ข้อใดเป็นค่าใช้จ่ายการผลิตคงที่

   ผู้ประกอบการที่ยังไม่เคยคำนวณต้นทุนผลิตและต้นทุนรวมสินค้าไว้ ลองฝึกจดบันทึกค่าใช้จ่ายทั้งหมด ค่าวัตถุดิบ ค่าแรงงาน ให้ได้อย่างน้อย 1 เดือนเพื่อนำตัวเลขในเดือนที่จดบันทึกมาคำนวณหาต้นทุนที่แท้จริงของสินค้าตนเองเพื่อจะได้ไม่ขาดทุนเพราะการตั้งราคาขายที่ต่ำไป

1. �鹷ع�Թ�������Ѻ��ü�Ե�Թ��㹡Ԩ����ص��ˡ�����Сͺ�������ú�ҧ
���� �Թ��ҵ鹧Ǵ �Թ��һ��§Ǵ
ѵ�شԺ ��Ң������ ����ç�ҧ�ç
�ѵ�شԺ ����ç�ҧ�ç ��������㹡�ü�Ե
�ҹ�����ҧ�� �Թ��ҵ鹧Ǵ �Թ��һ��§Ǵ

2. ���㴵��仹�������ѵ�شԺ�ҧ�ç�ͧ��ü�Ե���������
���
����
�л�
��͵

3. �鹷ع��Ե 500 �ҷ �ѵ�شԺ�ҧ�ç��� 100 �ҷ ����ç�ҹ�ҧ�ç 300 �ҷ ��������㹡�ü�Ե��ҡѺ�����
600
800
400
100

4. ���仹������⨷���� 4 - 6

�Թ���������ٻ ���§Ǵ 95,000�ҷ �鹧Ǵ 40,000 �ҷ

�ҹ�����ҧ�ӻ��§Ǵ 80,000 �ҷ �鹧Ǵ 70,000 �ҷ

�ѵ�شԺ�ҧ�ç���§Ǵ 95,000 �ҷ �鹧Ǵ 90,000 �ҷ

�鹷ع����Դ��������ҧ�Ǵ:

�Թ�����������͢�� 684,000

�ѵ�شԺ�ҧ�ç�����������ҧ�Ǵ��ҡѺ����
213,000
198,000
193,000
188,000

5.�鹷ع�ç�ҹ�ҧ�ç����Դ��������ҧ�Ǵ��ҡѺ�����
250,000
234,000
230,000
����դӵͺ���١

6. �鹷ع�Թ��ҷ���������ҧ�Ǵ��ҡѺ�����
614,000
604,100
594,000
589,000

7. ����ç�ҹ�ҧ���� ����Ͷ֧�ѹ��鹧Ǵ�ѭ�� �кѹ�֡�Դ�ѭ����¡�ù�������ҧ��
ഺԵ��������㹡�ü�Ե �ôԵ����ç�ҧ����
ഺԵ����ç�ҧ���� �ôԵ�鹷ع��Ե
ഺԵ�鹷ع��Ե �ôԵ����ç�ҹ�ҧ����
ഺԵ���âҴ�ع �ôԵ����ç�ҧ����

8. �ѭ��㴵��仹������͹�Դ��ѧ�ѭ�ա��âҴ�ع
�ѵ�شԺ�ҧ�ç���
�鹷ع��Ե
����������Ҥ�����ͧ�ѡ�
�ҹ�����ҧ��

9. ���仹������⨷���� 9 - 13

���仹������¡���Թ��Ҥ�����ͧ͢����ѷ�ͧ�Ӵ٤س����ӡѴ�����ҧ��͹ ����Ҥ� 2544

�ѵ�شԺ�����ʴ�������ͧ����͹ 30,000 �ҷ ������͹ 40,000 �ҷ

�ҹ�����ҧ�� ����͹ 32,000 �ҷ ������͹ 24,000 �ҷ

�Թ���������ٻ����͹ 22,000 �ҷ ������͹ 20,000 �ҷ

��¡�������ҧ��͹����Ҥ��մѧ���

1.�����ѵ�شԺ�����ʴ�������ͧ��� 90,000 �ҷ

2.�ԡ�ѵ�شԺ�����ʴ�������ͧ����㹡�ü�Ե���㹨ӹǹ����ԡ����������ʴ�������ͧ��������� 10,000 �ҷ

