานที่ 2.1.1 - ใบงานที่ 2.1.2 รอ้ ยละ 60 ผา่ นเกณฑ์ - แบบทดสอบก่อนเรียน - ตรวจใบงานที่ 2.1.2 - ใบงานที่ 2.1.3 รอ้ ยละ 60 ผ่านเกณฑ์ หน่วยการเรยี นรู้ที่ 2 - ตรวจใบงานที่ 2.1.3 - แบบประเมิน ระดบั คุณภาพ 2 เรอื่ ง การออกแบบขนั้ ตอน - ประเมินการนำเสนอ การนำเสนอผลงาน ผ่านเกณฑ์ การทำงาน และการเขยี น ผลงาน - แบบสงั เกตพฤติกรรม ระดบั คุณภาพ 2 โปรแกรมดว้ ยภาษา Python - สงั เกตพฤติกรรม การทำงานรายบุคคล ผา่ นเกณฑ์ 7.2 ประเมนิ ระหวา่ งการจัดกิจกรรม การทำงานรายบุคคล - แบบสงั เกตพฤตกิ รรม ระดบั คุณภาพ 2 การเรยี นรู้ - สงั เกตพฤติกรรม การทำงานกลุ่ม ผ่านเกณฑ์ 1) การออกแบบขัน้ ตอนการ การทำงานกลุ่ม ทำงานโดยใชภ้ าษาธรรมชาติ 2) การออกแบบขน้ั ตอนการ ทำงานโดยใช้รหัสจำลอง 3) การออกแบบข้ันตอนการ ทำงานโดยใช้ผังงาน 4) การนำเสนอผลงาน 5) พฤตกิ รรมการทำงาน รายบุคคล 6) พฤติกรรมการทำงานกลมุ่ 7) คุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ - สังเกตความมวี นิ ยั - แบบประเมิน ระดับคุณภาพ 2 ความรับผิดชอบ คณุ ลกั ษณะ ผา่ นเกณฑ์ ใฝเ่ รยี นรู้ และมุ่งมั่น อนั พงึ ประสงค์ ในการทำงาน เทคโนโลยี (วทิ ยาการคำนวณ) 61

หนว่ ยการเรยี นร้ทู ี่ 2 การออกแบบขนั้ ตอนการทำงาน และการเขียนโปรแกรมดว้ ยภาษา Python แผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ี 1 การออกแบบขน้ั ตอนการทำงานของโปรแกรม 8. สอื่ /แหล่งการเรยี นรู้ 8.1 สื่อการเรียนรู้ 1) หนงั สอื เรยี น รายวชิ าพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) ม.2 หนว่ ยการเรยี นรูท้ ่ี 2 เรื่อง การออกแบบขัน้ ตอนการทำงาน และการเขียนโปรแกรมดว้ ยภาษา Python 2) ใบงานท่ี 2.1.1 เรอ่ื ง การออกแบบขัน้ ตอนการทำงานโดยใช้ภาษาธรรมชาติ 3) ใบงานที่ 2.1.2 เรอ่ื ง การออกแบบข้นั ตอนการทำงานโดยใช้รหัสจำลอง 4) ใบงานที่ 2.1.3 เรอ่ื ง การออกแบบขั้นตอนการทำงานโดยใช้ผงั งาน 5) เครือ่ งคอมพวิ เตอร์ 8.2 แหลง่ การเรยี นรู้ 1) หอ้ งคอมพิวเตอร์ 2) อินเทอร์เน็ต เทคโนโลยี (วทิ ยาการคำนวณ) 62

หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 2 การออกแบบข้นั ตอนการทำงาน และการเขยี นโปรแกรมด้วยภาษา Python แผนการจดั การเรียนรทู้ ่ี 1 การออกแบบขน้ั ตอนการทำงานของโปรแกรม ใบงานที่ 2.1.1 เรือ่ ง การออกแบบขั้นตอนการทำงานโดยใช้ภาษาธรรมชาติ คำช้แี จง : ใหน้ ักเรียนออกแบบข้นั ตอนการทำงานโดยใชภ้ าษาธรรมชาติ เพอ่ื คำนวณหาพนื้ ท่ี ของรปู สามเหล่ยี ม .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. เทคโนโลยี (วทิ ยาการคำนวณ) 63

หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 2 การออกแบบขั้นตอนการทำงาน และการเขียนโปรแกรมดว้ ยภาษา Python แผนการจดั การเรียนรทู้ ี่ 1 การออกแบบขน้ั ตอนการทำงานของโปรแกรม ใบงานที่ 2.1.1 เฉลย เรื่อง การออกแบบขัน้ ตอนการทำงานโดยใช้ภาษาธรรมชาติ คำช้ีแจง : ใหน้ ักเรยี นออกแบบขั้นตอนการทำงานโดยใช้ภาษาธรรมชาติ เพ่ือคำนวณหาพื้นที่ ของรปู สามเหล่ียม .ข..น้ั...ต..อ..น...ท...ี่ .1............เ.ร..ิม่ ..ก...า..ร..ท..ำ..ง..า..น............................................................................................................................. .ข..น้ั...ต..อ..น...ท...ี่ .2............น..ำ..เ.ข...้า..ข..้อ..ม...ูล..ส...ว่ ..น..ฐ..า..น...ข..อ...ง.ร..ูป...ส..า..ม...เ.ห...ล..่ยี..ม...................................................................................... .ข..้ัน...ต..อ..น...ท...ี่ .3............น..ำ..เ.ข...้า..ข..้อ..ม...ูล..ส...ว่ ..น..ส...ูง.ข...อ..ง..ร..ูป...ส..า..ม..เ..ห..ล...ยี่ ..ม........................................................................................ .ข..ั้น...ต..อ..น...ท...่ี .4............ค..ำ..น...ว..ณ...พ...้ืน..ท...รี่..ปู...ส..า..ม..เ..ห..ล...่ีย..ม....=.....5...x....ส..่ว..น...ฐ..า..น....x...ส..ว่..น...ส..งู.............................................................. .ข..้นั...ต..อ..น...ท...่ี .5............แ..ส..ด...ง.ผ...ล..พ...้ืน...ท..ข่ี...อ..ง..ร..ูป..ส...า..ม..เ.ห...ล..ี่ย...ม................................................................................................. .ข..ั้น...ต..อ..น...ท...่ี .6............จ..บ..ก...า..ร..ท..ำ..ง..า..น.............................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. เทคโนโลยี (วทิ ยาการคำนวณ) 64

