การบำรุงรักษาวัดเป็นหน้าที่ของใคร

การบำรุงรักษา (Maintenance) หมายถึง :�การพยายามรักษาสภาพของเครื่องมือเครื่องจักรต่างๆ ให้มีสภาพที่พร้อมจะใช้งานอยู่ตลอดเวลา�

การบำรุงรักษานั้นครอบคลุมไปถึงการซ่อมแซมแซม (Repair) เครื่องด้วย

ในงานบริหารการผลิตหรือการบริการ มักจะหลีกเลี่ยงงานเพิ่มเติมที่สำคัญงานหนึ่งคือ การซ่อมและบำรุงรักษา ไปไม่ได้ ถึงแม้ว่างานซ่อมและบำรุงรักษาไม่ใช่งานผลิตโดยตรง แต่งานซ่อมและบำรุงรักษาก็มีบทบาทช่วยให้การผลิตและการบริการขององค์กรนั้นเป็นไปอย่างราบรื่น โดยเฉพาะอย่างยิ่งในโลกปัจจุบันที่การผลิตและการบริการจำเป็นที่จะต้องอาศัยอุปกรณ์และเครื่องจักรมากขึ้น การที่เครื่องจักรเกิดขัดข้องขึ้นมากะทันหันหรือไม่สามารถใช้งานได้ จะทำให้มีผลกระทบโดยตรงต่อประสิทธิภาพการผลิตและการบริการนั้นๆ การที่จะได้มาซึ่งเครื่องจักรที่มีคุณภาพนั้น ต้องประกอบด้วย

(1)   มีการออกแบบที่ดีและตรงตามความประสงคต่อการใช้งาน มีความเที่ยงตรงแม่นยำ รวมทั้ง สามารถทำงานไดเต็มกำลังความสามารถที่ออกแบบไว  

(2)   มีการผลิต (หรือสร้าง) ที่ให้ความแข็งแรงทนทาน สามารถทำงานไดนานที่สุด และ ตลอดเวลา

(3)   มีการติดตั้งในสถานที่ที่เหมาะสมและสะดวกตอการใชงาน

(4)  มีการใชเปนไปตามคุณสมบัติและสมรรถนะของเครื่อง

(5)  มีระบบการบำรุงรักษาที่ดีเนื่องจากเครื่องมือเครื่องใช้เมื่อถูกใช้งานไปนาน ๆ ก็ตองมีการ เสื่อมสภาพ ชำรุด สึกหรอ เสียหายขัดข้อง ดังนั้น เพื่อใหอายุการใชงานเครื่องมือเครื่องใชยืนยาว สามารถใชงานไดตามความตองการของผใช้ ไมชำรุดหรือเสียบ่อยๆ ตองมี �การบำรุงรักษา เครื่องจักรเครื่องมือเครื่องใช� ในระบบการดำเนินงานด้วย จึงจะสามารถควบคุมการทำงานของเครื่องมือได อย่างมีประสิทธิภาพ

 จุดมุ่งหมายของการบำรุงรักษา

1. เพื่อให้เครื่องมือใช้ทำงานได้อย่างมีประสิทธิผล  (Effectiveness)  คือ  สามารใช้เครื่องมือเครื่องใช้ได้เต็มความสามารถและตรงกับวัตถุประสงค์ที่จัดหามามากที่สุด

2. เพื่อให้เครื่องมือเครื่องใช้มีสมรรถนะการทำงานสูง  (Performance) และช่วยให้เครื่องมือเครื่องใช้มีอายุการใช้งานยาวนาน  เพราะเมื่อเครื่องมือได้ใช้งานไประยะเวลาหนึ่งจะเกิดการสึกหรอ  ถ้าหากไม่มีการปรับแต่งหรือซ่อมแซมแล้ว  เครื่องมืออาจเกิดการขัดข้อง  ชำรุดเสียหายหรือ  ทำงานผิดพลาด

3. เพื่อให้เครื่องมือเครื่องใช้มีความเที่ยงตรงน่าเชื่อถือ (Reliability) คือ  การทำให้เครื่องมือเครื่องใช้มีมาตรฐาน   ไม่มีความคลาดเคลื่อนใด ๆ เกิดขึ้น

