ข้อใดเป็นวิธีการสืบค้นโดยใช้ความสามารถของตรรกบูลีน

Show

การสืบค้นสารสนเทศและความรู้

เครื่องมือสืบค้นสารสนเทศ หมายถึง เครื่องมือและรวมถึงอุปกรณ์ต่างๆ ที่อำนวยความสะดวกแก่ผู้ใช้ในการสืบค้นรายการสารสนเทศที่ต้องการได้อย่างรวดเร็วทันความต้องการโดยทั่วไปเครื่องมือสืบค้นสารสนเทศที่มีการใช้กันแบ่งเป็นประเภทใหญ่ๆ ได้แก่ การสืบค้นสารสนเทศจากฐานข้อมูลบรรณานุกรมออนไลน์การสืบค้นสารสนเทศด้วยฐานข้อมูลออนไลน์และการสืบค้นสารสนเทศบนอินเทอร์เน็ต ซึ่งมีรายละเอียดดังต่อไปนี้

2.การสืบค้นฐานข้อมูลออนไลน์ การสืบค้นฐานข้อมูลออนไลน์ สามารถใช้เทคนิคการสืบค้นอย่างง่าย หรือเทคนิคการสืบค้นขั้นสูงได้เช่นเดียวกับการสืบค้นอื่นๆ แต่จะมีรายละเอียดเพิ่มเติมที่เป็นหลักทั่วไปดังนี้

1. วิเคราะห์เรื่องที่ต้องการสืบค้นและกำหนดคำสำคัญเพื่อใช้ในการค้น

2. เลือกค้นจากฐานข้อมูลที่เหมาะสม

5. เลือกรายการที่ตรงกับความต้องการและบันทึกผลข้อมูล

1. การสืบค้นสารสนเทศจากฐานข้อมูลบรรณานุกรมออนไลน์ หรือที่เรียกว่า OPAC (Online Public Access Catalog)

การสืบค้นสารสนเทศจาก OPAC ผู้สืบค้นมีทางเลือกในการสืบค้นหลายทาง เช่น ชื่อผู้แต่ง ชื่อเรื่อง หัวเรื่อง คำสำคัญ เลขเรียกหนังสือ เป็นต้น ซึ่งผู้สืบค้นทราบข้อมูลส่วนใด ก็เพียงเลือกทางเลือกในการสืบค้น และพิมพ์คำค้นลงไป ระบบจะดำเนินการสืบค้น เมื่อพบรายการที่
ต้องการ ระบบจะแสดงผลออกมา นอกจากนี้ผู้สืบค้นสามารถใช้เทคนิคการสืบค้นขั้นสูง เช่น
ตรรกบูลีน หรือการจำกัดการค้นด้วยเขตข้อมูล เข้ามาร่วมในการสืบค้นได้ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับโปรแกรม
ที่ห้องสมุดแต่ละแห่งเลือกใช้ซึ่งมีคำแนะนำขั้นตอนและวิธีการสืบค้นจะปรากฏบนหน้าจอเสมอ ผู้ใช้เพียงทำตามคำแนะนำที่บอกให้ไปตามลำดับ

1.1 วิธีการสืบค้นโดยใช้ทางเลือกต่างๆ ใน OPAC

1.2 ข้อมูลที่ได้จากการสืบค้นด้วย OPAC
ลักษณะของผลลัพธ์ที่ได้จากการสืบค้นด้วย OPAC ส่วนใหญ่จะให้ข้อมูล 2 ลักษณะ ได้แก่ ข้อมูลบรรณานุกรม (Bibliographic) ของทรัพยากรสารสนเทศที่ตีพิมพ์และไม่ตีพิมพ์ และ ข้อมูลดรรชนีและสาระสังเขป (Index & abstract) ของบทความในวารสารและหนังสือพิมพ์ซึ่งมี
รายละเอียดดังน

1.2.2 ข้อมูลดรรชนีวารสาร (Periodical Index) ของบทความในวารสารภาษาไทย ประกอบด้วย

1.2.1 ข้อมูลบรรณานุกรม (Bibliographic description) ประกอบด้วย

เทคนิคการสืบค้นสารสนเทศจากอินเทอร์เน็ต

การสืบค้นสารสนเทศบนอินเทอร์เน็ต เว็บไซต์ที่ทำหน้าที่ค้นข้อมูลมี 2 ประเภท คือ แบบนามานุกรมบนเว็บไซต์ (Web Directories) และ แบบที่เป็นเครื่องมือสืบค้น (Search Engines)

1. นามานุกรม (Web Directories)

2. เครื่องมือสืบค้น (Search engine)