3.����ç����Թ��͹����Դ����մѧ���

�ç�ҹ�ҧ�ç 60,000
4. ��������㹡�ü�Ե����Դ������͹����¹��ҡѺ 36,000 �ҷ

5. ����������Ҥ�����ͧ�ѡ� 2,000 �ҷ ��Ф���������Ҥ�����ͧ���ӹѡ�ҹ 1,000 �ҷ

6.���������������ӹѡ�ҹ��ҡѺ 14,000

7.�ʹ���������������͹����Ҥ���ҡѺ36,000 �ҷ

�ѵ�شԺ��������͹����Ҥ���ҡѺ�����
80,000 �ҷ
70,000 �ҷ
72,000
75,000

10.��������㹡�ü�Ե����Ѻ��͹����Ҥ���ҡѺ�����
68,000
70,000
72,000
75,000

11. �鹷ع�Թ��ҷ���Ե�������͹����Ҥ���ҡѺ
206,000
216,000
206,100
205,000

12.�鹷ع�Թ��ҷ��������Ѻ��͹����Ҥ���ҡѺ����
218,000
219,000
208,000
209,000

13. ����������Ҥ�����ͧ���ӹѡ�ҹ�ӹǹ 1,000 �ҷ �繤������»������
��������㹡�ü�Ե
����������� �
��������㹡�ô��Թ�ҹ
�������·����

14. ��äӹdz�鹷ع��¢ͧ�Ԩ����ص��ˡ����ӹdz���ҧ��
�Թ���������ٻ�鹧Ǵ+�鹷ع��ü�Ե-�Թ���������ٻ��§Ǵ
�Թ���������ٻ�鹧Ǵ+�ѵ�شԺ�ҧ�ç���+����ç�ҹ+��������㹡�ü�Ե-�Թ���������ٻ���§Ǵ
�Թ���������ٻ�鹧Ǵ+�����ط��-�Թ���������ٻ���§Ǵ
��� � ��� �

15. ���㴵��仹�����ѵ�شԺ�ҧ����
������ҧ�����Ҽ�Ե���������շӨҡ���
㹡�ü�Ե����������ͧ��лٵ͡�ִ
������������������ͧ���ç�ҹ㹡�û�Сͺ
���ҹ�л�Сͺ������������ͧ���ҡ�ȶ���෴մѧ��鹵�ͧ������ͧ�к���ҡ�ȷ����������俿���ҡ

��ṹ����� =
�ӵͺ���١��ͧ

�. �Ըյ鹷ع�ѹ�� ���Ѵ��ǹ�����������ʹա����Ըյ鹷ع���
�. �Ըյ鹷ع��� �鹷ع��Ե�ѳ����˹��·���٧�����Ըյ鹷ع�ѹ��
�. �Ըյ鹷ع�ѹ�� �鹷ع��Ե�ѳ����˹�������յ鹷ع�Ǵ��������������
�. �Ըյ鹷ع�ѵ�شԺ �鹷ع�Ǵ���Ҥ�ͤ������¡�ü�Ե��Ф������¢����к����ä����
            3.9.5 �鹷ع�������˹��� (Marginal Cost) ���¶֧ �鹷ع����������鹨ҡ��ü�Ե�������˹��˹��� ������ѡɳФ���¤�֧�Ѻ�鹷ع��ǹ���� (Incremental Cost) ��鹷ع��ǹ�������˹����繡�þԨ�ó���ǹ��������ҡ��������ͧ��ü�Ե��§ 1 ˹��� �������������� ���¼����������͡�õѴ�Թ����蹡ѹ

             㹷ҧ��ԺѵԨӹǹ���ഺԵ���㹺ѭ�դ�������㹡�ü�Ե �ѡ�����ҡѺ�ӹǹ����ôԵ���㹺ѭ�դ�������㹡�ü�Ե�Դ��ҧҹ ����Ǥ�ͨӹǹ��������㹡�ü�Ե������仨�ԧ�������ҡѺ�ӹǹ��������㹡�ü�Ե���Դ����繵鹷ع�ͧ��Ե�ѳ�� 㹵͹��鹧Ǵ�ѭ�ըлԴ�ѭ�դ�������㹡�ü�Ե�Դ��ҧҹ���Һѭ�դ�������㹡�ü�Ե  �ѭ�դ�������㹡�ü�Ե�Դ��ҧҹ��лԴ���� ��Ҥ�������㹡�ü�Ե�Դ��ҧҹ��ӡ��� ��������㹡�ü�Ե�ʴ���ҡԨ����ա�äԴ��������㹡�ü�Ե��ҧҹ���� (under-applied ���� under-absorbed overhead) ��Ҥ�������㹡�ü�Ե�Դ��ҧҹ�٧���Ҥ�������㹡�ü�Ե �ʴ���ҡԨ��äԴ��������㹡�ü�Ե��ҧҹ�٧� (over-applied or over-absorbed overhead) ��Шӹǹ��ᵡ��ҧ�ͧ�ͧ�ѭ�չ���Ҩ�Դ��Һѭ�յ鹷ع�Թ��ҷ����  �����Ҩ�ѹ��ǹ��ҵ鹷ع�Թ��ҷ���� �Թ���������ٻ��кѭ�էҹ�����ҧ�ӵ���ʹ������ͷ��������ͧ���кѭ��

