ข้อใด ไม่ใช่ ประโยชน์ของนาฏศิลป์ไทย

แบบทดสอบหลังเรียน หน่วยการเรียนรู้ที่ 8-9  

คำชี้แจงให้นักเรียนเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว (ต้องทำทุกข้อ)

สอบครั้งที่ *

สอบได้สูงสุด 3 ครั้ง

E-mail (ถ้ามี)

ถ้านักเรียนมี E-mail ให้กรอกด้วย หลังสอบเสร็จระบบจะส่งผลการสอบไปที่ E-mail นักเรียนทันที

ข้อใดที่ไม่ใช่ประโยชน์ของการวิเคราะห์ วิจารณ์การแสดง นาฏศิลป์ *

ทำให้ผู้สร้างสรรค์ผลงานนาฏศิลป์ผลิตผลงานตาม ความต้องการของตลาดบันเทิงมากยิ่งขึ้น

ส่งเสริมให้ผู้ที่สร้างสรรค์ผลงานนำความรู้ที่ได้มาพัฒนาผลงานให้มีความแปลกใหม่และทันสมัยมากยิ่งขึ้น

ฝึกให้ผู้ที่สร้างสรรค์ผลงานนาฏศิลป์ยอมรับคำติชม วิพากย์ วิจารณ์

เป็นการเสนอแนะแนวทางการแก้ไขปรับปรุงพัฒนางานนาฏศิลป์ให้มีคุณค่าสอดคล้องกับเป้าหมาย

ระบำเบ็ดเตล็ดเป็นระบำที่มีลักษณะเป็นอย่างไร *

เป็นท่ารำที่ประดิษฐ์ขึ้นตามกระแสนิยมในปัจจุบัน

เป็นท่ารำที่เลียนแบบจากภาพจำหลัก

เป็นระบำที่ปรมาจารย์ได้ประดิษฐ์ท่ารำขึ้นเป็นแบบแผน

เป็นแสดงประเภทระบำที่มีลักษณะเฉพาะ

ชุดแต่งกายของรำวงมาตรฐานสามารถแต่งได้ 3 แบบมีอะไรบ้าง *

แบบรัชกาลที่ 5 แบบราตรีสโมสร แบบสากลนิยม

แบบพื้นเมือง แบบไทยพระราชนิยม แบบสากลนิยม

แบบพื้นเมือง แบบราตรีสโมสร แบบไทยพระราชนิยม

แบบสากลนิยม แบบชาวบ้าน แบบพื้นเมือง

ชื่อของรำโทนมีที่มาจากสิ่งใด *

ระบำกฤดาภินิหารแตกต่างจากการแสดงชุดอื่นอย่างไร *

ใครที่ใช้หลักในการวิจารณ์ผลงานนาฏศิลป์ไม่ถูกต้อง *

ไพรวิจารณ์ท่าทางการแสดงและการแต่งกาย

เพลงวิจารณ์บทที่ใช้ประกอบการแสดง

พลอยวิจารณ์เกี่ยวกับหน้าตาและนิสัยของผู้แสดง

พลูวิจารณ์เกี่ยวกับดนตรีที่ใช้ประกอบการแสดง

การแสดงนาฏศิลป์ไทยประเภทระบำชุดใดที่ไม่จัดเป็นการแสดงระบำแบบมาตรฐาน *

“มือซ้ายตั้งวงบน มือขวาตั้งวงกลางเหยียดแขนดึง” การปฏิบัติเช่นนี้มีชื่อเรียกว่าอย่างไร *

ท่ารำ “สอดสร้อยมาลา” มีลักษณะเป็นอย่างไร *

เป็นท่ารำที่ประกอบไปด้วยการตั้งวงบนและจีบหงาย ชายพก

เป็นท่ารำที่ประกอบไปด้วยการตั้งวงบัวบานและจีบส่งหลัง

เป็นท่ารำที่ประกอบไปด้วยการตั้งวงหน้าและส่งจีบหลัง

เป็นท่ารำที่ประกอบไปด้วยการตั้งวงล่างและจีบหงาย ชายพก

ข้อใดแสดงความสัมพันธ์กันได้อย่างถูกต้อง *

รำเถิดเทิง กับ รำวงมาตรฐาน

เพลงดวงจันทร์ขวัญฟ้า กับ กรมศิลปากร

เพลงรำซิมารำ กับ ท่านผู้หญิงละเอียด พิบูลสงคราม

ลักษณะการเดินถัดเรียงเท้าไปตามวงทวนเข็มนาฬิกาโดยเริ่มก้าวเท้าซ้ายตรงคำว่า “รำ” แล้วย่อเข่าลง เป็นการแสดงของภาคใด และมีชื่อเรียกว่าอย่างไร *

ภาคอีสาน การแสดงชุด เซิ้งสวิง

ภาคกลาง การแสดงชุด รำซิมารำ

ภาคใต้  การแสดงชุด ร่อนแร่

ภาคเหนือ การแสดงชุด ฟ้อนเทียน

คำว่า “เซิ้ง” มีความหมายว่าอย่างไร *

จังหวะเพลงที่มีความสนุกสนาน

การแสดงที่ใช้ประกอบในพิธีกรรม

การฟ้อนของคนอีสานที่ประดิษฐ์ท่ารำขึ้นจึงเรียกว่า “เซิ้ง”

การแสดงนาฏศิลป์ไทยชุดใดที่ไม่ใช่การแสดงพื้นเมือง ของภาคใต้ *

การแสดงพื้นเมืองแบ่งออกเป็นกี่ประเภท ได้แก่อะไรบ้าง *

3 ประเภท คือ ลำนำ ทำนอง การแสดงเบ็ดเตล็ด

3 ประเภท คือ ลำนำ ทำนอง ต่อกลอน

2 ประเภท คือ การแสดงเบ็ดเตล็ด ทำนอง

ลักษณะเฉพาะของการแสดงนาฏศิลป์พื้นเมืองภาคเหนือมีลักษณะเป็นอย่างไร *

มีความนุ่มนวล อ่อนหวาน งดงาม

มีความเรียบง่าย ใช้สำนวนโวหารมาก

ข้อใดที่ไม่ใช่ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อนาฏศิลป์พื้นเมือง *

ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับความหมายของการแสดง พื้นบ้าน *

การแสดงพื้นบ้านเป็นการแสดงที่ต้องอาศัยผีสางเทวดาในการดูแลรักษา

การแสดงพื้นบ้านเป็นการแสดงเพื่อหารายได้เลี้ยงชีพ

การแสดงพื้นบ้านเป็นการแสดงที่น่ากลัว ทำให้ผู้คนตื่นเต้น

การแสดงพื้นบ้านเป็นการแสดงเพื่อความบันเทิง สนุกสนาน ไม่ก่อให้เกิดรายได้

ระบำพื้นเมืองของภาคใต้เด็ดขาด คมชัด เพราะได้รับอิทธิพลมาจากอะไร *

ดินแดนชายทะเล ทำให้ศิลปะแสดงออกถึงคลื่นลมพายุที่รุนแรง

วัฒนธรรมผสมผสานระหว่างไทยและมลายู

ดนตรีที่ชัดเจน รวดเร็ว ใช้กลองแขกและรำมะนา  เป็นหลัก

ศิลปะการแสดงที่มีความสอดคล้องกับวิถีชีวิตของคนในภาคกลาง คือข้อใด *

ข้อใด ไม่ใช่การแสดงที่เรียกว่าเป็น “มหรสพ” *

Never submit passwords through Google Forms.