 4. เพื่อความปลอดภัย (Safety) ซึ่งเป็นจุดมุ่งหมายที่สำคัญ  เครื่องมือเครื่องใช้จะต้องมีความปลอดภัยเพียงพอต่อผู้ใช้งาน  ถ้าเครื่องมือเครื่องใช้ทำงานผิดพลาด  ชำรุดเสียหาย  ไม่สามารถทำงานได้ตามปกติ  อาจจะก่อให้เกิดอุบัติเหตุ  และการบาดเจ็บต่อผู้ใช้งานได้  การบำรุงรักษาที่ดีจะช่วยควบคุมการผิดพลาด

5. เพื่อลดมลภาวะของสิ่งแวดล้อม เพราะเครื่องมือเครื่องใช้ที่ชำรุดเสียหาย  เก่าแก่  ขาดการบำรุงรักษา  จะทำให้เกิดปัญหาด้านสิ่งแวดล้อม  เช่น  มีฝุ่นละอองหรือไอของสารเคมีออกมา  มีเสียงดัง  เป็นต้น  ซึ่งจะเป็นอันตรายต่อผู้ปฏิบัติงานและผู้ที่เกี่ยวข้อง

6. เพื่อประหยัดพลังงาน  เพราะเครื่องมือเครื่องใช้ส่วนมากจะทำงานได้ต้องอาศัยพลังงาน  เช่น  ไฟฟ้า  น้ำมันเชื้อเพลิง  ถ้าหากเครื่องมือเครื่องใช้ได้รับการดูแลให้อยู่ในสภาพดี  เดินราบเรียบไม่มีการรั่วไหลของน้ำมัน  การเผาไหม้สมบูรณ์  ก็จะสิ้นเปลืองพลังงานน้อยลง  ทำให้ประหยัดค่าใช้จ่ายลงได้

 ความเป็นมาของการบำรุงรักษา

ยุคที่

ยุคต่างๆของการบำรุงรักษา

1ก่อนปี พ.ศ. 2493  

ยุคแรกก่อนปี พ.ศ. 2493 เป็นยุคที่นิยมทำการซ่อมแซมหลังจากเครื่องมือเครื่องจักรเกิด เหตุขัดข้องแล้ว (Break down Maintenance) ไมมีการป้องกันการชำรุดเสียหายของเครื่องไว้ก่อนเลย เมื่อเกิดขัดข้องไมสามารถใช้งานได แล้วจึงทำการซ่อมแซม

2ปพ.ศ. 2493 - 2503

ยุคที่สอง  ระหว่างปพ.ศ. 2493 ถึงป พ.ศ. 2503 เปนยุคที่เริ่มนำแนวคิดเกี่ยวกับระบบการบำรุงเชิงป้องกัน (Preventive Maintenance) มาใช้ เพื่อป้องกันมิใหเครื่องมือเครื่องจักรเกิดการชำรุด มีเหตุขัดข้อง และเพื่อยกสมรรถนะของเครื่องมือให้ดีขึ้น ผู้ทำงานมีความมั่นใจในเครื่องมือมากขึ้น

3ปี พ.ศ. 2503 - 2513

ยุคที่สาม ระหว่างปี พ.ศ. 2503 ถึงปี พ.ศ. 2513 เป็นยุคที่นำเอาแนวคิดเกี่ยวกับการ บำรุงรักษาทวีผล (Productive Maintenance) ซึ่งแนวคิดนี้จะใหความสำคัญของการออกแบบเครื่องมือ เครื่องจักรให้มีความน่าเชื่อ (Reliability) มากยิ่งขึ้น โดยคำนึงถึงความยากง่ายของการบำรุงรักษา และเอาหลักการด้านเศรษฐศาสตร์มาใช้ ร่วมด้วย

4หลังปี พ.ศ. 2513

ยุคที่สี่ หลังปี พ.ศ. 2513 เปนตนมาจนถึงปจจุบันนี้ ไดรวมเอาแนวคิดทุกยุคทุกสมัยเข้ามา ประกอบกัน โดยพยายามใหทุกฝ่ายไดมีสวนร่วมในงานการบำรุงรักษา (Total Productive Maintenance) เปนลักษณะของการบำรุงรักษาเชิงปองกัน จะไมเน้นเฉพาะฝ่ายบำรุงรักษาเทานั้น แต่จะเน้นให้ทุกคนมีส่วนร่วม เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของเครื่องจักรเครื่องมือเครื่องจักรใหมากขึ้น

