ข้อใดเป็นลักษณะของการเขียนเรียงความ

Download แบบฝึกหัด : เรื่องการเขียนเรียงความ...

แบบฝึกหัด : เรือ่ งการเขียนเรียงความ คาชี้แจง  จงเลือกคาตอบข้อที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว ๑. “เรียงความที่ดีต้องมีเนื้อเรื่องหรือข้อความที่เกี่ยวโยงกันเป็นลาดับ” จากข้อความข้อใดกล่าวถูกต้อง ๑. เอกภาพ ๒. สัมพันธภาพ ๓. สารัตภาพ ๔. สาระสาคัญ ๒. เนื้อเรื่องของเรียงความควรมีกี่ย่อหน้า ๑. มี ๓ ย่อหน้ากาลังดี ๒. มี ๒ ย่อหน้าถึงจะพอดี ๓. จะมีกี่ย่อหน้าก็ได้ ๔. มี ๔ ย่อหน้าถึงจะดีที่สุด ๓. ข้อใดเป็นทักษะที่นักเรียนควรฝึกในการเขียนเรียงความก่อนข้ออื่นๆ ๑. การเขียนแนวคิดให้กระชับรับกับชื่อเรื่อง ๒. การลาดับเนื้อความให้ต่อเนื่องและตรงประเด็น ๓. การเน้นข้อความสาคัญโดยขยายความให้กระจ่าง ๔. การวางโครงเรื่องให้เป็นระเบียบ แล้วเรียบเรียงเนื้อความตามลาดับ ๔. ข้อใดสาคัญที่สุดที่ทาให้เรียงความมีคุณค่า ๑. มีเนื้อเรื่องบริบูรณ์ ๒. ใช้ภาษาง่ายสื่อความหมายดี ๓. ใช้ถ้อยคาไพเราะสละสลวย ๔. มีเนื้อเรื่องที่สนุกชวนติดตาม ๕. ข้อใดกล่าวเกี่ยวกับการเรียงความไม่ถูกต้อง ๑. บทสรุปของเรียงความจะเป็นสุภาษิตก็ได้ ๒. เรียงความคือ การนาเอาความรู้ความคิดมาเรียบเรียงขึ้นเป็นเรื่องราว ๓. คานาคือ การเขียนแนะนาเรื่องราวอย่างกว้างๆ แล้วนาเข้าสู่จุดที่ต้องการ ๔. ในแต่ละย่อหน้าของเรียงความประกอบด้วยใจความสาคัญหลายหัวข้อได้ ๖. ข้อใดกล่าวถึงเรียงความเกี่ยวกับเรื่องของโลกสาธารณะไม่ถูกต้อง ๑. เขียนด้วยภาษาที่เป็นแบบแผนเสมอ ๒. เขียนถึงเรื่องที่ใกล้ตัวหรือไกลตัวผู้เขียน ๓. เขียนถึงสิ่งที่เป็นรูปธรรมหรือนามธรรม ๔. เขียนจากประสบการณ์ ความรู้ ทรรศนะของตน ๗. ข้อใดคือความหมายของสารัตถภาพ ๑. การเน้นใจความสาคัญ ๒. ความสอดคล้องของเนื้อเรื่อง ๓. จุดมุ่งหมายของการเขียนเรียงความ ๔. การวางโครงเรื่องเพื่อจัดลาดับก่อนหลัง

๘. ข้อใดเป็นลักษณะของการเขียนคานาที่ดี ๑. มีเอกภาพ ๒. มีสัมพันธภาพ ๓. ไม่ยาวจนเกินไป ๔. เขียนโดยนึกถึงผู้อ่านเป็นสาคัญ ๙. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้อง ๑. เรียงความที่ดีต้องมีสาระและหลักฐานน่าเชื่อถือ ๒. เรียงความที่ดีต้องใช้โวหารและสุภาษิตประกอบเรื่อง ๓. เรียงความที่ดีต้องประกอบด้วยโครงเรื่องดีและความคิดดี ๔. จุดมุ่งหมายของเรียงความโลกสาธารณะคือต้องจรรโลงสังคมให้คงอยู่ด้วยดี ๑๐. การเขียนเรียงความข้อใดไม่ถูกต้อง ๑. ชื่อเรื่องอยู่กึ่งกลางหน้ากระดาษ ๒. ต้องมี คานา เนื้อเรื่อง และสรุป ๓. เขียนด้วยลายมือที่อ่านง่าย สะกดถูกต้อง ๔. ต้องมีย่อหน้ามากๆ เพื่อทาให้จดจาได้ง่าย ๑๑. ข้อความต่อไปนี้ไม่เหมาะที่จะเป็นประโยคแรกในส่วนใดของเรียงความเรื่อง “อาหารไทย” “วัฒนธรรมการกินอาหารของคนไทยดังกล่าวเกิดจากการประสานภูมิปัญญาด้านอาหารจากหลายๆ ชาติมาดัดแปลงเป็นอาหารไทย” ๑. ส่วนนาเรื่อง ๒. ส่วนขยายเรื่อง ๓. ส่วนสรุปเรื่อง ๔. การยกตัวอย่าง อ่านข้อความต่อไปนี้แล้วตอบคาถามข้อ ๑๒-๑๓ ในหนังสือเล่มนี้กล่าวถึงพฤติกรรมในการสื่อสารให้ละเอียดยิ่งขึ้น อันเป็นการพัฒนาทักษะในการฟัง พูด อ่าน และเขียน ให้มีคุณภาพและประสิทธิภาพสูงที่สุดตามศักยภาพของนักเรียน ๑๒. ข้อความข้างต้นควรเป็นส่วนใดของเรียงความ ๑. หัวเรื่อง ๒. คานา ๑๓. ข้อความนี้เขียนเพื่อเหตุใด ๑. แสดงเหตุผล ๓. แสดงความคิดเห็น