หนว่ ยการเรยี นรูท้ ่ี 2 การออกแบบขัน้ ตอนการทำงาน และการเขยี นโปรแกรมดว้ ยภาษา Python แผนการจดั การเรียนรทู้ ่ี 1 การออกแบบขน้ั ตอนการทำงานของโปรแกรม ใบงานท่ี 2.1.2 เร่ือง การออกแบบข้นั ตอนการทำงานโดยใช้รหสั จำลอง คำชี้แจง : ให้นักเรยี นออกแบบขัน้ ตอนการทำงานโดยใชร้ หัสจำลอง เพ่อื คำนวณหาพนื้ ท่ขี องรูปสามเหล่ยี ม .............................................................................................................................................................................. ..................................................................................................................................... ......................................... .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. เทคโนโลยี (วทิ ยาการคำนวณ) 65

หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 2 การออกแบบขนั้ ตอนการทำงาน และการเขยี นโปรแกรมด้วยภาษา Python แผนการจดั การเรียนรทู้ ี่ 1 การออกแบบขนั้ ตอนการทำงานของโปรแกรม ใบงานที่ 2.1.2 เฉลย เรอ่ื ง การออกแบบข้ันตอนการทำงานโดยใช้รหัสจำลอง คำช้แี จง : ใหน้ ักเรยี นออกแบบข้ันตอนการทำงานโดยใชร้ หสั จำลอง เพอ่ื คำนวณหาพ้ืนทขี่ องรปู สามเหล่ียม .S..T..A...R...T................................................................................................................................................................... .I.N..P...U...T....b..a...s..e................................................................................................................ ......................................... .I.N..P...U...T....h..e...i.g..h...t..................................................................................................................................................... .C..O...M....P..U...T...E...a...r.e...a...=.....5....x....b..a...s.e....x....h..e...i.g..h...t......................................................................................................... .O...U...T..P...U...T....a..r.e...a..................................................................................................................................................... .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. เทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) 66

หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 2 การออกแบบขน้ั ตอนการทำงาน และการเขียนโปรแกรมด้วยภาษา Python แผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ี 1 การออกแบบขนั้ ตอนการทำงานของโปรแกรม ใบงานที่ 2.1.3 เรือ่ ง การออกแบบขัน้ ตอนการทำงานโดยใช้ผงั งาน คำชี้แจง : ใหน้ กั เรยี นออกแบบขนั้ ตอนการทำงานโดยใช้ผังงาน เพื่อคำนวณหาพืน้ ทข่ี องรปู สามเหล่ยี ม START เทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) 67

หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 2 การออกแบบขน้ั ตอนการทำงาน และการเขียนโปรแกรมดว้ ยภาษา Python แผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ี 1 การออกแบบขน้ั ตอนการทำงานของโปรแกรม ใบงานที่ 2.1.3 เฉลย เรือ่ ง การออกแบบขัน้ ตอนการทำงานโดยใช้ผงั งาน คำชีแ้ จง : ให้นักเรียนออกแบบขัน้ ตอนการทำงานโดยใชผ้ งั งาน เพอื่ คำนวณหาพ้ืนทขี่ องรูปสามเหล่ยี ม START base height area = base * height area STOP เทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) 68

หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 2 การออกแบบข้ันตอนการทำงาน และการเขียนโปรแกรมดว้ ยภาษา Python แผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ี 1 การออกแบบขนั้ ตอนการทำงานของโปรแกรม 9. ขอ้ เสนอแนะ/ความเห็นของผบู้ ริหารสถานศึกษา ลงชอ่ื . (นางสาวสุพรรณิกา สุบรรณาจ) ตำแหนง่ ผอู้ ำนวยการโรงเรยี นประชาสามัคคี วนั ท.่ี ........... เดือน............................ พ.ศ. .............. 10. บนั ทกึ ผลหลงั การสอน  ดา้ นความรู้  ด้านสมรรถนะสำคัญของผู้เรียน  ดา้ นคณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์  ปัญหา/อุปสรรค  แนวทางการแกไ้ ข ลงช่ือ (นายอิทธิฤทธ์ิ มหิสยา) ตำแหนง่ ครู วันท.ี่ ......... เดือน.......................... พ.ศ. ............ เทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) 69

หน่วยการเรยี นรูท้ ี่ 2 การออกแบบขัน้ ตอนการทำงาน และการเขียนโปรแกรมด้วยภาษา Python แผนการจดั การเรยี นรทู้ ี่ 2 ตวั แปรภาษาไพทอน แผนการจดั การเรียนรทู้ ่ี 2 ตัวแปรภาษาไพทอน เวลา 2 ชั่วโมง 1. มาตรฐาน/ตัวชี้วัด 1.1 ตวั ชว้ี ัด ว 4.2 ม.2/2 ออกแบบและเขียนโปรแกรมทีใ่ ช้ตรรกะและฟงั ก์ชันในการแก้ปญั หา 2. จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ 1. อธบิ ายความหมายของตวั แปรไดถ้ ูกต้อง (K) 2. สามารถตง้ั ชื่อตวั แปรตามกฎการตงั้ ชอ่ื ได้ถกู ต้อง (P) 3. เหน็ ถงึ ประโยชน์และความสำคัญของการเขยี นโปรแกรมโดยใชภ้ าษาไพทอน (A) 3. สาระการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้ท้องถน่ิ พจิ ารณาตามหลกั สูตรของสถานศึกษา สาระการเรียนรู้แกนกลาง - ตวั ดำเนนิ การบูลนี 4. สาระสำคญั /ความคิดรวบยอด การเขยี นโปรแกรมในภาษาไพทอนนัน้ จะต้องใชต้ ัวแปรมาชว่ ยในการเกบ็ ข้อมูลต่างๆ โดยตัวแปร เปรยี บเสมือนภาชนะท่ีใชเ้ ก็บขอ้ มูล และข้อมูลเหล่านนั้ สามารถเปลี่ยนแปลงไดต้ ามความตอ้ งการของ ผ้เู ขียน 5. สมรรถนะสำคญั ของผ้เู รยี นและคุณลักษณะอนั พึงประสงค์ สมรรถนะสำคัญของผเู้ รียน คณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ 1. ความสามารถในการคิด 1. มีวินัย รบั ผดิ ชอบ - ทกั ษะการคดิ วเิ คราะห์ 2. ใฝเ่ รียนรู้ 2. ความสามารถในการแก้ปัญหา 3. มุง่ มัน่ ในการทำงาน - ทกั ษะการสงั เกต 3. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี - ทกั ษะการสืบคน้ ขอ้ มลู เทคโนโลยี (วทิ ยาการคำนวณ) 70