ค่าใช้จ่ายการผลิต (Overhead) หรือบางแห่งอาจเรียก ค่าใช้จ่ายโรงงาน โสหุ้ยการผลิต ล้วนแต่ความหมายเดียวกันทั้งสิ้น ซึ่งหมายถึง ค่าใช้จ่ายต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นจากการผลิต แต่ไม่ถือเป็นวัตถุดิบทางตรง และค่าแรงงานทางตรง ดังนั้นค่าใช้จ่ายการผลิตจึงหมายถึง ค่าวัตถุดิบทางอ้อม ค่าแรงงานทางอ้อม และค่าใช้จ่ายอื่นๆ อาทิเช่น ค่าน้ำ ค่าไฟฟ้าโรงงาน ค่าน้ำมันเชื้อเพลิง ค่าเช่าโรงงาน เป็นต้น เนื่องจากค่าใช้จ่ายเป็นแหล่งรวมของรายจ่ายต่างๆ ที่เกิดขึ้นจากการผลิต จึงมักมีปัญหาต่างๆ เกิดขึ้น ซึ่งแตกต่างจากวัตถุดิบทางตรง และค่าแรงงานทางตรง อันได้แก่

1. ค่าวัตถุดิบทางตรงและค่าแรงงานทางตรง นั้นเป็นต้นทุนผันแปรซึ่งจะแปรหรือเปลี่ยนแปลงตามปริมาณการผลิต ส่วนค่าใช้จ่ายการผลิตสามารถเป็นได้ทั้งต้นทุนคงที่และต้นทุนผันแปร โดยส่วนใหญ่มักจะเป็นต้นทุนคงที่ ทำให้ต้นทุนต่อหน่วยของการผลิตแต่ละระดับแตกต่างกันไป ดังนั้น ต้นทุนต่อหน่วยของผลิตภัณฑ์ในแต่ละงวดบัญชีจึงแตกต่างกันไปด้วย เป็นการยากในการนำข้อมูลดังกล่าวมาใช้ประโยชน์ในการบริหารงานของกิจการ

2. ในการผลิตผลิตภัณฑ์หนึ่ง ๆ นั้น สามารถระบุชี้ชัดได้ว่า ใช้วัตถุดิบทางตรงอะไรบ้าง เป็นจำนวนเท่าใด และคิดเป็นเงินเท่าไหร่ ส่วนค่าแรงงานทางตรงก็เช่นกัน กิจการสามารถระบุได้ว่าใช้เวลาในการผลิตไปนานเท่าใด คิดเป็นเงินกี่บาท แต่สำหรับค่าใช้จ่ายการผลิตเราไม่อาจแยกให้เห็นได้อย่างชัดเจนว่าการผลิตสินค้า 1 ชิ้น ประกอบไปด้วย ค่าน้ำ ค่าไฟ ค่าเชื้อเพลิง หรือค่าเช่าเป็นจำนวน เท่าใด

จากเหตุผล 2 ประการข้างต้น จึงทำให้การบัญชีเกี่ยวกับค่าใช้จ่ายค่อนข้างยุ่งยากพอสมควร และเหตุผลสำคัญอีกประการคือ มีการจำแนกประเภทค่าใช้จ่ายออกไปในรูปแบบต่างๆ ตามแต่วัตถุประสงค์ที่ผู้ใช้ต้องการใช้ โดยสามารถสรุปได้ดังนี้

1. แบ่งตามค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้น ซึ่งมี 3 ชนิด คือ

