หลักธรรมใดเป็นหลักธรรมที่

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

พระธรรม[1] หมายถึงธรรมะซึ่งพระพุทธเจ้าทรงค้นพบและนำออกเผยแผ่ หรือคำสอนของพระพุทธเจ้า เกี่ยวกับความจริงตามธรรมชาติของทุกข์และวิธีการดับทุกข์ ธรรมะของพระพุทธเจ้านั้นแต่เริ่มสืบทอดกันด้วยวิธีท่องจำแบบปากต่อปาก เรียกว่า "มุขปาฐะ" สมัยต่อมาจึงได้มีการบันทึกไว้เป็นลายลักษณ์อักษร คัมภีร์ที่บันทึกพระธรรมของพระพุทธเจ้านั้น เรียกว่า พระไตรปิฎก และยังมีคัมภีร์อื่น ๆ ที่แต่งภายหลังเพื่อขยายความอีก ได้แก่ อรรถกถา ฎีกา อนุฎีกา ตามลำดับ

ธรรมที่พระพุทธเจ้าทรงค้นพบนั้น เป็นสิ่งที่มีอยู่แต่เดิมแล้ว ไม่ได้เกิดขึ้นพร้อมพระพุทธองค์ แต่ทรงเป็นผู้ค้นพบแล้วนำมาประกาศ อาจพอกล่าวได้ว่าการเรียนรู้พระธรรม ก็คือการเรียนรู้ธรรมดาโลก และเรียนรู้สิ่งที่เป็นปกติที่มีบ่อเกิดที่มาว่ามาอย่างไร เป็นไปได้อย่างไร

ความหมาย[แก้]

พระธรรม (บาลี: धम्मDhamma;สันสกฤต: धर्म Dharma) ซึ่งมีรากศัพท์มาจากคำว่า "ธา" ที่หมายถึง ยก, พยุง, สนับสนุน, เกื้อหนุน

ธรรมคุณ[แก้]

ใน วัตถูปมสูตร และ มหานามสูตร พระพุทธเจ้าตรัสถึงคุณลักษณะ 6 อย่างของพระธรรม ได้แก่

  1. สฺวากฺขาโต (Svakkhato) พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสดีแล้ว
  2. สนฺทิฏฺฐิโก (Sanditthiko) ผู้ปฏิบัติจะพึงเห็นชัดด้วยตนเอง
  3. อกาลิโก (Akāliko) ไม่ประกอบด้วยกาล
  4. เอหิปสฺสิโก (Ehipassiko) ควรเรียกให้มาดู
  5. โอปนยิโก (Opānayiko) ควรน้อมเข้ามา
  6. ปจฺจตฺตํ เวทิตพฺโพ วิญญูหิ (Paccattam veditabbo viññūhi) วิญญูชนพึงรู้เฉพาะตน

การปฏิบัติพระธรรมจะนำมาซึ่ง ความสงบ และ ความสุข แก่ตนผู้ปฏิบัติ ดังนั้นจึงเป็นความรับผิดชอบของตนเองในการปฏิบัติพระธรรม

การศึกษาพระธรรมในปัจจุบัน[แก้]

ปัจจุบัน การศึกษาพุทธธรรมหรือพระพุทธศาสนาในประเทศพุทธเถรวาทและมหายาน นิยมจัดการเรียนการสอนแบบมหาวิทยาลัย โดยอาจจัดควบคู่ไปกับการเรียนการสอนตามแบบที่สืบทอดกันมาแต่โบราณในประเทศนั้น ๆ เช่น ในประเทศไทย นอกจากจะมีมหาวิทยาลัยสงฆ์แล้ว ยังคงมีการเรียนการสอนพระปริยัติธรรมแผนกธรรม และบาลีอยู่ เป็นต้น

การศึกษาพุทธศาสนาในระดับนานาชาติในปัจจุบัน เป็นที่สนใจของตะวันตกอย่างกว้างขวาง หลังจากมีการจัดตั้งสมาคมบาลีปกรณ์ และองค์กรพุทธต่าง ๆ ขึ้นมามากมายหลายแห่ง ทั้งในอังกฤษ ฝรั่งเศส สหรัฐ เยอรมนี ฯลฯ เพื่อค้นคว้าหลักพุทธธรรมที่ปรากฏในคัมภีร์ต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็น ภาษาบาลี ภาษาสันสกฤต ภาษาทิเบต และ ภาษาจีน ทำให้การศึกษาพุทธธรรมขยายตัวอย่างรวดเร็ว ปัจจุบันนี้ มหาวิทยาลัยทั้งยุโรปและอเมริกาหลายแห่งอาจเปิดสอนพุทธธรรมทั้งระดับปริญญาตรี ปริญญาโท ปริญญาเอก

อ้างอิง[แก้]

  1. ราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล อังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน, พิมพ์ครั้งที่ 3, ราชบัณฑิตยสถาน, 2552, หน้า 454

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]

  • ศูนย์พุทธศาสน์ศึกษา มหาวิทยาลัยออกซฟอร์ด

หลักธรรมใดเป็นหลักธรรมที่

สำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ
National Office of Buddhism

