ข้อใด ไม่ใช่ ประโยชน์ของการวางแผนดูแลสุขภาพของบุคคลในครอบครัว

แผนที่

ศูนย์สุขภาพ Antelope Valley
335-B E. อเวนิว K-6
แลงคาสเตอร์แคลิฟอร์เนีย 93535
661-471-4400

ศูนย์สุขภาพ Bellflower
10005 E. ดอกไม้เซนต์
เบลล์ฟลาวเวอร์แคลิฟอร์เนีย 90706
562-804-8112

ศูนย์สุขภาพครบวงจร Edward R. Roybal
245 ดังนั้น. Fetterly Ave.
Los Angeles, CA ฮิต
323-980-2731

ศูนย์สุขภาพครบวงจร El Monte
10953 ราโมนาบูเลอวาร์ด
เอลมอนเต, แคลิฟอร์เนีย 91731
626-579-8463

ศูนย์สุขภาพ Glendale
501 N.Glendale Ave.
เกลนเดลแคลิฟอร์เนีย 91206
818-500-5785

ศูนย์การแพทย์ Harbor-UCLA
1000 ถนนเวสต์คาร์สัน
ทอร์รันซ์แคลิฟอร์เนีย 90509
310-222-3723

ศูนย์สุขภาพครบวงจร H. Claude Hudson
2829 เอสแกรนด์อเวนิว
Los Angeles, CA ฮิต
213-744-3945

ศูนย์สุขภาพประจำภูมิภาค High Desert
335 East Avenue I
แลงคาสเตอร์แคลิฟอร์เนีย 93535
661-471-4400

ศูนย์สุขภาพครบวงจร Hubert H. Humphrey
5850 S. Main St.
Los Angeles, CA ฮิต
323-846-4312

ศูนย์การแพทย์ LAC + USC
2051 ถนนมาเรงโก
Los Angeles, CA ฮิต
323-409-1000

ศูนย์ชุมชนทะเลสาบลอสแองเจลิส
16921 E. Avenue O, Spage G
ทะเลสาบลอสแองเจลิสแคลิฟอร์เนีย 93591
661-471-4400

ศูนย์สุขภาพ La Puente
15930 เซ็นทรัลอเวนิว
La Puente, แคลิฟอร์เนีย 91744
626-968-3711

คลินิกชุมชน Littlerock
8201 ทางหลวงแพร์บลอสซัม
Littlerock, แคลิฟอร์เนีย 93543
661-471-4400

ศูนย์สุขภาพครบวงจรลองบีช
1333 ถนนเกาลัด
ลองบีช, แคลิฟอร์เนีย 90813
562-599-2153

มาร์ตินลูเธอร์คิงจูเนียร์ศูนย์ผู้ป่วยนอก
1670 Street East 120th
Los Angeles, CA ฮิต
310-668-5011

ศูนย์สุขภาพครบวงจร Mid-Valley
7515 แวนนิวส์ บูเลอวาร์ด
Van Nuys, CA91405
818-947-0230

ศูนย์การแพทย์ Olive View-UCLA
14445 โอลีฟวิวดร.
ซิลมาร์, แคลิฟอร์เนีย 91342
(747) 210-3184

ศูนย์สุขภาพซานเฟอร์นันโด
1212 ปิโกเซนต์
ซานเฟอร์นันโดแคลิฟอร์เนีย 91340
818-837-6969

ศูนย์สุขภาพ South Valley
38350 40th ถนนตะวันออก
ปาล์มเดล, แคลิฟอร์เนีย 93552
661-471-4400

ศูนย์สุขภาพวิลมิงตัน
1325 บรอด Ave.
วิลมิงตันแคลิฟอร์เนีย 90744
310-518-8800

การดูแลสุขภาพตนเองและครอบครัว

การวางแผนดูแลสุขภาพตนเองและบุคคลในครอบครัว เป็นเรื่องที่มีคุณค่าอย่างยิ่งเพราะนอกจากจะเป็นสิ่งที่ช่วยกระตุ้นให้ตัวของเราเองและบุคคลในครอบครัวเกิดความกระตือรือร้นในการดูแลสุขภาพแล้ว ยังเป็นสิ่งที่ช่วยให้เกิดสัมพันธภาพอันดีระหว่างสมาชิกทุกคนในครอบครัว เกิดความรักในครอบครัวซึ่งจะช่วยแก้ปัญหาต่างๆ ได้อย่างดี อันจะนำไปสู่การมีคุณภาพชีวิตที่ดีในอนาคต คุณค่าของการวางแผนดูแลสุขภาพของบุคคลในครอบครัว 