หน่วยการเรยี นรูท้ ี่ 2 การออกแบบขนั้ ตอนการทำงาน และการเขียนโปรแกรมด้วยภาษา Python แผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ี 2 ตัวแปรภาษาไพทอน 6. กจิ กรรมการเรียนรู้  วิธีการสอนโดยเนน้ รปู แบบการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ 5Es (5Es Instructional Model) ชัว่ โมงท่ี 1 ขน้ั นำ ข้ันท่ี 1 กระต้นุ ความสนใจ (Engagement) 1. ครทู บทวนความร้เู ดิมจากชวั่ โมงท่ีแลว้ เก่ียวกับการออกแบบขัน้ ตอนการทำงานของโปรแกรม 2. ครถู ามกระตุน้ ความสนใจของนักเรียนว่า“จากการออกแบบขน้ั ตอนการทำงานของโปรแกรม ท่ีไดเ้ รยี นมาแลว้ นกั เรียนคิดว่าสามารถนำไปเขียนในโปรแกรมอะไรบ้างทน่ี ักเรยี นรจู้ ัก” (แนวตอบ : นกั เรยี นตอบตามประสบการณ์ของตนเอง โดยคำตอบขึ้นอยู่กับดุลยพนิ จิ ของ ครูผู้สอน เช่น โปรแกรม Scratch โปรแกรม Python เปน็ ตน้ ) 3. ครูวาดรูปคอมพิวเตอร์ลงบนกระดานหน้าชั้นเรียน และถามคำถามประจำหวั ข้อกับนกั เรียนว่า “ถ้าเปรยี บคอมพวิ เตอร์เป็นรา่ งกายมนุษย์ จะเปรียบหนว่ ยประมวลผลกลางกับอวยั วะใด” (แนวตอบ : นกั เรียนตอบตามประสบการณ์ของตนเอง โดยคำตอบที่ถูกตอ้ ง คอื สมอง) 4. ครอู ธิบายเพื่อเช่ือมโยงเข้าสบู่ ทเรยี นวา่ “การเขียนโปรแกรมคอมพวิ เตอร์ในภาษาไพทอน เหมาะสำหรบั ผูเ้ ริ่มต้นเขียนโปรแกรมไปจนถึงการประยุกต์ใชง้ านในระดับสูง เน่ืองจากเป็น ภาษาท่ีมีโครงสร้างและไวยากรณ์ค่อนขา้ งงา่ ย ไม่ซบั ซ้อน ทำให้งา่ ยตอ่ การทำความเข้าใจ ดังน้ัน จงึ ตอ้ งใชห้ นว่ ยประมวลผลกลางในการคดิ คำนวณค่อนข้างมากกว่าจะเขยี นโปรแกรม ไดส้ ำเรจ็ ” ข้นั สอน ขน้ั ท่ี 2 สำรวจคน้ หา (Exploration) 1. ครูถามนักเรยี นว่า“ถ้านักเรียนต้องการเขียนโปรแกรมเพ่ือคำนวณหาคา่ ข้อมลู ตา่ ง ๆ นั้น นกั เรียนรหู้ รือไม่ว่าข้อมลู ท่เี รานำมาใช้ในการคำนวณ จะถูกเก็บไวท้ ี่สว่ นใดในโปรแกรม” (แนวตอบ : ขอ้ มลู ทน่ี ำมาใช้ในโปรแกรมนน้ั จะถูกเกบ็ ไวใ้ นตัวแปร) 2. นกั เรยี นศึกษาข้อมูลเกย่ี วกับตัวแปรในภาษาไพทอนและการตง้ั ช่ือตวั แปรในภาษาไพทอน จากหนงั สือเรยี นรายวิชาพนื้ ฐานวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) ม.2 หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 2 เร่อื ง การออกแบบข้นั ตอนการทำงาน และการเขยี นโปรแกรมดว้ ย ภาษา Python หรือสืบคน้ จากอินเทอร์เน็ตท่ีเคร่อื งคอมพิวเตอร์ของตนเอง เทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) 71

หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 2 การออกแบบขั้นตอนการทำงาน และการเขียนโปรแกรมด้วยภาษา Python แผนการจดั การเรียนรทู้ ี่ 2 ตวั แปรภาษาไพทอน ข้ันท่ี 3 อธบิ ายความรู้ (Explanation) 3. ครอู ธบิ ายถงึ การตั้งชื่อตัวแปรทีด่ ีในโปรแกรมภาษาไพทอน ซึง่ มี 2 รูปแบบ คือ Camel Case เป็นรูปแบบการตง้ั ช่ือท่มี ีการใช้ภาษาอังกฤษตวั พมิ พ์เล็กและตัวพิมพ์ใหญส่ ลบั กันไป เชน่ calculateGrade , computerScore เป็นตน้ และแบบ Snake Case เปน็ รปู แบบการต้งั ช่อื ตวั แปรที่แยกคำดว้ ยเคร่ืองหมายขีดเส้นใต้ (Underscore) “_” เชน่ calculate_grade , computer_score เป็นตน้ ชว่ั โมงท่ี 2 ข้นั สอน ขั้นที่ 3 อธบิ ายความรู้ (Explanation) 4. ครูอธบิ ายถงึ วิธีการสร้างและกำหนดค่าให้กับตวั แปรว่า“โปรแกรมภาษาไพทอนมกี ารสรา้ ง และกำหนดคา่ ให้กบั ตวั แปรท่ีแตกต่างจากโปรแกรมอืน่ เน่ืองจากภาษาไพทอนเปน็ ภาษา ประเภท Dynamically-typed Language หมายถึง ภาษาที่มีการสร้างตัวแปร โดยไม่ต้องมี การกำหนดชนดิ ของตัวแปร ชนดิ ของตวั แปรจะถูกกำหนดด้วยขอ้ มลู ท่ีเกบ็ ไวใ้ น ตวั แปรโดย อัตโนมัติ ซึ่งจะตา่ งจากโปรแกรมอนื่ ท่จี ะต้องกำหนดชนดิ ของตัวแปรก่อน จากน้ันจงึ จะทำการ กำหนดค่าให้ตวั แปรได้ สำหรับรปู แบบการสรา้ งและกำหนดค่าตัวแปร” ดังนี้ ชอ่ื ตวั แปร = ค่าทเี่ ก็บไวใ้ นตัวแปร หรือนิพจน์ หรอื ตวั แปรอื่นๆ 5. ครูอธบิ ายถงึ ชนดิ ข้อมูลของตัวแปร ซึง่ ประกอบดว้ ยข้อมลู ทีเ่ ป็นตัวเลขจำนวนเต็ม ตัวเลข จำนวนจรงิ และขอ้ มูลทเ่ี ป็นอักขระหรือข้อความทม่ี ักจะถกู ใช้งานบ่อยจากหนังสอื เรียน 6. ครูอธิบายเพิ่มเตมิ เก่ยี วกบั ชนิดข้อมูลของตัวแปรว่า“ชนิดของข้อมูลพ้นื ฐานในภาษาไพทอน แบง่ ออกเป็น 5 ชนดิ ใหญ่ ๆ ได้แก่ number, string, list, tuple และ dictionary ซง่ึ เป็น ตัวแปรทั่ว ๆ ไป แตภ่ าษาไพทอนยอมใหม้ ีตัวแปร list, tuple, dictionary ทผ่ี สมกันได้ เรยี กว่าชนดิ complex” ขนั้ ท่ี 4 ขยายความเขา้ ใจ (Elaboration) 7. ครูเปิดโอกาสให้นักเรียนซักถามข้อสงสัย และครใู ห้ความรูเ้ พมิ่ เติมในสว่ นนัน้ 8. ครใู หน้ ักเรยี นทำใบงานท่ี 2.2.1 เรือ่ ง ตัวแปรในภาษาไพทอน โดยใหน้ กั เรียนตอบคำถาม ทก่ี ำหนดใหโ้ ดยละเอียด เทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) 72

หน่วยการเรยี นรูท้ ่ี 2 การออกแบบขนั้ ตอนการทำงาน และการเขียนโปรแกรมดว้ ยภาษา Python แผนการจดั การเรียนรทู้ ี่ 2 ตวั แปรภาษาไพทอน Note วตั ถุประสงคข์ องกิจกรรมเพ่ือใหน้ กั เรยี น - มที ักษะการสืบคน้ ข้อมลู โดยใหน้ ักเรียนแตล่ ะคนสืบค้นข้อมูลจากอนิ เทอร์เนต็ เพ่อื สบื เสาะหาความรู้ตามหัวข้อท่ีได้รับมอบหมาย - มที ักษะการสังเกต โดยใหน้ ักเรยี นสงั เกตเกยี่ วกับการต้ังชื่อตัวแปรจากหนังสือเรยี น เพอ่ื นำไปปรบั ใชใ้ นการเรยี นไดอ้ ยา่ งเหมาะสม - มีทักษะการคิดวเิ คราะห์ โดยให้นกั เรียนพิจารณาเนื้อหาจากการสืบคน้ หรือศึกษา ขอ้ มลู จากแหลง่ ข้อมูลต่าง ๆ เชน่ หนังสือเรยี น อินเทอรเ์ น็ต เป็นตน้ ขนั้ สรปุ ขัน้ ท่ี 5 ตรวจสอบผล (Evaluation) 1. ครูประเมนิ ผลนักเรยี นจากการสงั เกตการตอบคำถาม และการทำใบงาน 2. ครูตรวจสอบความถูกต้องของผลการทำใบงานท่ี 2.2.1 3. นกั เรยี นและครูรว่ มกันสรปุ เก่ียวกบั การใชง้ านตัวแปรในโปรแกรมภาษาไพทอนวา่ “ตัวแปรคือ สญั ลักษณใ์ นลักษณะคำภาษาอังกฤษท่ีต้งั ข้นึ เพ่ือใช้ในการเกบ็ ข้อมูลตา่ ง ๆ ตามความต้องการ ของผู้เขียน โดยต้ังช่ือตัวแปรตามกฎของโปรแกรมภาษาไพทอน เชน่ ช่ือตวั แปรจะต้อง ประกอบดว้ ยตวั อักษร ตวั เลข หรอื เคร่ืองหมาย “_” ช่ือตัวแปรหา้ มมีอกั ขระพิเศษ เปน็ ต้น” 7. การวัดและประเมนิ ผล รายการวัด วธิ วี ัด เคร่ืองมือ เกณฑก์ ารประเมิน 7.1 ประเมนิ ระหวา่ งการจัดกิจกรรม รอ้ ยละ 60 ผ่านเกณฑ์ ระดบั คุณภาพ 2 การเรียนรู้ ผ่านเกณฑ์ ระดับคุณภาพ 2 1) ตัวแปรในภาษาไพทอน - ตรวจใบงานที่ 2.2.1 - ใบงานที่ 2.2.1 ผ่านเกณฑ์ 2) พฤตกิ รรมการทำงาน - สังเกตพฤติกรรม - แบบสงั เกตพฤติกรรม รายบุคคล การทำงานรายบุคคล การทำงานรายบุคคล 3) คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ - สังเกตความมีวนิ ัย - แบบประเมนิ ความรบั ผดิ ชอบ คณุ ลกั ษณะ ใฝเ่ รียนรู้ และม่งุ ม่ัน อนั พึงประสงค์ ในการทำงาน เทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) 73

หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 2 การออกแบบข้นั ตอนการทำงาน และการเขียนโปรแกรมด้วยภาษา Python แผนการจดั การเรยี นรทู้ ี่ 2 ตวั แปรภาษาไพทอน 8. สอื่ /แหลง่ การเรยี นรู้ 8.1 สอ่ื การเรียนรู้ 1) หนงั สอื เรยี นรายวิชาพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี (วทิ ยาการคำนวณ) ม.2 หนว่ ยการเรยี นร้ทู ี่ 2 เร่ือง การออกแบบขัน้ ตอนการทำงาน และการเขียนโปรแกรมดว้ ยภาษา Python 2) ใบงานท่ี 2.2.1 เร่ือง ตัวแปรในภาษาไพทอน 3) เคร่อื งคอมพวิ เตอร์ 8.2 แหลง่ การเรียนรู้ 1) ห้องคอมพวิ เตอร์ 2) อินเทอร์เนต็ เทคโนโลยี (วทิ ยาการคำนวณ) 74

หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 2 การออกแบบขน้ั ตอนการทำงาน และการเขียนโปรแกรมด้วยภาษา Python แผนการจดั การเรียนรทู้ ี่ 2 ตัวแปรภาษาไพทอน ใบงานที่ 2.2.1 เรื่อง ตัวแปรในภาษาไพทอน คำชีแ้ จง : ใหน้ ักเรียนตอบคำถามท่ีกำหนดให้โดยละเอียด 1. ใหน้ กั เรียนตงั้ ชือ่ ตัวแปรเพอ่ื ใช้เกบ็ ขอ้ มูลตอ่ ไปน้ีลงในช่องตารางด้านขวา ให้ถูกตอ้ งตามกฎการตงั้ ชอ่ื ตวั แปร ข้อมูล การต้ังช่ือตัวแปร ช่ือนักเรียน คะแนนสอบวิชาภาษาไทย ชอื่ โรงเรยี น นำ้ หนกั ของนกั เรยี น เกรดวิชาภาษาองั กฤษ 2. ให้นักเรยี นพจิ ารณาการตงั้ ชอ่ื ตวั แปรตอ่ ไปน้ีวา่ ถกู หรือผดิ จากน้ันใหต้ อบลงในช่องตารางดา้ นขวา การตง้ั ชอื่ ตัวแปร การพจิ ารณา 1name score_computer student name price# surname name+lastname str midterm_thai_score final-social-score mySalary เทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) 75

หน่วยการเรยี นร้ทู ่ี 2 การออกแบบขัน้ ตอนการทำงาน และการเขียนโปรแกรมด้วยภาษา Python แผนการจดั การเรียนรทู้ ี่ 2 ตัวแปรภาษาไพทอน ใบงานท่ี 2.2.1 เฉลย เรอื่ ง ตวั แปรในภาษาไพทอน คำชแี้ จง : ให้นกั เรียนตอบคำถามทีก่ ำหนดใหโ้ ดยละเอยี ด 1. ใหน้ กั เรยี นต้งั ชอื่ ตวั แปรเพอื่ ใช้เกบ็ ขอ้ มูลต่อไปนลี้ งในช่องตารางด้านขวา ให้ถกู ตอ้ งตามกฎการต้งั ชอ่ื ตัวแปร ขอ้ มูล การตง้ั ช่อื ตัวแปร ชอ่ื นกั เรยี น name คะแนนสอบวชิ าภาษาไทย thai_score ช่ือโรงเรยี น schoolName น้ำหนักของนักเรยี น weight เกรดวิชาภาษาองั กฤษ english_grade 2. ใหน้ กั เรยี นพจิ ารณาการตงั้ ชื่อตัวแปรตอ่ ไปนวี้ า่ ถูกหรอื ผดิ จากนัน้ ใหต้ อบลงในชอ่ งตารางด้านขวา การตง้ั ชื่อตัวแปร การพิจารณา 1name ผดิ score_computer ถูก student name ผดิ price# ผดิ surname ถกู name+lastname ผิด str ผดิ midterm_thai_score ถกู final-social-score ผิด mySalary ถกู เทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) 76

หน่วยการเรยี นร้ทู ่ี 2 การออกแบบข้ันตอนการทำงาน และการเขียนโปรแกรมดว้ ยภาษา Python แผนการจดั การเรียนรทู้ ่ี 2 ตัวแปรภาษาไพทอน 9. ขอ้ เสนอแนะ/ความเห็นของผ้บู ริหารสถานศกึ ษา ลงชอื่ . (นางสาวสุพรรณิกา สบุ รรณาจ) ตำแหนง่ ผอู้ ำนวยการโรงเรยี นประชาสามัคคี วันท่.ี ........... เดอื น............................ พ.ศ. .............. 10. บันทกึ ผลหลงั การสอน  ด้านความรู้  ดา้ นสมรรถนะสำคัญของผ้เู รียน  ด้านคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์  ปญั หา/อุปสรรค  แนวทางการแก้ไข ลงชื่อ (นายอทิ ธฤิ ทธิ์ มหสิ ยา) ตำแหน่ง ครู วนั ท.่ี ......... เดือน.......................... พ.ศ. ............ เทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) 77

