ข้อ ใด เป็นลักษณะ การตั้งถิ่นฐานของประชากร ในภาค ตะวันออก เฉียงเหนือ

ลักษณะการตั้งถิ่นฐาน

การสร้างบ้านของชุมชนในภูมิภาคตะวันออกเฉียงใต้ตั้งแต่สมัยโบราณมักเลือกทำเลที่ตั้งอยู่ตามที่ราบลุ่มที่มีแม่น้ำสำคัญ ๆ ไหลผ่าน เช่น แม่น้ำโขง แม่น้ำมูล แม่น้ำชี แม่น้ำสงคราม ฯลฯ รวมทั้งอาศัยอยู่ตามริมหนองบึง ถ้าตอนใดน้ำท่วมถึงก็จะขยับไปตั้งอยู่บนโคกหรือเนินสูง ดังนั้นชื่อหมู่บ้านในภาคอีสานจึงมักขึ้นต้นด้วยคำว่า      ลักษณะหมู่บ้านทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือหรือภาคอีสานนั้น มักจะอยู่รวมกันเป็นกระจุก ส่วนที่ตั้งบ้านเรือนตามทางยาวของลำน้ำนั้นมีน้อย ผิดกับทางภาคกลางที่มักตั้งบ้านเรือนตามทางยาว ทั้งนี้เพราะมีแม่น้ำลำคลองมากกว่า ซึ่งมีองค์ประกอบทั่วไปดังนี้

   1 แหล่งน้ำ นับเป็นสิ่งสำคัญอันดับแรก อาจเป็นหนองน้ำใหญ่ หรือห้วย หรือลำน้ำที่แยกสาขามาจากแม่น้ำใหญ่ ที่มีน้ำเฉพาะฤดูฝน ส่วนมากเป็นที่ราบลุ่มสามารถทำนาและเลี้ยงสัตว์ได้ในบางฤดูเท่านั้น ชื่อหมู่บ้านมักขึ้นต้นด้วยคำว่า “เลิง วัง ห้วย กุด หนอง และท่า” เช่น เลิงนกทา วังสามหม้อ ห้วยยาง กุดนาคำ หนองบัวแดง ฯลฯ

   2 บริเวณที่ดอนเป็นโคกหรือที่สูงน้ำท่วมไม่ถึง สามารถทำไร่และมีทุ่งหญ้าเลี้ยงสัตว์ มีทั้งที่ดอนริมแม่น้ำและที่ดอนตามป่าริมเขา แต่มีน้ำซับไหลมาบรรจบเป็นหนองน้ำ ชื่อหมู่บ้านมักขึ้นต้นด้วยคำว่า “โคก ดอน โพน และโนน” เช่น โคกสมบูรณ์ ดอนสวรรค์ โพนยางคำ ฯลฯ

    3 บริเวณป่าดง เป็นทำเลที่ใช้ปลูกพืชไร่และสามารถหาของป่าได้สะดวก มีลำธารไหลผ่าน เมื่ออพยพมาอยู่กันมากเข้าก็กลายเป็นหมู่บ้านและมักเรียกชื่อหมู่บ้านขึ้นต้นด้วยคำว่า “ดง ป่า และเหล่า” เช่น โคกศาลา ป่าต้นเปือย เหล่าอุดม ฯลฯ

   4 บริเวณที่ราบลุ่ม เป็นพื้นที่เหมาะในการทำนาข้าว และทุ่งหญ้าเลี้ยงสัตว์ในหน้าแล้ง ตัวหมู่บ้านจะตั้งอยู่บริเวณขอบหรือแนวของที่ราบติดกับชายป่า แต่น้ำท่วมไม่ถึงในหน้าฝน บางพื้นที่เป็นที่ราบลุ่มมีน้ำขังตลอดทั้งปี เรียกว่า “ป่าบุ่งป่าทาม” เป็นต้น

   5 บริเวณป่าละเมาะ มักเป็นที่สาธารณะสามารถใช้เลี้ยงสัตว์และหาของป่าเป็นอาหารได้ ตลอดจนมีสัตว์เล็กสัตว์น้อยที่นำมาเป็นอาหารยังชีพ รวมทั้งสมุนไพรใช้รักษาโรค และเป็นสถานที่ยกเว้นไว้เป็นดอนปู่ตา ตามคติความเชื่อของวัฒนธรรมกลุ่มไต-ลาว  

   การเลือกภูมิประเทศเพื่อตั้งหมู่บ้านในภาคอีสานจะเห็นได้ว่ามีหลักสำคัญอยู่ 3 ประการ คือ ต้องเลือกทำเลที่ประกอบด้วย