ก. วัตถุดิบทางอ้อม ได้แก่ พวกน้ำมันหล่อลื่น วัสดุทำความสะอาดโรงงาน หรือเครื่องจักร วัสดุที่ใช้ในโรงงานที่จำเป็นต่อการผลิตแต่มิได้ใช้ให้เห็นเด่นชัด หรือเป็นวัตถุที่มี การใช้ในปริมาณน้อย ต้นทุนต่ำ ถ้าแยกบันทึกเป็นต้นทุนทางตรงแล้วไม่คุ้มค่ากับ ผลประโยชน์ที่จะได้รับจากการแยกนั้นๆ

ข. ค่าแรงงานทางอ้อม ได้แก่ ค่าจ้าง หรือค่าแรงของพนักงานหรือคนงานที่ให้บริการแก่ฝ่ายต่างๆ ทั้งโรงงาน และช่วยให้การผลิตนั้นสำเร็จได้ แต่ไม่สามารถแยกให้เห็นเด่นชัดว่าเป็นของผลิตภัณฑ์ไหน จำนวนเท่าใด

ค. ค่าใช้จ่ายทั่วไปในโรงงาน ค่าใช้จ่ายเหล่านี้ได้แก่ ค่าเสื่อมราคาของสินทรัพย์ถาวรต่างๆ ในโรงงาน ค่าเช่า ค่าน้ำ ค่าไฟ ค่าภาษี ค่าประกันภัย ค่าโทรศัพท์ ฯลฯ

2. แบ่งตามความสามารถในการระบุ แบ่งได้เป็น 2 ประเภท ได้แก่

ก. ค่าใช้จ่ายการผลิตทางตรง หมายถึง ค่าใช้จ่ายการผลิตที่สามารถระบุ สามารถจำแนกได้ ว่าเป็นของโรงงานใด แผนกผลิตใด หรือผลิตภัณฑ์ชนิดใด ซึ่งคำว่า “ค่าใช้จ่ายการผลิตทางตรง” ทำให้ลักษณะของค่าใช้จ่ายประเภทนี้คล้ายหรือแทบจะเหมือนกับ วัตถุดิบทางตรง และค่าแรงทางตรง ดังนั้น การใช้ประโยชน์จากค่าใช้จ่ายประเภทนี้จึงค่อนข้างง่าย และเป็นที่นิยมผู้บริหารกิจการ

ข. ค่าใช้จ่ายการผลิตทางอ้อม หมายถึง ค่าใช้จ่ายการผลิตที่ไม่สามารถระบุได้ ไม่สามารถชี้ชัดได้ว่า เป็นค่าใช้จ่ายของหน่วยงานใด ค่าใช้จ่ายการผลิตประเภทนี้จึงต้องอาศัยการปันส่วนให้กับทุกหน่วยงาน ทุกแผนกผลิต และทุกผลิตภัณฑ์ที่เกี่ยวข้องหรือก่อให้เกิดค่าใช้จ่ายประเภทนี้ โดยกิจการต้องเลือกใช้ฐานที่เหมาะสมเป็นเกณฑ์ในการปันส่วน การจำแนกค่าใช้จ่ายในลักษณะนี้ มีความสำคัญอย่างยิ่งต่อการนำข้อมูลมาใช้ประโยชน์ด้านการบริหารงานและนอกจากนั้นยังจำเป็นต่อการคำนวณหาต้นทุนการผลิตต่อหน่วยของผลิตภัณฑ์ด้วย

3. การแบ่งค่าใช้จ่ายการผลิตตามหน้าที่ โดยทั่วไปในหน่วยผลิตหรือภายในโรงงานของกิจการมักแบ่งหน่วยงานออกเป็น 2 กลุ่มหลัก ๆ คือ กลุ่มที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับการผลิตซึ่งเราเรียกว่า แผนกผลิต (Operation department) และแผนกบริการ (Service department) ซึ่งมีหน้าที่ อำนวยความสะดวก หรือช่วยสนับสนุนงานการผลิต ให้ประสบความสำเร็จและเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ เช่น แผนกซ่อมบำรุงเครื่องจักร แผนกควบคุมคอมพิวเตอร์ ดังนั้นการค่าใช้จ่ายการผลิตในลักษณะนี้ จึงสามารถจำแนกได้เป็น 2 ประเภท คือ

ก. ค่าใช้จ่ายแผนกผลิต ซึ่งก็คือค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นในแผนกผลิตโดยตรง เช่น เงินเดือนผู้จัดการแผนกประกอบ ค่าน้ำมันเชื้อเพลิงในแผนกผสม ค่าวัสดุในการบรรจุหีบห่อ เป็นต้น