หน่วยการเรยี นรู้ที่ 2 การออกแบบขั้นตอนการทำงาน และการเขยี นโปรแกรมดว้ ยภาษา Python แผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ี 3 รหัสควบคุม รหสั รูปแบบข้อมลู และตัวดำเนนิ การในภาษาไพทอน แผนการจดั การเรยี นรทู้ ี่ 3 รหสั ควบคมุ รหัสรปู แบบข้อมูล และตัวดำเนินการในภาษาไพทอน เวลา 2 ชวั่ โมง 1. มาตรฐาน/ตัวชี้วัด 1.1 ตวั ชี้วัด ว 4.2 ม.2/2 ออกแบบและเขียนโปรแกรมท่ใี ชต้ รรกะและฟงั ก์ชันในการแก้ปญั หา 2. จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ 1. อธบิ ายความหมายของรหัสควบคมุ และรหัสรูปแบบข้อมลู ไดถ้ ูกตอ้ ง (K) 2. อธบิ ายหนา้ ทกี่ ารทำงานของตัวดำเนินการแต่ละประเภทได้ถูกต้อง (K) 3. เขยี นโปรแกรมโดยใช้รหัสควบคุมและรหัสรูปแบบข้อมูลได้ถกู ต้อง (P) 4. ใช้ตวั ดำเนินการประเภทต่าง ๆ มาชว่ ยในการคำนวณได้ (P) 5. เห็นถงึ ประโยชน์และความสำคัญของการเขียนโปรแกรมโดยใชภ้ าษาไพทอน (A) 3. สาระการเรยี นรู้ สาระการเรยี นร้ทู อ้ งถิน่ พิจารณาตามหลกั สูตรของสถานศกึ ษา สาระการเรยี นรู้แกนกลาง - ตวั ดำเนนิ การบูลนี 4. สาระสำคญั /ความคดิ รวบยอด รหัสควบคมุ คอื รหสั พิเศษทีใ่ ชค้ วบคุมการแสดงผลของตวั อักษรออกมาทางจอภาพ ซ่ึงจะต้องมี เครอ่ื งหมาย \\ (Back-Slash) นำหน้าเสมอ สว่ นการใช้รหัสรูปแบบขอ้ มลู คือ รหัสทใี่ ชแ้ ทนชนิดของขอ้ มลู ซงึ่ ใชร้ ่วมกับคำส่ังในการแสดงผลและคำสง่ั ในการรบั ข้อมลู นอกจากน้ันในการเขียนโปรแกรมภาษาไพทอน ยงั มีการนำตัวดำเนนิ การมาช่วยในการคำนวณหรือประมวลผลต่างๆ ไดแ้ ก่ ตัวดำเนินการทางคณิตศาสตร์ ตวั ดำเนินการสำหรบั กำหนดค่า ตัวดำเนินการเปรยี บเทยี บ และตัวดำเนินการตรรกะ 5. สมรรถนะสำคญั ของผเู้ รียนและคณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ สมรรถนะสำคญั ของผเู้ รียน คณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ 1. ความสามารถในการส่อื สาร 1. มีวินัย รบั ผิดชอบ 2. ใฝ่เรยี นรู้ - ทักษะการส่ือสาร 3. มุ่งมัน่ ในการทำงาน - ทกั ษะการแลกเปล่ียนข้อมลู เทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) 78

หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 2 การออกแบบข้ันตอนการทำงาน และการเขียนโปรแกรมด้วยภาษา Python แผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ี 3 รหัสควบคุม รหสั รูปแบบขอ้ มลู และตัวดำเนนิ การในภาษาไพทอน สมรรถนะสำคัญของผเู้ รยี น คณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ 2. ความสามารถในการคิด - ทักษะการคิดวิเคราะห์ 3. ความสามารถในการแก้ปัญหา - ทกั ษะการสังเกต 4. ความสามารถในการใช้ทักษะชวี ติ - ทกั ษะการทำงานรว่ มกัน 5. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี - ทักษะการสืบค้นขอ้ มลู 6. กจิ กรรมการเรยี นรู้  วิธีการสอนโดยเนน้ รูปแบบการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ 5Es (5Es Instructional Model) ช่ัวโมงที่ 1 ข้นั นำ ข้นั ท่ี 1 กระตนุ้ ความสนใจ (Engagement) 1. ครูทบทวนความรเู้ ดิมจากชวั่ โมงที่แลว้ เก่ียวกบั ตัวแปรภาษาไพทอนและกฎการตั้งชอื่ ตัวแปร 2. จากน้ันครถู ามกระตุน้ ความสนใจของนักเรยี นวา่ “นักเรียนรหู้ รือไมว่ ่าถ้าเราต้องการควบคมุ การ แสดงผลตวั อักษรทางจอภาพในลักษณะต่าง ๆ จะต้องทำอยา่ งไร” (แนวตอบ : นกั เรยี นตอบตามความคิดเหน็ ของตนเอง โดยคำตอบขนึ้ อยู่กับดลุ ยพนิ จิ ของ ครผู ู้สอน เช่น ใชค้ ำสัง่ ต่าง ๆ เพ่อื ควบคุมให้คอมพิวเตอรท์ ำงาน เป็นต้น) ข้นั สอน ขน้ั ที่ 2 สำรวจค้นหา (Exploration) 1. นกั เรยี นแบ่งกลุ่ม กล่มุ ละ 3-4 คน เพอื่ สบื ค้นและศึกษาเรียนรู้เก่ียวกบั การใช้รหสั ควบคุม การแสดงผลตัวอักษรทางจอภาพของโปรแกรมภาษาไพทอนจากหนงั สอื เรียนรายวชิ าพน้ื ฐาน วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) ม.2 หน่วยการเรียนรทู้ ี่ 2 เรอ่ื ง การออกแบบ ขน้ั ตอนการทำงาน และการเขยี นโปรแกรมดว้ ยภาษา Python หรือสืบค้นจากอินเทอรเ์ นต็ ทเ่ี ครือ่ งคอมพวิ เตอร์ของตนเอง เทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) 79