   • น้ำ เพื่อการยังชีพและประกอบการเกษตรกรรม

   • นา เพื่อการปลูกข้าว (ข้าวเหนียว) เป็นอาหารหลัก

   • โนน เพื่อการสร้างบ้านแปลงเมือง ที่น้ำท่วมไม่ถึง

    ส่วนใหญ่มีลักษณะเป็น “เรือนเครื่องสับ” สังเกตได้จากการเลือกใช้วัสดุ รูปแบบของการก่อสร้าง ประโยชน์ใช้สอยและความประณีตทางช่าง อาจจำแนกเรือนถาวรได้เป็น 3 ชนิด ดังนี้

    1 ชนิดเรือนเกย มีลักษณะใต้ถุนสูง หลังคาทรงจั่ว เสาใช้ไม้กลม 8 เหลี่ยม หรือเสา 4 เหลี่ยม ตัวเรือนประกอบด้วยเรือนใหญ่ เกย ชานแดด เรือนไฟ และฮ้างแอ่งน้ำ (ร้านหม้อน้ำ)

    2 ชนิดเรือนแฝด มีลักษณะใต้ถุนสูงและใช้เสากลมหรือเสาเหลี่ยมเช่นเดียวกัน ตัวเรือนประกอบด้วยเรือนใหญ่ เรือนแฝด เกย ชานแดด เรือนไฟ ฮ้างแอ่งน้ำ

    3 ชนิดเรือนโข่ง มีลักษณะใต้ถุนสูงและใช้เสากลมหรือเสาเหลี่ยม มีจั่วแฝดอยู่ชิดติดกัน ไม่นิยมมีเกย เรือนชนิดนี้ประกอบด้วย เรือนใหญ่ เรือนโข่ง ชานแดด เรือนไฟ และฮ้างแอ่งน้ำ

   ชาวอีสาน มีความเชื่อในการสร้างเรือนให้ด้านกว้างหันไปทางทิศตะวันออกและตะวันตก ให้ด้านยาวหันไปทางทิศเหนือและใต้ ซึ่งเป็นลักษณะที่เรียกว่า วางเรือนแบบ “ล่องตาเว็น” (ตามตะวัน) เพราะถือว่าหากสร้างเรือนให้ “ขวางตาวัน คือเป็นอัปมงคลทำให้ผู้อยู่ไม่มีความสุข บริเวณรอบ ๆ เรือนอีสานไม่นิยมทำรั้ว เพราะเป็นสังคมเครือญาติมักทำยุ้งข้าวไว้ใกล้เรือน บางแห่งทำเพิงต่อจากยุ้งข้าว มีเสารับมุงด้วยหญ้าหรือแป้นไม้ เพื่อเป็นที่ติดตั้งครกกระเดื่องไว้ตำข้าว ส่วนใต้ถุนบ้านซึ่งเป็นบริเวณที่มีการใช้สอยมากที่สุด จะมีตั้งแต่ตั้งหูกไว้ทอผ้า กี่ทอเสื่อแคร่ไว้ปั่นด้าย และเลี้ยงลูกหลาน นอกจากนั้นแล้ว ใต้ถุนยังใช้เก็บไหหมักปลาร้า และสามารถกั้นเป็นคอกสัตว์เลี้ยง ใช้เก็บเครื่องมือเกษตรกรรม ตลอดจนใช้จอดเกวียน

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

ภาคตะวันออก

ภูมิภาค

ข้อ ใด เป็นลักษณะ การตั้งถิ่นฐานของประชากร ในภาค ตะวันออก เฉียงเหนือ

ข้อ ใด เป็นลักษณะ การตั้งถิ่นฐานของประชากร ในภาค ตะวันออก เฉียงเหนือ

ข้อ ใด เป็นลักษณะ การตั้งถิ่นฐานของประชากร ในภาค ตะวันออก เฉียงเหนือ

ข้อ ใด เป็นลักษณะ การตั้งถิ่นฐานของประชากร ในภาค ตะวันออก เฉียงเหนือ

ข้อ ใด เป็นลักษณะ การตั้งถิ่นฐานของประชากร ในภาค ตะวันออก เฉียงเหนือ

จากซ้ายบนไปล่างขวา: อ่าวพัทยา, ท่าเรือแหลมฉบัง, เขาคิชฌกูฏ, อุทยานแห่งชาติหมู่เกาะช้าง และ อนุสาวรีย์สุนทรภู่