ข. ค่าใช้จ่ายแผนกบริการ หมายถึง ค่าใช้จ่ายต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในแผนกที่ไม่ได้ทำหน้าที่ผลิตโดยตรง แต่เป็นหน่วยงานสนับสนุนการผลิต ค่าใช้จ่ายประเภทนี้ได้แก่ ค่าวัสดุทำ ความสะอาดโรงงาน ค่าวัสดุซ่อมแซมคอมพิวเตอร์ เงินเดือนพนักงานซ่อมแซมเครื่องจักร เป็นต้น

4. การจำแนกค่าใช้จ่ายตามปริมาณการผลิตหรือจำแนกตามพฤติกรรมซึ่งจำแนกได้ 3ประเภท ดังนี้

ก. ค่าใช้จ่ายการผลิตผันแปร (Variable overhead) หมายถึง ค่าใช้จ่ายที่มียอดรวมเปลี่ยนแปลงไปตามปริมาณการผลิต คือ ผลิตมากค่าใช้จ่ายก็มาก ผลิตน้อยค่าใช้จ่ายก็น้อย และยิ่งไม่ผลิตเลย ค่าใช้จ่ายก็จะไม่เกิดขึ้น แต่ค่าใช้จ่ายผลิตผันแปรต่อหน่วยจะเท่ากันทุกหน่วย ค่าใช้จ่ายเหล่านี้ ได้แก่ วัสดุที่ใช้ในโรงงาน หรือวัตถุดิบทางอ้อมที่ใช้ในการผลิต ค่าน้ำมันเชื้อเพลิง ส่วนค่าแรงทางอ้อมนั้น หากจ่ายเป็นรายชั่วโมง ก็ถือเป็นค่าใช้จ่ายประเภทนี้ได้

ข. ค่าใช้จ่ายการผลิตคงที่ (Fixed overhead) หมายถึง ค่าใช้จ่ายที่มีความสัมพันธ์กับระยะเวลา โดยไม่มีความสัมพันธ์กับปริมาณการผลิต กล่าวคือ ไม่ว่ากิจการจะผลิตสินค้ามาก ผลิตน้อย หรือไม่ผลิตเลย ก็ไม่มีผลกระทบต่อค่าใช้จ่ายดังกล่าว แต่ค่าใช้จ่ายดังกล่าวจะ สัมพันธ์กับเวลาคือเมื่อถึงเวลาหรือครบกำหนดค่าใช้จ่ายชนิดนี้ก็จะเกิดขึ้นเอง เช่น ค่าเช่าที่ กิจการต้องจ่ายทุกสิ้นเดือน ค่าเสื่อมราคาที่ต้องมีการคิดทุกปี และเงินเดือนของพนักงานประจำ เป็นต้น ในการจ่ายค่าใช้จ่ายคงที่แต่ละครั้งนั้น ส่วนใหญ่จะเป็นจำนวนเดิม ดังนั้นทำให้ค่าใช้จ่ายคงที่ต่อหน่วยในแต่ละงวดแตกต่างกันไป เพราะค่าใช้จ่ายคงที่ต่อหน่วยเปลี่ยนแปลง คือ ยิ่งผลิตมากค่าใช้จ่ายคงที่ต่อหน่วยยิ่งลดลง แต่หากผลิตน้อยค่าใช้จ่ายคงที่ก็จะสูง ตัวอย่างเช่น กิจการแห่งหนึ่งทำการเช่าเครื่องจักรเข้ามาใช้ผลิตสินค้าในอัตราค่าเช่าเดือนละ 20,000 บาท ในเดือนมกราคม กิจการผลิตได้ 10,000 หน่วย ส่วนในเดือนกุมภาพันธ์ผลิตได้ 20,000หน่วย