คำว่า “สุขภาพดี” ในแต่ละคนนั้นอาจแตกต่างกันออกไปตามแต่สภาวะสังคม หรือรูปแบบของวิถีชีวิตที่แตกต่างกัน แต่โดยรวมแล้วสุขภาพดีอย่างน้อยจะต้องหมายถึง ความสมบูรณ์ของทั้งร่างกายและจิตใจ ซึ่งสิ่งที่เกิดขึ้นนี้จะเกิดได้เนื่องจากการดูแลเอาใจใส่ระบบต่างๆ ที่สำคัญของร่างกาย การที่จะมีสุขภาพดีได้นั้น ไม่ว่าจะเป็นสุขภาพของตนเองหรือของบุคคลในครอบครัว ไม่ใช่เป็นสิ่งเกิดขึ้นได้ด้วยความบังเอิญ 

หากแต่จำเป็นที่จะต้องมีการวางแผนในการดูแลสุขภาพล่วงหน้าซึ่งจะช่วยให้เกิดผลดี ดังนี้ 

ข้อใด ไม่ใช่ ประโยชน์ของการวางแผนดูแลสุขภาพของบุคคลในครอบครัว

-สามารถที่จะกำหนดวิธีการหรือเลือกรูปแบบที่เหมาะสมกับการดำเนินชีวิตของตัวเราเองหรือบุคคลในครอบครัวได้อย่างเหมาะสม 

-สามารถที่จะกำหนดช่วงเวลาในการดูแลสุขภาพได้อย่างเหมาะสม อาจจะมีกิจกรรมการออกกำลังกายในช่วงเช้า หรือในบางครอบครัวอาจจะมีเวลาว่างในช่วงเย็น ก็อาจจะกำหนดกิจกรรมการส่งเสริมสุขภาพในช่วงเย็นก็ได้ หรืออาจจะกำหนดช่วงเวลาในการตรวจสุขภาพประจำปีของบุคคลในครอบครัวได้อย่างเหมาะสม

 -เป็นการเฝ้าระวังสุขภาพทั้งของตนเองและบุคคลในครอบครัว ไม่ให้ป่วยด้วยโรคต่างๆ นับว่าเป็นการสร้างสุขภาพ ซึ่งจะดีกว่าการที่จะต้องมาซ่อมสุขภาพ หรือการรักษาพยาบาลในภายหลัง

 -ช่วยในการวางแผนเรื่องของเศรษฐกิจและการเงินในครอบครัว เนื่องจากไม่ต้องใช้จ่ายเงินไปในการรักษาพยาบาล 

-ส่งเสริมสุขภาพทั้งของตนเองและบุคคลในครอบครัว

-ทำให้คุณภาพชีวิตทั้งของตนเองและสมาชิกในครอบครัวดีขึ้น 

การดูแลสุขภาพตนเอง

การรู้จักและสร้างนิสัยที่ดีในการเสริมสร้างสุขภาพหรือดูแลสุขภาพของตนเองให้สมบูรณ์ แข็งแรง ทั้งกายและใจ อารมณ์และปราศจากโรคภัยไข้เจ็บ เป็นจุดเริ่มต้นที่ดี เพราะถ้าตัวเองมีวินัยเรื่องสุขภาพมีความรู้เรื่องสุขภาพก็จะเป็นผลดีต่อทุกๆด้านซึ่งการดูแลสุขภาพของคนนั้นพัฒนาตามวัย ได้แก่ วัยทารก วัยเด็ก วัยรุ่น วัยผู้ใหญ่ และวัยสูงอายุ โดยต้องดูแลแตกต่างกันไป การดูแลสุขภาพแบบองค์รวมที่ดีสามารถทำได้ดังนี้ 

– ออกกำลังกายสม่ำเสมอ ควรออกกำลังกายอย่างถูกวิธีของการออกกำลังกาย สัปดาห์ละ ๓-๕ วัน จะทำให้ร่างกายแข็งแรงจิตใจแจ่มใส และช่วยสร้างภูมิคุ้มกัน ป้องกันโรคได้เป็นอย่างดี เช่น โรคหัวใจ โรคเบาหวาน โรคภูมิแพ้

– การรับประทานอาหารที่ถูกต้อง รับประทานอาหารให้เพียงพอต่อความต้องการของร่างกาย มีอาหารครบถ้วนทั้ง ๕ หมู่ เสริมด้วยผักผลไม้ทุกๆมื้อ เพื่อช่วยการทำงานของระบบขับถ่าย ช่วยเสริมสร้างสมอง ช่วยป้องกันโรคอ้วน เบาหวน มะเร็ง สมองเสื่อม 