องค์ประกอบของกลไกการสืบค้นสารสนเทศบอินเทอร์เน็ต (Search Engine) โดยทั่วไป องค์ประกอบของกลไกการสืบค้นสารสนเทศของSearch Engine มี 3 ส่วน ซึ่งส่วนต่างๆ ทั้ง 3 ส่วนนี้มีความสามารถและลักษณะการทำงานเฉพาะตัวที่แตกต่างกันออกไป ดังนี้

1) ตัวสำรวจหรือรวบรวมข้อมูล (Spider หรือ Crawler หรือ Robot)

2) ตัวดรรชนี (Indexer) หรือ Catalog

3) โปรแกรมค้นข้อมูล (Search Engine Software หรือ Query Processor)

การสืบค้นสารสนเทศและความรู้

การสืบค้นสารสนเทศจากฐานข้อมูลบรรณานุกรมออนไลน์ หรือที่เรียกว่า OPAC(Online Public Access Catalog)

การสืบค้นสารสนเทศจาก OPAC ผู้สืบค้นมีทางเลือกในการสืบค้นหลายทาง เช่น ชื่อผู้
แต่ง ชื่อเรื่อง หัวเรื่อง ค าส าคัญ เลขเรียกหนังสือ เป็นต้น ซึ่งผู้สืบค้นทราบข้อมูลส่วนใด ก็เพียง
เลือกทางเลือกในการสืบค้น และพิมพ์ค าค้นลงไป ระบบจะด าเนินการสืบค้น เมื่อพบรายการที่

ต้องการ ระบบจะแสดงผลออกมา นอกจากนี้ผู้สืบค้นสามารถใช้เทคนิคการสืบค้นขั้นสูง เช่น

ตรรกบูลีน หรือการจ ากัดการค้นด้วยเขตข้อมูล เข้ามาร่วมในการสืบค้นได้

องค์ประกอบของกลไกการสืบค้นสารสนเทศบนอินเทอร์เน็ต (Search Engine)

ตัวสำรวจหรือรวบรวมข้อมูล (Spider หรือ Crawler หรือ Robot) เป็นซอฟต์แวร์สำหรับสำรวจเว็บโดยจะทำหน้าที่ตระเวณไปยังเว็บไซต์ต่างๆ เพื่อทำการรวบรวมสารสนเทศ และส่งกลับมายังดรรชนีหรือฐานข้อมูลเพื่อทำการประมวลผล

ตัวดรรชนี (Indexer) หรือ Catalog ซึ่งเป็นฐานข้อมูลท าหน้าที่รวบรวมคำ และตำแหน่งทุกๆ เพจที่ตัวสำรวจรวบรวมมาได้ ในส่วนนี้จะมีโปรแกรมช่วยในการจัดทำดรรชนีเพื่อให้ผู้ใช้สามารถค้นหาสารสนเทศได้สะดวกขึ้น วิธีการจัดทำดรรชนีในแต่ละกลไกการสืบค้นมักจะแตกต่างกันไป

โปรแกรมค้นข้อมูล (Search Engine Software หรือ Query Processor) ทำหน้าที่เปรียบเทียบความเกี่ยวข้องระหว่างเว็บไซต์และความต้องการของผู้สืบค้นว่ามีความเกี่ยวข้องมากน้อยเพียงใด จากนั้นจะจัดลำดับความเกี่ยวข้องของเว็บต่าง ๆออกมาแสดงผล

เทคนิคการสืบค้นสารสนเทศจากอินเทอร์เน็ต

เทคนิคตรรกบูลลีน แบ่งได้ออกเป็น 3 ลักษณะคือ

การใช้ And, Or, Not ประกอบเป็นประโยคการค้น

การใช้เทคนิคตรรกบูลลีนจากเมนูทางเลือก (Drop down menu) ว่าต้องการ
สืบค้นการที่เกี่ยวข้องกับค าค้นอย่างไร เช่น Match all words, match any
words, must contain, must not contain เป็นต้น

การใช้เครื่องหมาย + (Plus) หรือ – (Minus) กำหนดหน้าคำค้นที่ต้องการ
เครื่องหมาย + หมายถึงในผลการค้นต้องมีคำที่กำหนดนั้น และเครื่องหมาย –
หมายถึงไม่ต้องการให้พบคำนั้นในผลการสืบค้น

เทคนิคการตัดคำสามารถทำได้ 2 ลักษณะ คือ

การใช้เครื่องกลไกส่วนใหญ่ใช้เครื่องหมาย * (asterisk) แทนการตัดคำส่วน
ใหญ่เป็นการตัดท้ายคำค้นที่ต้องการ กลไกที่สามารถใช้เทคนิคการตัดคำได้
เช่น altavista เป็นต้น