ค่าเช่าต่อหน่วยเดือน ม.ค. = 20,000/10,000 = 2 บาท/หน่วย

เดือน ก.พ. = 20,000/20,000 = 1 บาท/หน่วย

ค. ค่าใช้จ่ายการผลิตผสม (Mixed overhead) หมายถึง ค่าใช้จ่ายที่มีทั้งค่าใช้จ่ายคงที่และผันแปรรวมอยู่ด้วยกัน นั่นหมายถึง ค่าใช้จ่ายประเภทนี้จะมีส่วนหนึ่งที่คงเดิม กล่าวคือไม่ว่าผลิตมาก ผลิตน้อย หรือไม่ผลิตเลย ก็ต้องจ่าย บวกกับส่วนของผันแปร ที่จะเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ถ้ากิจการผลิตสินค้ามากขึ้น ดังนั้น ถึงแม้ว่ากิจการไม่มีการผลิตสินค้า แต่กิจการก็ต้องจ่ายค่าใช้จ่ายประเภทนี้ เพราะมีส่วนของคงที่อยู่ ในขณะเดียวกัน หากกิจการผลิตสินค้าและผลิตเพิ่มขึ้น ค่าใช้จ่ายประเภทนี้ก็จะเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ แต่ไม่ได้เพิ่มขึ้นในสัดส่วนที่คงที่ เพราะค่าใช้จ่ายการผลิตผสมต่อหน่วยเปลี่ยนแปลงไป ยกตัวอย่างเช่น ค่าโทรศัพท์พื้นฐานประจำบ้าน ซึ่งมีค่าบริการรายเดือน 100 บาท/เดือน และมีค่าโทรศัพท์อีกครั้งละ 3 บาท หากเดือน ม.ค. กิจการใช้โทรศัพท์ 100 ครั้ง และในเดือน ก.พ. ใช้ 200 ครั้ง

ดังนั้น ค่าโทรศัพท์ที่ต้องจ่ายเดือน ม.ค. = 100 + (3*100) = 400 บาท

และค่าโทรศัพท์ต่อครั้ง = 400/100 = 4 บาท/ครั้ง

และ ในเดือน ก.พ. = 100 + (3*200) = 700 บาท

และค่าโทรศัพท์ต่อครั้ง = 700/200 = 3.5 บาท/ครั้ง

การต้องแยกค่าใช้จ่ายการผลิตออกเป็นประเภทต่าง ๆ ดังกล่าวข้างต้นนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประโยชน์ในการวางแผนการผลิตและการวางแผนงบประมาณ การวิเคราะห์ปริมาณต้นทุนและกำไร การตัดสินใจกำหนดระดับการผลิตและการกำหนดอัตราค่าใช้จ่าย การผลิตสำหรับผลิตภัณฑ์ค่าใช้จ่ายการผลิตในวิธีต้นทุนจริงและต้นทุนปกติ

ระบบต้นทุนจริง (Actual costing) เป็นการคำนวณต้นทุนผลิตภัณฑ์โดยจดบันทึกจากข้อมูลที่เกิดขึ้นจริง ทั้งในส่วนของวัตถุดิบทางตรง ค่าแรงงานทางตรง และค่าใช้จ่ายการผลิตแต่การคำนวณต้นทุนด้วยวิธีนี้ มักไม่ได้รับความนิยม เพราะสาเหตุส่วนใหญ่ที่กิจการต้องการทราบต้นทุนผลิตของผลิตภัณฑ์ ก็เพื่อนำมาใช้ในบริหารงานด้านต่างๆ เช่น การกำหนดราคาขาย การประมาณการกำไร การควบคุมต้นทุน เป็นต้น ซึ่งการกระทำดังกล่าวต้องกระทำให้ทันภายในช่วงระยะเวลาหนึ่ง ปัญหาที่เกิดขึ้นในระบบการคิดต้นทุนแบบนี้ก็คือในส่วนของค่าใช้จ่ายที่มักจะเกิดขึ้นตามระยะเวลานั่นหมายความว่า เมื่อถึงเวลาจึงจะ ทราบว่าค่าใช้จ่ายการผลิตนั้น ๆ เกิดขึ้นหรือไม่และมีจำนวนเท่าใดซึ่งระยะเวลาดังกล่าวอาจเป็นสิ้นเดือน หรือสิ้นปีด้วยเหตุนี้ ต้นทุนจริงจึงมักให้ข้อมูลที่ไม่ทันต่อการตัดสินใจหรือความต้องการของผู้บริหาร ดังนั้น จึงได้มีการพัฒนามาสู่การคำนวณต้นทุนด้วย “ต้นทุนปกติ” (Normal costing) ซึ่งก็คือ การคำนวณต้นทุนด้วย ข้อมูลจริงจากวัตถุดิบทางตรง ค่าแรงทางตรง ส่วนค่าใช้จ่ายการผลิตใช้จากข้อมูลประมาณการ หรือที่เรียกกันว่า “ค่าใช้จ่ายการผลิตคิดเข้างาน” หรือ “ค่าใช้จ่ายการผลิตจัดสรร”