  • หน้าหลัก
  • เกี่ยวกับเรา
    • ประวัติสำนักงานฯ
    • อำนาจหน้าที่ วิสัยทัศน์ พันธกิจ ยุทธศาสตร์
    • โครงสร้างองค์กร
    • ผู้บริหาร
      • ทำเนียบผู้บริหาร ผอ.พศ.
      • ผู้บริหารส่วนกลาง
      • ผู้บริหารส่วนภูมิภาค
      • ผู้บริหารเทคโนโลยีสารสนเทศระดับสูง (DCIO)
    • แผนปฏิบัติราชการ
      • แผนยุทธศาสตร์
      • คำรับรองการปฏิบัติราชการ
      • รายงานผลการปฏิบัติราชการ
      • การบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคล
    • แผนแม่บท IT พศ.
    • รายงานผลการปฏิบัติราชการ
      • รายงานประจำปี
      • รายงานการเงินประจำปี
  • ศูนย์ข้อมูลข่าวสาร
    • ข่าวประชาสัมพันธ์
    • คำสั่ง / ประกาศ
    • ข่าวจัดซื้อจัดจ้าง
    • ประกาศราคากลาง
    • ข่าวรับสมัครงาน
    • ข่าวบุคลากร
    • ข่าวฝากประชาสัมพันธ์
    • ศูนย์ข้อมูลข่าวสารอิเล็กทรอนิกส์
    • ปฏิทินกิจกรรม
  • องค์ความรู้
    • พุทธประวัติ
    • วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
    • ฟังธรรมกับ พศ.
      • วัดญาณเวศกวัน
      • ท่าน ว.วชิรเมธี
    • พระพุทธรูปปางต่าง ๆ
    • พระไตรปิฎกฉบับเสียงอ่าน
    • คติธรรมสมเด็จพระสังฆราช
    • บทความ
  • บริการสำนักพุทธ
    • ข้อมูลบริการของหน่วยงาน
      • รายงานการจัดกิจกรรมพุทธมณฑล
      • ระยะเวลาปฏิบัติราชการ
      • ศปท.พศ.
        • ศูนย์ปฏิบัติการต่อต้านการทุจริต
        • แผนปฏิบัติการป้องกันการทุจริต
        • มาตรการป้องกันการทุจริต
        • การจัดการเรื่องร้องเรียนการทุจริต
    • มติเดินทางไปต่างประเทศ
    • คู่มือสำหรับประชาชน
    • มติมหาเถรสมาคม
    • แถลงการณ์คณะสงฆ์
    • คู่มือ / แบบฟอร์มต่าง ๆ
      • งานเทคโนโลยีสารสนเทศ
      • งานบริหารทรัพยากรบุคคล
      • งานทะเบียนและสัญญา
      • งานประชาสัมพันธ์และเผยแพร่
    • ติดต่องานเกี่ยวกับวัด
    • บริการในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ (e-Service)
      • ขอหนังสือนำวีซ่า
    • E-Book
      • หนังสือธรรมะ
      • ข้อมูลพื้นฐานทางพระพุทธศาสนา
    • ONAB RUN 2022
    • สั่งจองของที่ระลึก งาน 20 ปี
  • ข้อมูลสารสนเทศ
    • ทะเบียนวัด
      • ทะเบียนวัดไทย
      • ทะเบียนวัดไทยในต่างประเทศ
      • สรุปจำนวนวัด
    • พระภิกษุ-สามเณร
      • พระภิกษุที่ได้รับการแต่งตั้ง/สถาปนาสมณศักดิ์
      • พระจริยานิเทศก์
      • ครูสอนพระปริยัติธรรม
        • แผนกธรรม
        • แผนกบาลี
      • พระปริยัตินิเทศน์
      • พระธรรมทูต
        • ในประเทศ
        • ต่างประเทศ
      • พระวินยาธิการ
    • สำนักปฏิบัติธรรมประจำจังหวัด
  • กฎหมายที่เกี่ยวข้อง
    • พระราชบัญญัติ
    • พระราชกำหนด
    • พระราชกฤษฎีกา
    • กฎกระทรวง
    • กฎ
    • ระเบียบ
    • ข้อบังคับ
    • คำสั่ง / ประกาศ
  • ITA
  • ติดต่อเรา
    • ลิงก์หน่วยงาน
      • ส่วนกลาง
      • ส่วนภูมิภาค
    • เบอร์โทรศัพท์/อีเมล
    • สำหรับเจ้าหน้าที่
      • Onab Mail
      • E-Office
      • ระบบทะเบียนวัดและพระ
      • ระบบสารสนเทศทรัพยากรบุคคล

หลักธรรมใดเป็นหลักธรรมที่

สำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ
National Office of Buddhism

อาคารหลวงพ่อวัดปากน้ำ เลขที่ 25/25 ถนนพุทธมณฑลสาย 4
ตำบลศาลายา อำเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม 73170
โทรศัพท์ (เบอร์กลาง) 02 441 7999
สงวนลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2565 สำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ

จำนวนการเข้าชม : 12,454,591