การสืบค้นในลักษณะของ Stemming หมายถึง การสืบค้นจากรากคำ เช่น
คำค้นเป็น think กลไกจะสืบค้นคำอื่น ๆ ที่ขึ้นต้นด้วย think เช่น thinking,
thinkable เป็นต้น กลไกที่มีลักษณะการสืบค้นเช่นนี้ได้แก่ Hotbot, Infoseekเป็นต้น

ADJ หมายถึง ให้คำที่ค้นอยู่ใกล้กัน สลับลำดับคำได้

NEAR หมายถึง ให้คำที่ค้นอยู่ใกล้เคียงกันในระยะ 25 คำ สลับที่ได้

FAR หมายถึง ให้คำค้นอยู่ห่างกันได้ 25 คำ หรือมากกว่านั้น

BEFORE หมายถึงให้คำค้นอยู่ห่างกันในระยะ 25 คำ โดยต้องอยู่ตามลำดับที่
กำหนดเท่านั้น

เทคนิคการใช้รหัสกำกับคำค้น สามารถทำได้ 2 ลักษณะได้แก่

สืบค้นจากเมนูทางเลือก (Drop down menu) ซึ่งกลไกสืบค้นหลาย ๆ กลไก
กำหนดให้ผู้สืบค้นเลือกเขตข้อมูลที่ต้องการสืบค้นได้จากเมนูทางเลือก โดยให้
เลือกได้จากภาษา เขตข้อมูลชื่อ URL ช่วงปีที่ต้องการ Domain ของแหล่ง
สารสนเทศ เป็นต้น

สืบค้นโดยใช้เขตข้อมูลกำกับลงในประโยคการค้น เช่น title:nba หมายถึงให้
ค้นเพจที่มีคำว่า nba ปรากฏในชื่อเรื่อง before:30/9/99 หมายถึง ให้สืบค้น
เอกสารที่มีการจัดทำก่อนวันที่ 30 ก.ย. 1999 เป็นต้น กลไกที่มีลักษณะการ
สืบค้นแบบนี้ ได้แก่ Hotbot เป็นต้น

ฐานข้อมูลออนไลน์ (Online Database)

ฐานข้อมูลออนไลน์ที่ห้องสมุดหรือศูนย์สารสนเทศบอกรับเป็นสมาชิก คือฐานข้อมูลออนไลน์ที่ห้องสมุดหรือศูนย์สารสนเทศนั้นๆ บอกรับหรือซื้อฐานข้อมูลนั้นมาให้บริการกับผู้ใช้โดยมีการจำกัดระยะเวลาในการใช้นั้นคือจะสามารถใช้ฐานข้อมูลได้ในระหว่างเป็นสมาชิกของฐานข้อมูลนั้นในระยะเวลาที่กำหนด

ฐานข้อมูลสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา หรือ ฐานข้อมูล ThaiLIS (Thai Library Integrated System) เป็นฐานข้อมูลที่สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาและโครงการ Thai Library Integrated System เช่าใช้ฐานข้อมูลวิชาการโดยมีสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษารับผิดชอบค่าใช้จ่าย เพื่อให้มหาวิทยาลัยของรัฐร่วมกันใช้บริการสืบค้นสารสนเทศ ภายใต้ฐานข้อมูลต่างๆ

ฐานข้อมูลทดลองใช้ฐานข้อมูลลักษณะนี้เป็นฐานข้อมูลที่ห้องสมุดหรือศูนย์
สารสนเทศนำมาทดลองให้บริการกับผู้ใช้ก่อน ก่อนที่ห้องสมุดหรือศูนย์สารสนเทศจะตัดสินใจซื้อหรือสมัครเป็นสมาชิกของฐานข้อมูลนั้นจริงๆ

การสืบค้นสารสนเทศบนอินเทอร์เน็ต

นามานุกรม (Web Directories) เป็นเครื่องมือในการสืบค้นที่รวบรวมสารสนเทศบนอินเทอร์เน็ต และคัดแยกสารสนเทศเหล่านั้นออกเป็นกลุ่ม ตามสาขาวิชาหรือตามหลักเกณฑ์ที่ผู้จัดทำกำหนดขึ้น การสืบค้นสามารถทำได้โดยการเลือกกลุ่มสาขาวิชาที่ตรงกับความต้องการ และเลือกเรื่องต่างๆ ตามหัวข้อย่อยที่นามานุกรมรวบรวมไว้

เครื่องมือสืบค้น (Search engine) เป็นเครื่องมือในการสืบค้นที่อาศัยการทำงานของโปรแกรมที่พัฒนาขึ้น โดยแต่ละตัวได้รับการพัฒนาจากบุคคลหลายๆ หน่วยงาน มีผลให้Search Engine แต่ละตัวมีลักษณะที่แตกต่างกันออกไป ทั้งในด้านฐานข้อมูลที่ครอบคลุมและวิธีการทำดรรชนีช่วยค้น