การกำหนดอัตราค่าใช้จ่ายการผลิตการคำนวณต้นทุนการผลิตตามระบบต้นทุนปกตินี้ กิจการมักมีการกำหนดอัตราค่าใช้จ่ายการผลิตจัดสรร หรืออัตราค่าใช้จ่ายการผลิตคิดเข้างาน (Manufacturing overhead application rate) ไว้ล่วงหน้า

การกำหนดอัตราค่าใช้จ่ายการผลิต

การกำหนดอัตราค่าใช้จ่ายการผลิตจัดสรร หรือ อัตราค่าใช้จ่ายการผลิตคิดเข้างานหมายถึง กระบวนการในการประมาณการ หรือการคาดการณ์ถึงค่าใช้จ่ายการผลิตต่อหน่วย ต่อชั่วโมงแรงงานทางตรง ต่อชั่วโมงเครื่องจักร หรือต่อต้นทุนวัตถุดิบทางตรงไว้ล่วงหน้า ทั้งนี้แล้วแต่นโยบายของกิจการในการกำหนดฐานเพื่อใช้ปันส่วนค่าใช้จ่ายการผลิตเข้าเป็น ต้นทุนการผลิตต่อหน่วยของผลิตภัณฑ์ โดยสามารถคำนวณได้จาก

สิ่งสำคัญประการแรกที่กิจการจะต้องคำนึงถึงในการกำหนดอัตราค่าใช้จ่ายการผลิตจัดสรร คือ การประมาณการระดับการผลิตที่คาดว่าจะทำการผลิตในงวดเวลาหนึ่ง ๆ ทั้งนี้เพราะการ ประมาณการระดับการผลิตที่เหมาะสมและใกล้เคียงกับระดับการผลิตที่เกิดขึ้นจริง จะช่วยให้กิจการสามารถประมาณการค่าใช้จ่ายการผลิตที่คาดว่าจะเกิดขึ้นทั้งหมดในช่วงเวลานั้นได้อย่างแม่นยำมากขึ้น และข้อมูลด้านต้นทุนที่ได้รับ ก็จะเป็นประโยชน์ต่อการใช้ข้อมูลในทางการบริหารมากขึ้น

นอกจากนี้ ความเข้าใจเกี่ยวกับพฤติกรรมของค่าใช้จ่ายการผลิตไม่ว่าจะเป็น ค่าใช้จ่ายผลิต ผันแปร ค่าใช้จ่ายคงที่หรือแม้แต่ค่าใช้จ่ายผสมแต่ละประเภทมีพฤติกรรมหรือลักษณะอย่างไรก็จะช่วยให้การประมาณการค่าใช้จ่ายการผลิตมีความเหมาะสมใกล้เคียงความเป็นจริงมากขึ้น การประมาณการระดับการผลิต สามารถพิจารณาได้ใน 3 ระดับ คือ

ก. ระดับผลิตในเชิงทฤษฎี(Theoretical or ideal capacity)

เป็นการประมาณการระดับการผลิตที่ให้ผลผลิตในสูงสุด (Maximum output) ซึ่งในลักษณะนี้ จะถือว่าการดำเนินการผลิตเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ 100% กล่าวคือ กิจการสามารถที่จะ ทำการผลิตได้ตลอด 24 ชั่วโมงในแต่ละวัน และสามารถทำการผลิตได้ทุกวันในหนึ่งปี โดยไม่มีการหยุดพักของเครื่องจักร และมีปัญหาใด ๆ ที่จะทำให้การผลิตต้องหยุดชะงัก ดังนั้นในทางปฏิบัติจริง การประมาณระดับการผลิตตามแนวความคิดนี้ จึงเป็นไปได้ยาก

ข. ระดับการผลิตปกติ (Normal capacity)

เป็นการประมาณการซึ่งคำนึงถึงแผนการผลิตระยะยาว อาจเป็นช่วงระยะเวลา 3 – 5 ปี โดยปกติการผลิตในช่วงระยะเวลาสั้น ๆ อาจไม่เท่ากัน เพราะระดับการผลิตในระยะสั้นมักขึ้นอยู่กับความต้องการของการตลาด แต่สำหรับในระยะยาวแล้ว ปริมาณการผลิตควรจะเป็นไปตามระดับปกติที่ประมาณไว้ วิธีนี้จะทำให้ปริมาณการผลิตไม่เปลี่ยนแปลงภายในช่วงระยะเวลาตามแผน ดังนั้น อัตราค่าใช้จ่ายการผลิตจัดสรรก็จะไม่เปลี่ยนแปลงในแต่ละงวดของช่วงเวลานั้นๆด้วย เว้นเสียแต่ค่าใช้จ่ายการผลิตบางรายการมีมูลค่าสูงขึ้น ก็อาจต้องมีการปรับปรุงบ้าง