ข้อ ใด เป็นลักษณะ การตั้งถิ่นฐานของประชากร ในภาค ตะวันออก เฉียงเหนือ

ภาคตะวันออกในประเทศไทย

เมืองใหญ่สุดเทศบาลนครเจ้าพระยาสุรศักดิ์
จังหวัด

7 จังหวัด

  • จังหวัดจันทบุรี
  • จังหวัดฉะเชิงเทรา
  • จังหวัดชลบุรี
  • จังหวัดตราด
  • จังหวัดปราจีนบุรี
  • จังหวัดระยอง
  • จังหวัดสระแก้ว

พื้นที่
 • ทั้งหมด34,380 ตร.กม. (13,270 ตร.ไมล์)
ประชากร

 (พ.ศ. 2560)

 • ทั้งหมด4,743,840 คน
 • ความหนาแน่น140 คน/ตร.กม. (360 คน/ตร.ไมล์)
เขตเวลาUTC+7 (ไทย)
ข้อ ใด เป็นลักษณะ การตั้งถิ่นฐานของประชากร ในภาค ตะวันออก เฉียงเหนือ
ส่วนหนึ่งของสารานุกรมประเทศไทย

ภาคตะวันออก เป็นภูมิภาคย่อยทางตะวันออกของประเทศไทย เดิมถือเป็นส่วนหนึ่งของภาคกลาง อยู่ติดชายฝั่งอ่าวไทยด้านตะวันออก นับเป็นอีกภูมิภาคหนึ่งที่มีความสำคัญทางเศรษฐกิจ เนื่องจากเป็นแหล่งอุตสาหกรรม ผลไม้ และอัญมณีของประเทศ

ภูมิศาสตร์[แก้]

อาณาเขตติดต่อ[แก้]

พื้นที่ของภาคตะวันออกมีขอบเขตจรดภูมิภาคต่าง ๆ ดังนี้

  • ทิศเหนือ จรดภาคกลางและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
  • ทิศตะวันออก จรดประเทศกัมพูชา
  • ทิศใต้ จรดอ่าวไทย
  • ทิศตะวันตก จรดอ่าวไทยและภาคกลาง

ลักษณะภูมิประเทศ[แก้]

ภาคตะวันออกมีลักษณะภูมิประเทศเป็นที่ราบสูงสลับกับภูเขาลูกเตี้ยมาก มีชายฝั่งทะเลที่เรียบยาวและโค้งเว้า มีทิวเขาจันทบุรีอยู่ทางด้านชายฝั่งทะเลตะวันออก ทอดตัวไปทางด้านทิศตะวันตก จรดกับทิวเขาบรรทัด ซึ่งเป็นทิวเขาที่เป็นเส้นแบ่งเขตระหว่างประเทศไทยกับประเทศกัมพูชา และมีแม่น้ำสายสำคัญอยู่หลายสาย ที่ไหลลงสู่อ่าวไทยได้แก่ แม่น้ำระยอง แม่น้ำจันทบุรี แม่น้ำประแสร์ แม่น้ำตราด แม่น้ำบางปะกง

การแบ่งเขตการปกครอง[แก้]

ข้อ ใด เป็นลักษณะ การตั้งถิ่นฐานของประชากร ในภาค ตะวันออก เฉียงเหนือ

แผนที่ภาคตะวันออก กำหนดตามสภาพเศรษฐกิจและสังคม โดยคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ

การแบ่งจังหวัดเป็นภูมิภาคด้วยระบบ 6 ภาค เป็นการแบ่งที่เป็นทางการโดยคณะกรรมการภูมิศาสตร์แห่งชาติ และประกาศใช้โดยราชบัณฑิตยสภา[1] โดยภาคตะวันออกของระบบ 6 ภาคนี้ ประกอบไปด้วยเขตการปกครอง 7 จังหวัด ดังตารางข้างล่าง นอกจากนี้ ยังมีการจัดแบ่งภูมิภาคตามคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ กำหนดให้ภาคตะวันออกมีทั้งหมด 9 จังหวัด[1] ประกอบด้วย 7 จังหวัดข้างต้น รวมกับจังหวัดนครนายก และจังหวัดสมุทรปราการ