�.    �ӾԾҡ�Үաҷ�� ����/���� �. ¡���Թ�Ծҷ����繷��Թ������������˹ѧ����Ӥѭ����Ѻ���Թ������Ѵ����� �����ҧ �. �������������Է���纡Թ��ʹ���Ե ��Ш���¤�ͺ��ͧ���Թ�Ծҷ�����蹹�� ���Թ�Ծҷ�鵡�繷��ó�ʧ��ͧ�Ѵ����µ���� �. ¡��� ��Ш�����Ѻ��������繵��� �ҧ �. ����§����ͺ��ͧ������ҹҧ �. �����·��Թ�Ծҷ���⨷�� ���⨷�����ͺ��ͧ���Դ�Ծҷ��͵���ҡ��� �Ѵ����¡��ѧ�����Է�Ԥ�ͧ��ͧ����� ����⨷�����������¡���ؤ�����鹵�����Ѻ�Ѵ�����ͧ��Ѿ���Թ�ѹ�繷��ó�ʧ��������Ҫ�ѭ�ѵԤ��ʧ�� �.�. ���� �ҵ�� ��

การบํารุงรักษาวัดมีอะไรบ้าง

๑) ไม่ทำลายทรัพย์สมบัติของวัด เช่น ไม่ขีดเขียนกำแพงฝาผนัง หรือข้างฝา ๒) ไม่ลักขโมยทรัพย์สมบัติของวัด ๓) ป้องกันมิให้ผู้อื่นทำลายหรือลักขโมยทรัพย์สมบัติของวัด ๔) ช่วยบูรณปฏิสังขรณ์ถาวรวัตถุที่ชำรุดทรุดโทรมให้มั่นคงแข็งแรง โดยช่วยกันบริจาคทรัพย์ซ่อมแซมหรือชักชวนให้ผู้อื่นช่วยกันบำรุงรักษาวัด

เพราะเหตุใดเราจึงร่วมกันบำรุงรักษาศาสนสถาน

ศาสนสถานเป็นศูนย์กลางของสังคมและชุมชน ดังนั้นการบำเพ็ญประโยชน์และบำรุงรักษาศาสนสถานจึงเป็นสิ่งสำคัญเพื่อเป็นการสืบทอดและบำรุงรักษาศาสนาให้สามารถตั้งมั่นอยู่ได้ในสังคม ซึ่งสามารถทำได้โดยการ ร่วมกันสร้างบรรยากาศที่ดี ร่วมกิจกรรมและปกป้องดูแลรักษาศาสนสถาน ในโอกาสต่างๆ

ข้อใดจัดเป็นการบำเพ็ญประโยชน์ให้แก่วัด

พุทธศาสนิกชนที่ดีมีหน้าที่บำเพ็ญประโยชน์แก่วัด ดังนี้ 1. ทอดผ้าป่า ทอดกฐิน บริจาคทรัพย์ เพื่อหาทุนทรัพย์ไปช่วยสร้างอุโบสถ วิหาร หรือศาสนสถานอื่น ๆ ตามความจำเป็นและความต้องการของวัด 2. ให้ทุนการศึกษาแก่พระภิกษุสามเณร หรือจัดหาสื่อ วัสดุ อุปกรณ์ที่ทันสมัยเกี่ยวกับการศึกษา

การบำเพ็ญประโยชน์หมายถึงอะไร

คำว่า “บำเพ็ญประโยชน์” หมายความว่า “ผู้ที่ฝึกฝนตนเองให้พร้อมที่จะนำและช่วยเหลือผู้อื่นเสมอ” มาจากภาษาอังกฤษว่า “GUIDE” แปลว่าผู้นำทาง หมายถึงผู้ที่ฝึกตนเองให้พร้อมที่จะช่วยเหลือคนเดินทาง โดยการฝึกทักษะต่างๆ ทั้งร่างกาย สติปัญญา อารมณ์และสังคม