หนว่ ยการเรยี นรูท้ ่ี 2 การออกแบบขัน้ ตอนการทำงาน และการเขียนโปรแกรมด้วยภาษา Python แผนการจดั การเรยี นรทู้ ี่ 3 รหสั ควบคมุ รหสั รูปแบบขอ้ มลู และตัวดำเนนิ การในภาษาไพทอน 2. นักเรยี นแต่ละคนออกมานำเสนอเก่ียวกับรหสั ควบคุมการแสดงผลตวั อักษรหนา้ ช้ันเรยี น คนละ 1 รหสั ควบคุมพรอ้ มบอกความหมายอยา่ งละเอยี ด 3. นกั เรยี นศึกษารหสั รปู แบบข้อมูลทใี่ ชแ้ ทนชนดิ ของข้อมลู จากหนังสือเรยี น ซงึ่ รหสั รปู แบบของ ข้อมูลมีดังนี้ รหัสรูปแบบ ชนดิ ขอ้ มูลของตัวแปร ลกั ษณะการแสดงผลออกทางหนา้ จอ %d เลขจำนวนเต็ม (int) ใชแ้ สดงข้อมูลที่เปน็ เลขจำนวนเตม็ %s ตัวอกั ษร (str) ใช้แสดงข้อมูลที่เปน็ ตัวอักษร หรือชดุ ตัวอักษร %f เลขจำนวนจรงิ (float) ใช้แสดงขอ้ มูลท่ีเปน็ เลขจำนวนจริงและทศนิยม ขนั้ ท่ี 3 อธิบายความรู้ (Explanation) 4. ครเู นน้ ย้ำกับนักเรยี นเพ่ือใหน้ ักเรยี นเขา้ ใจเพิ่มมากขึ้นเกยี่ วกับการใช้งานรหัสควบคุม และ รหัสรูปแบบท่ใี ชค้ วบคุมการแสดงผลตัวอกั ษรออกทางจอภาพในลกั ษณะตา่ ง ๆ วา่ “การใชง้ านรหสั ควบคุมจะต้องมีเครื่องหมาย \\ (Back-Slash) นำหนา้ รหัสควบคมุ น้ันอยูเ่ สมอ และการใช้รหสั รปู แบบขอ้ มลู ทีใ่ ช้รว่ มกบั คำสั่งการแสดงผลและคำส่งั รบั ข้อมลู สว่ นใหญจ่ ะใช้ กำหนดใหแ้ สดงขอ้ มูลทเ่ี ป็นตัวเลขจำนวนเตม็ เลขจำนวนจริง และตวั อกั ษร” 5. นกั เรียนทำใบงานที่ 2.3.1 เรื่อง รหัสควบคุมและรหสั รปู แบบข้อมูล โดยให้นักเรยี นจับคู่ ความหมายกับรหสั ควบคุมและรหัสรปู แบบให้ถูกต้อง ชวั่ โมงท่ี 2 ข้นั สอน ข้นั ที่ 3 อธบิ ายความรู้ (Explanation) 6. ครูทบทวนเน้อื หาการเรยี นเม่ือชั่วโมงทแี่ ล้วเก่ียวกบั รหัสควบคุมและรหัสรูปแบบข้อมูล 7. ครถู ามกระต้นุ ความสนใจของนกั เรียนว่า“นกั เรียนรู้จกั ตวั ดำเนินการที่ใช้ในการเขยี นโปรแกรม ภาษาไพทอนหรือไม่” (แนวตอบ : คำตอบของนกั เรียนขนึ้ อยกู่ ับประสบการณ์ของนกั เรยี นแต่ละคน) 8. นกั เรียนแบง่ กลุ่ม (กลมุ่ เดมิ ) เพอื่ อภปิ รายร่วมกนั เกย่ี วกับตัวดำเนนิ การทใี่ ชส้ ำหรับคำนวณหรือ ประมวลผลตา่ ง ๆ ในภาษาไพทอนซง่ึ ประกอบด้วยตวั ดำเนินการทั้ง 4 ประเภท คอื 1) ตวั ดำเนนิ การทางคณิตศาสตร์ 2) ตวั ดำเนนิ การสำหรับกำหนดคา่ 3) ตัวดำเนนิ การเปรยี บเทียบ เทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) 80

หนว่ ยการเรยี นร้ทู ี่ 2 การออกแบบข้นั ตอนการทำงาน และการเขียนโปรแกรมดว้ ยภาษา Python แผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ี 3 รหัสควบคมุ รหสั รปู แบบข้อมลู และตวั ดำเนนิ การในภาษาไพทอน 4) ตัวดำเนนิ การตรรกะ 9. ครอู ธิบายเพ่ือขยายความเข้าใจและเน้นย้ำกบั นักเรียนถึงตวั ดำเนนิ การในโปรแกรมภาษา ไพทอนพร้อมยกตวั อย่างประกอบวา่ “ในโปรแกรมภาษาไพทอนมตี ัวดำเนินการ 4 ประเภท ไดแ้ ก่ 1) ตัวดำเนินการทางคณิตศาสตร์ ประกอบดว้ ยเครอ่ื งหมาย +, -, *, /, %, ** ตวั อยา่ ง 5 * 2 , 9/3 , 6-4 2) ตัวดำเนนิ การสำหรบั กำหนดค่า ได้แก่ เครื่องหมาย = ตวั อยา่ ง score = 25 3) ตวั ดำเนนิ การเปรียบเทียบ ประกอบด้วยเครือ่ งหมาย ==, !=, >, <, >=, <= และจะมผี ลลพั ธ์เปน็ จรงิ หรอื เท็จ ตัวอยา่ ง 17>9 ผลลัพธ์ จรงิ 4) ตัวดำเนนิ การตรรกะ ประกอบด้วย AND, OR, NOT โดยจะมผี ลลัพธ์เป็น จรงิ หรอื เท็จ ตัวอยา่ ง (10>3) AND (25>17) ผลลพั ธ์ จริง” 10. ครอู ธบิ ายกับนักเรียนถงึ ลำดับการประมวลผลของตัวดำเนินการวา่ “ในนิพจนห์ รอื ในการ คำนวณแต่ละคร้งั อาจจะประกอบดว้ ยตัวดำเนินการหลายประเภท ดงั น้นั นกั เรยี นจะต้องทราบ ถงึ การทำงานของตัวดำเนนิ การแต่ละตัวตามลำดบั ก่อนหลังก่อนดำเนนิ การเขยี นโปรแกรม” 11. นักเรยี นแตล่ ะคนสังเกตลำดับการประมวลผลของตัวดำเนินการจากหนังสือเรียน ข้ันที่ 4 ขยายความเข้าใจ (Elaboration) 12. ครูเปดิ โอกาสใหน้ ักเรียนซักถามข้อสงสยั และครูให้ความรู้เพิ่มเตมิ ในส่วนนนั้ 13. นกั เรียนทำใบงานที่ 2.3.2 เรอ่ื ง ตัวดำเนินการ โดยใหน้ กั เรียนหาผลลพั ธจ์ ากการคำนวณ Note วตั ถปุ ระสงคข์ องกจิ กรรมเพือ่ ให้นกั เรียน - มีทกั ษะการทำงานร่วมกันโดยใชก้ ระบวนการกลมุ่ ในการทำงานหรอื การทำ กจิ กรรมเพอ่ื ใหเ้ กิดการส่อื สารและแลกเปล่ียนข้อมูลรว่ มกันภายในกล่มุ - มีทกั ษะการสืบค้นข้อมลู โดยใหน้ ักเรยี นแต่ละคนสืบคน้ ข้อมูลจากอนิ เทอรเ์ น็ต เพ่ือสืบเสาะหาความรู้ตามหวั ข้อที่ไดร้ บั มอบหมาย - มที ักษะการสงั เกต โดยใหน้ ักเรียนสงั เกตลำดับการประมวลผลของตวั ดำเนนิ การ จากหนงั สือเรียนเพ่ือนำไปปรับใชใ้ นการเรียนได้อย่างเหมาะสม - มที ักษะการคดิ วิเคเรทาคะโหน์โโลดยยี (ใวหิท8น้ย1ากั กเารรียคนำพนวจิ ณาร) ณาเน้ือหาจากการสืบค้นหรือศึกษา ข้อมลู จากแหล่งข้อมลู ตา่ ง ๆ เช่น หนงั สือเรยี น อนิ เทอรเ์ น็ต เป็นตน้

หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 2 การออกแบบขัน้ ตอนการทำงาน และการเขียนโปรแกรมด้วยภาษา Python แผนการจดั การเรียนรทู้ ่ี 3 รหัสควบคุม รหสั รปู แบบขอ้ มลู และตัวดำเนนิ การในภาษาไพทอน ขนั้ สรุป ขั้นท่ี 5 ตรวจสอบผล (Evaluation) 1. ครปู ระเมนิ ผลนักเรียนจากการสงั เกตการตอบคำถาม ความสนใจในการเรยี น การทำกจิ กรรม กลมุ่ ด้วยความต้งั ใจ และการทำใบงาน 2. ครูตรวจสอบความถูกต้องของผลลพั ธ์การทำใบงานท่ี 2.3.1 และ ใบงานที่ 2.3.2 ของนักเรียน 3. นักเรียนและครูรว่ มกนั สรปุ เก่ียวกับรหัสควบคมุ รหสั รปู แบบขอ้ มลู และตวั ดำเนนิ การ 7. การวดั และประเมนิ ผล รายการวดั วธิ วี ดั เครอ่ื งมือ เกณฑ์การประเมิน 7.1 ประเมนิ ระหวา่ งการจัดกิจกรรม ร้อยละ 60 ผา่ นเกณฑ์ การเรียนรู้ ร้อยละ 60 ผา่ นเกณฑ์ ระดับคุณภาพ 2 1) รหสั ควบคมุ และรหัสรปู แบบ - ตรวจใบงานท่ี 2.3.1 - ใบงานที่ 2.3.1 ผา่ นเกณฑ์ ขอ้ มูล ระดบั คุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์ 2) ตวั ดำเนนิ การ - ตรวจใบงานท่ี 2.3.2 - ใบงานที่ 2.3.2 ระดบั คุณภาพ 2 ผา่ นเกณฑ์ 3) การนำเสนอผลงาน - ประเมนิ การนำเสนอ - แบบประเมนิ ผลงาน การนำเสนอผลงาน 4) พฤตกิ รรมการทำงาน - สงั เกตพฤติกรรม - แบบสังเกตพฤตกิ รรม รายบคุ คล การทำงานรายบุคคล การทำงานรายบุคคล 5) พฤติกรรมการทำงานกลมุ่ - สังเกตพฤติกรรม - แบบสังเกตพฤตกิ รรม การทำงานกลุ่ม การทำงานกลุ่ม 6) คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ - สังเกตความมวี ินัย - แบบประเมนิ ระดบั คุณภาพ 2 ความรบั ผิดชอบ คุณลกั ษณะ ผา่ นเกณฑ์ ใฝ่เรียนรู้ และม่งุ มัน่ อันพงึ ประสงค์ ในการทำงาน เทคโนโลยี (วทิ ยาการคำนวณ) 82

หนว่ ยการเรยี นรูท้ ี่ 2 การออกแบบขัน้ ตอนการทำงาน และการเขยี นโปรแกรมดว้ ยภาษา Python แผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ี 3 รหสั ควบคุม รหสั รปู แบบข้อมลู และตวั ดำเนนิ การในภาษาไพทอน 8. สือ่ /แหล่งการเรียนรู้ 8.1 สือ่ การเรยี นรู้ 1) หนังสือเรียนรายวิชาพนื้ ฐานวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี (วทิ ยาการคำนวณ) ม.2 หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 2 เรอ่ื ง การออกแบบขน้ั ตอนการทำงาน และการเขยี นโปรแกรมดว้ ยภาษา Python 2) ใบงานที่ 2.3.1 เร่ือง รหัสควบคมุ และรหัสรปู แบบข้อมลู 3) ใบงานที่ 2.3.2 เรอื่ ง ตวั ดำเนินการ 4) เครือ่ งคอมพวิ เตอร์ 8.2 แหล่งการเรียนรู้ 1) ห้องคอมพิวเตอร์ 2) อนิ เทอร์เนต็ เทคโนโลยี (วทิ ยาการคำนวณ) 83