ตราประจำ
จังหวัด
ชื่อจังหวัด
อักษรไทย
ชื่อจังหวัด
อักษรโรมัน
จำนวนประชากร
(คน)
พื้นที่
(ตร.กม.)
ความหนาแน่น
(คน/ตร.กม.)
ข้อ ใด เป็นลักษณะ การตั้งถิ่นฐานของประชากร ในภาค ตะวันออก เฉียงเหนือ
จันทบุรี Chanthaburi 534,459 6,338.0 84.32
ข้อ ใด เป็นลักษณะ การตั้งถิ่นฐานของประชากร ในภาค ตะวันออก เฉียงเหนือ
ฉะเชิงเทรา Chachoengsao 709,889 5,351.0 132.66
ข้อ ใด เป็นลักษณะ การตั้งถิ่นฐานของประชากร ในภาค ตะวันออก เฉียงเหนือ
ชลบุรี Chonburi 1,509,125 4,363.0 345.89
ข้อ ใด เป็นลักษณะ การตั้งถิ่นฐานของประชากร ในภาค ตะวันออก เฉียงเหนือ
ตราด Trat 229,649 2,819.0 81.46
ข้อ ใด เป็นลักษณะ การตั้งถิ่นฐานของประชากร ในภาค ตะวันออก เฉียงเหนือ
ปราจีนบุรี Prachinburi 487,544 4,762.4 102.37
ข้อ ใด เป็นลักษณะ การตั้งถิ่นฐานของประชากร ในภาค ตะวันออก เฉียงเหนือ
ระยอง Rayong 711,236 3,552.0 200.23
ข้อ ใด เป็นลักษณะ การตั้งถิ่นฐานของประชากร ในภาค ตะวันออก เฉียงเหนือ
สระแก้ว Sakaeo 561,938 7,195.4 78.09

สถิติประชากร[แก้]

อันดับจังหวัดจำนวน (คน)
(31 ธันวาคม 2558)[2]
จำนวน (คน)
(31 ธันวาคม 2557)[3]
จำนวน (คน)
(31 ธันวาคม 2556)[4]
จำนวน (คน)
(31 ธันวาคม 2555) [5]
จำนวน (คน)
(31 ธันวาคม 2554) [6]
จำนวน (คน)
(31 ธันวาคม 2553) [7]
1 ชลบุรี 1,455,039 1,421,425 1,390,354 1,364,002 1,338,656 1,316,293
2 ฉะเชิงเทรา 700,902 695,478 690,226 685,721 679,370 673,933
3 ระยอง 688,999 674,393 661,220 649,275 637,736 626,402
4 สระแก้ว 556,922 552,187 550,937 548,342 545,596 544,100
5 จันทบุรี 531,037 527,350 524,260 521,812 516,855 514,616
6 ปราจีนบุรี 482,195 479,314 476,167 473,770 469,652 466,572
7 ตราด 229,435 224,730 224,010 222,855 222,013 220,921
รวม 4,644,529 4,574,877 4,517,174 4,465,777 4,409,878 4,362,837

อ้างอิง[แก้]

  1. ↑ 1.0 1.1 การแบ่งภูมิภาคในประเทศไทย
  2. กรมการปกครอง. กระทรวงมหาดไทย. "ประกาศสำนักทะเบียนกลาง กรมการปกครอง เรื่อง จำนวนราษฎรทั่วราชอาณาจักร แยกเป็นกรุงเทพมหานครและจังหวัดต่าง ๆ ตามหลักฐานการทะเบียนราษฎร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558." [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: http://stat.bora.dopa.go.th/stat/y_stat58.htm 2558. สืบค้น 16 กุมภาพันธ์ 2559.
  3. กรมการปกครอง. กระทรวงมหาดไทย. "ประกาศสำนักทะเบียนกลาง กรมการปกครอง เรื่อง จำนวนราษฎรทั่วราชอาณาจักร แยกเป็นกรุงเทพมหานครและจังหวัดต่าง ๆ ตามหลักฐานการทะเบียนราษฎร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557." [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: http://stat.bora.dopa.go.th/stat/y_stat57.html 2558. สืบค้น 1 มีนาคม 2558.
  4. ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศสำนักทะเบียนกลาง เรื่อง จำนวนราษฎรทั่วราชอาณาจักร แยกเป็นกรุงเทพมหานครและจังหวัดต่าง ๆ ตามหลักฐานการทะเบียนราษฎร ณ วันที่ ๓๑ ธันวาคม ๒๕๕๖, เล่ม ๑๓๑, ตอน ๔๑ ง , ๔ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๗, หน้า ๑
  5. กรมการปกครอง. กระทรวงมหาดไทย. "ประกาศสำนักทะเบียนกลาง กรมการปกครอง เรื่อง จำนวนราษฎรทั่วราชอาณาจักร แยกเป็นกรุงเทพมหานครและจังหวัดต่าง ๆ ตามหลักฐานการทะเบียนราษฎร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555." [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: http://stat.bora.dopa.go.th/stat/y_stat55.html 2555. สืบค้น 3 เมษายน 2556.
  6. กรมการปกครอง. กระทรวงมหาดไทย. "ประกาศสำนักทะเบียนกลาง กรมการปกครอง เรื่อง จำนวนราษฎรทั่วราชอาณาจักร แยกเป็นกรุงเทพมหานครและจังหวัดต่าง ๆ ตามหลักฐานการทะเบียนราษฎร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554." [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: http://stat.bora.dopa.go.th/stat/y_stat54.html 2555. สืบค้น 6 เมษายน 2555.
  7. กรมการปกครอง. กระทรวงมหาดไทย. "ประกาศสำนักทะเบียนกลาง กรมการปกครอง เรื่อง จำนวนราษฎรทั่วราชอาณาจักร แยกเป็นกรุงเทพมหานครและจังหวัดต่าง ๆ ตามหลักฐานการทะเบียนราษฎร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553." [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: [1] เก็บถาวร 2011-07-16 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน 2553. สืบค้น 22 มีนาคม 2554.