ค. ระดับการผลิตที่คาดว่าจะผลิตจริง (Actual Expected capacity)

เป็นการประมาณระดับการผลิตตามแผนในระยะสั้น ทำการประมาณการแบบปีต่อปี คือ ใช้ข้อมูลในการประมาณการจากระดับผลิตจริงที่คาดว่าจะเกิดขึ้นในงวดถัดไป ดังนั้น การกำหนดอัตราค่าใช้จ่ายการผลิตจัดสรรก็จะเกิดขึ้นทุกปี แต่ละปีอาจไม่เท่ากัน เพราะค่าใช้จ่ายที่ประมาณการในแต่ละปีอาจไม่เท่ากัน หรือไม่ก็ระดับการผลิตในแต่ละปีอาจแตกต่างกันไป แต่การประมาณการระดับนี้จะให้ข้อมูลที่ใกล้เคียงความเป็นจริงได้มากกว่าวิธีอื่น เนื่องจาก เป็นการประมาณการในช่วงสั้น

ข้อใดเป็นค่าใช้จ่ายในการผลิตคงที่

ข. ค่าใช้จ่ายการผลิตคงที่ (Fixed overhead) หมายถึง ค่าใช้จ่ายที่มีความสัมพันธ์กับระยะเวลา โดยไม่มีความสัมพันธ์กับปริมาณการผลิต กล่าวคือ ไม่ว่ากิจการจะผลิตสินค้ามาก ผลิตน้อย หรือไม่ผลิตเลย ก็ไม่มีผลกระทบต่อค่าใช้จ่ายดังกล่าว แต่ค่าใช้จ่ายดังกล่าวจะ สัมพันธ์กับเวลาคือเมื่อถึงเวลาหรือครบกำหนดค่าใช้จ่ายชนิดนี้ก็จะเกิดขึ้น ...

ค่าใช้จ่ายประเภทใดจัดเป็นต้นทุนคงที่

1 ต้นทุนคงที่ (Fixed Cost) คือต้นทุนพื้นฐานที่เอสเอ็มอีต้องจ่าย ไม่ว่าจะผลิตหรือขายมากน้อยเพียงใด ก็มีต้นทุนที่ต้องจ่ายเท่าเดิม เช่น ค่าซื้อเครื่องจักร ค่าเช่าที่ เงินเดือนพนักงาน ค่าชั้นวางสินค้า ดอกเบี้ยเงินกู้ธนาคาร ซึ่งต้นทุนคงที่จะถูกคำนวณเป็นต้นทุนต่อหน่วยได้ด้วยการหารเฉลี่ย ยกตัวอย่างเช่น ค่าเช่าที่ ซึ่งธุรกิจ ...

ข้อใดเป็นค่าใช้จ่ายในการผลิต

ค่าใช้จ่ายในการผลิตเป็นต้นทุนในการผลิตสินค้าอย่างหนึ่งได้แก่ วัตถุดิบทางอ้อม ค่าแรงงานทางอ้อม ค่าประกันภัยโรงงาน ค่าซ่อมแซมโรงงาน ค่าใช้จ่ายเหล่านี้ไม่มีความสัมพันธ์โดยตรงกับผลิตภัณฑ์ นอกจากนั้นยังมีค่าใช้จ่ายในการผลิตบางประเภทที่ไม่อาจคิดโดยตรงกับแผนกต่าง ๆ ได้แก่เงินเดือนผู้ควบคุมโรงงาน ค่าเสื่อมราคาโรงงาน ค่าใช้จ่าย ...

ค่าใช้จ่ายในการผลิตถือเป็นส่วนหนึ่งของต้นทุนประเภทใด

ค่าใช้จ่ายการผลิต เป็นส่วนประกอบส่วนหนึ่งของต้นทุนการผลิต ค่าใช้จ่ายใดๆ ที่เป็นต้นทุน การผลิตที่มิใช่วัตถุดิบทางตรงและค่าแรงทางตรง จะถือเป็นค่าใช้จ่ายการผลิต ค่าใช้จ่ายการ ผลิต อาจเรียกว่า โสหุ้ย การผลิตหรือค่าใช้จ่ายโรงงาน แบ่งออกเป็น ค่าใช้จ่ายการผลิตของ แผนกผลิต และค่าใช้จ่ายการผลิตของแผนกบริการ