– การพักผ่อนและการนันทนาการ การพักผ่อนเป็นการสร้างภูมิต้านทานโรคเป็นการผ่อนคลายความเครียดจากการทำงาน เป็นการพักการทำงานของกล้ามเนื้อให้ลดการทำงานหนักๆ เพื่อฟื้นคืนสู่สภาพปกติ การพักผ่อนมีหลายวิธี รวมถึงการเข้าร่วมกิจกรรมนันทนาการ แต่การพักผ่อนวิธีที่ดีที่สุด คือการพักผ่อนตอนกลางคืน วันละ ๖-๘ ชม.

– หลีกเลี่ยงพฤติกรรมเสี่ยง หมายถึง หลีกเลี่ยงพฤติกรรมเสี่ยงที่บ่อนทำลายสุขภาพ หรือเป็นสาเหตุของการที่จะเกิดอุบัติภัยและภัยอันตราย เช่น การดื่มสุรา การสูบบุหรี่ การเสพสารเสพติดที่จะเป็นตัวทำลายระบบประสาทและสมอง การสำส่อนทางเพศและพฤติกรรมประมาท

– สร้างทักษะในชีวิตเพื่อการอยู่ร่วมกันอย่างสันติ การใช้ชีวิตร่วมกันในครอบครัวต้องมีการช่วยเหลือเกื้อกูลกันในทุกด้าน ไม่ว่าจะเป็นด้านการศึกษา สาธารณสุขหรือความเป็นอยู่ทั่วไป ซึ่งต้องเน้นการอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุขมีความสามารถที่จะเผชิญเหตุการณ์ต่างๆทางสังคมที่เป็นลบ เช่น การมั่วสุมสารเสพติด หรือ การถูกชักชวนให้มีพฤติกรรมเสี่ยงได้อย่างเหมาะสม โดยอาศัยทักษะที่จำเป็น เช่น ทักษะในการจัดการกับความขัดแย้งในครอบครัว

– การมีพัฒนาการทางด้านปัญญา ซึ่งมีวิธีหลากหลายที่จะช่วยให้บุคคลและความเห็นแก่ตัว มุ่งเข้าถึงความดี เช่น การศึกษา การเล่นกีฬา การศาสนา การรวมกลุ่ม การเจริญภาวนา การสัมผัสธรรมชาติ เป็นต้น ที่จะทำให้เข้าถึงความสุขทางปัญญาทำให้สุขภาพจิตดี ซึ่งจะส่งผลต่อการมีสุขภาพดีตามมา 

– มีการเรียนรู้ที่ดี เช่น การอ่านหนังสือ เรียนภาษาอังกฤษออนไลน์ ก็เป็นกิจกรรมที่ทำให้เกิดความสนุก ทำให้เกิดปัญญา เกิดความคิด ความสุข สร้างแรงจูงใจที่จะเรียนรู้สิ่งต่างๆ มากขึ้น

– การจัดสิ่งแวดล้อมให้เกื้อกูลต่อสุขภาพ ทั้งทางกายภาพ ทางชีวภาพ และทางสังคม สามารถทำได้ เช่น การมีสุขาภิบาลที่ดีสิ่งแวดล้อมที่สะอาดปราศจากมลพิษ ปราศจากแหล่งเพาะพันธุ์พาหะนำโรค การมีสัมพันธภาพและมิตรไมตรีต่อกัน

ครอบครัวเป็นสังคมเล็กๆ สังคมหนึ่ง มีสมาชิกเพียงแค่พ่อ แม่ ลูก หรือเป็นสังคมของกลุ่มญาติอันประกอบด้วยบิดา มารดา ปู่ ย่า ตา ยาย ลูก ซึ่งสมาชิกในครอบครัวจะมีบทบาทหน้าที่ต่างกัน แต่ทุกคนต้องมีความห่วงใย มีความรัก เอื้ออาทรซึ่งกันและกัน ให้ความช่วยเหลือดูแลกันเป็นอย่างดี โดยเฉพาะด้านการดูแลสุขภาพ แต่ละคนมีหน้าที่ดูแลสุขภาพตนเองให้แข็งแรง ซึ่งเมื่อทุกคนต่างก็ดูแลสุขภาพตนเองไม่ให้เจ็บไข้แล้ว สุขภาพส่วนรวมหรือสุขภาพของครอบครัวก็จะแข็งแรงสมบูรณ์ตามไปด้วย