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]

  • ข้อ ใด เป็นลักษณะ การตั้งถิ่นฐานของประชากร ในภาค ตะวันออก เฉียงเหนือ
    ภาคตะวันออก (ประเทศไทย) คู่มือการท่องเที่ยวจากวิกิท่องเที่ยว (ในภาษาอังกฤษ)

ข้อใดเป็นลักษณะการตั้งถิ่นฐานของประชากรภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

การตั้งถิ่นฐานของประชากรภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ประชากรส่วนใหญ่เลือกตั้งถิ่นฐานบริเวณ ที่ดอน เพราะ ภูมิประเทศมีความแตกต่าง ขอบคุณรูปภาพจากhttps://encrypted-tbn0.gstatic.com Page 10 ประชากรส่วนใหญ่เลือกตั้งถิ่นฐานบริเวณ ที่ราบและที่ราบลุ่ม เช่น แม่น้าป่าสัก แม่น้าเจ้าพระยา แม่น้าลพบุรีแม่น้าแม่กลอง

ข้อใดเป็นลักษณะการตั้งถิ่นฐานของประชากรในภาคเหนือ

นับตั้งแต่มีการสร้างบ้านแปงเมืองขึ้น เป็นรัฐ เป็นต้นมา ชาวภาคเหนือ หรือพวกล้านนา ส่วนใหญ่จะตั้งหลักแหล่งบนที่ราบลุ่มในหุบเขา ตามริมลำน้ำ หรือลำธาร และมีอาชีพส่วนใหญ่ในการทำนา การขยายตัวของการตั้งถิ่นฐานนั้นก็คือ เคลื่อนย้ายเข้าไปหักร้างถางพงตามหุบเขาที่ยังไม่เคยมีผู้คนเข้าไปอยู่ จนกระทั่งปัจจุบันนี้ อาจกล่าวได้ว่า ...

ภาคตะวันออกเฉียงเหนือมีลักษณะอย่างไร

ภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย ลักษณะภูมิประเทศ ส่วนใหญ่เป็นที่ราบและที่ดอน เป็นแอ่งลาดเอียงไปทางตะวันออก เฉียงใต้และมีทิวเขาล้อมอยู่โดยรอบ สภาพภูมิอากาศส่วนใหญ่ จึงแห้งแล้ง โดยมีกิจกรรมทางเศรษฐกิจที่สาคัญในด้านต่าง ๆ เช่น การทานา การเพาะปลูกพืชไร่การปศุสัตว์การประมง และเป็นเส้นทางติดต่อค้าขายและขนส่งสินค้ากับประเทศ ...

ปัจจัยใดบ้างที่มีอิทธิพลต่อการตั้งถิ่นฐานในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

ชุมชนภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มักตั้งถิ่นฐานบริเวณใด เพราะเหตุใด ลักษณะภูมิประเทศ ตั้งอยู่บนแอ่งโคราชและแอ่งสกลนคร มีแม่น้าโขงกั้น ประเทศลาวทางทิศเหนือและตะวันออกของภาค ทางทิศใต้มีเทือกเขาพนมดงรักกั้นประเทศกัมพูชา และภาคตะวันออกของประเทศไทย เป็นเส้นทางคมนาคมสะดวก ที่ราบใกล้แหล่งน้า สภาพภูมิประเทศ ที่ราบมีความอุดมสมบูรณ์