๓. เนื้อเรื่อง ๒. แสดงจุดประสงค์ ๔. แสดงผลลัพธ์

๔. สรุป

๑๔. ส่วนใดเป็นลักษณะของคานา ๑. อยู่ตอนต้นข้อความพอประมาณ ๒. อยู่ตอนต้นแนะนาผู้อ่าน ๓. อยู่ตอนต้นข้อความไม่ยืดยาว ๔. อยู่ตอนต้นอธิบายความเป็นมาของเรื่อง ๑๕. ส่วนใดของเรียงความที่ต้องขึ้นย่อหน้าใหม่ หาไม่แล้วอาจทาให้ผู้อ่านไม่เข้าใจสาระสาคัญของเรื่อง ๑. ส่วนคานา ๒. ส่วนเนื้อเรื่อง ๓. ส่วนที่ยกมาเป็นตัวอย่าง ๔. ส่วนสรุป ................................................

แบบประเมินค่าความสอดคล้อง (IOC) ของแบบทดสอบ

วัดความรู้ ความเข้าใจ และทักษะการเขียนเชิงสร้างสรรค์ เรื่อง การเขียนเรียงความเชิงสร้างสรรค์

----------------------------------------------------

โครงการวิจัย เรื่อง รูปแบบการเรียนรู้แบบร่วมกันผ่านเว็บบล็อกและเครือข่ายสังคมออนไลน์สอนทักษะ
การเขียนเชิงสร้างสรรค์สำหรับครูผู้สอนภาษาไทยระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่
2 ในสามจังหวัดชายแดนใต้

คำชี้แจง

1.     ครูผู้สอนภาษาไทยทุกท่าน โปรดร่วมพิจารณาว่าข้อคำถามสามารถวัดได้ตามวัตถุประสงค์ที่กำหนดหรือไม่
โดยกาเครื่องหมาย
P ลงในช่อง  +1 หากเห็นว่าสอดคล้อง  ช่อง 0 หากไม่แน่ใจ และ -1 หากเป็นว่า
ไม่สอดคล้อง และโปรดให้ข้อแนะนำในการปรับแก้ไขข้อสอบ ลงในช่อง ข้อเสนอแนะ

2.  วัตถุประสงค์มีทั้งหมด 5 ข้อ แต่ละข้อ โปรดให้น้ำหนักคะแนนความสำคัญ รวมกันแล้ว ไม่เกิน 15 คะแนน

วัตถุประสงค์/

คำถามและคำตอบ

ค่าดัชนีความสอดคล้อง

ข้อเสนอแนะ

+1

0

-1

วัตถุประสงค์ที่ 1บอกองค์ประกอบของเรียงความได้

น้ำหนักคะแนน………………………….

1. เรียงความ หมายถึงข้อใด

   ก.การเขียนพรรณนาด้วยบทกวี

   ข.การเขียนอธิบายเหตุและผลอย่างเป็นลำดับ

   ค.การเขียนจะถ่ายทอดความรู้ ความคิด ทรรศนะ 

   ง.การเขียนรายงานเป็นบทๆ เพื่อนำเสนอเรื่องราว

2. ข้อใดเป็นองค์ประกอบส่วนสุดท้ายของเรียงความ

   ก.สรุป

   ข.คำนำ

   ค.ชื่อเรื่อง

   ง.เนื้อความ

3. ข้อใดเป็นองค์ประกอบส่วนแรกของเรียงความ

   ก.สรุป

   ข.คำนำ

   ค.ชื่อเรื่อง

   ง.เนื้อความ

4. ส่วนที่เป็นการเขียนเน้นความรู้ ความคิดหลักหรือประเด็น

   สำคัญของเรียงความที่เขียนอีกครั้งหนึ่ง เพื่อเป็นการเพิ่ม

   คุณค่าของเนื้อหา หมายถึงส่วนใด 

   ก.สรุป

   ข.คำนำ

   ค.ชื่อเรื่อง

   ง.เนื้อความ

วัตถุประสงค์ที่ 2 บอกกระบวนการและหลักการเขียนเรียงความที่ดีได้

น้ำหนักคะแนน………………………….

1.    ข้อใด ไม่ใช่ หลักในการเขียนเรียงความที่ดี

   ก. เขียนถูกต้อง

   ข.ลายมือสวยงาม

   ค. เรียงประโยคได้ใจความ

   ง.  คัดลอกเนื้อหาหรือประโยคที่ดีจากของผู้อื่น

2.    ข้อใดเป็นหลักการวางโครงเรื่องการเขียนเรียงความที่ดี

   ก. วางโครงเรื่องตามสะดวกของผู้เขียน

   ข.วางโครงเรื่องจากหน่วยเล็กไปสู่หน่วยใหญ่

   ค. วางโครงเรื่องเรียงไม่ตามลำดับเวลาที่เกิดเหตุการณ์

   ง.  วางโครงเรื่องตามประสบการณ์ของผู้เขียนเรียงความ

3.    ข้อใด ไม่ใช่ศิลปะของการเขียนเรียงความ
  
ก.  การเลือกใช้คำที่สื่อความหมายชัดเจน
  
ข.  การใช้สำนวนและลีลาการเขียนที่เป็นของตนเอง
  
ค.  การเขียนข้อความแต่ละย่อหน้าให้สัมพันธ์สอดคล้องกัน
  
ง.  การโครงเรื่อง สรุปและคำนำ ให้เสนอเพียงความคิดเดียว

4.    ข้อใดเป็นลักษณะของการเขียนคำนำของเรียงความที่ดี

   ก.  ควรเขียนคำนำให้อ้อมค้อม เชื่อมโยงเนื้อหา

   ข.เขียนคำนำและสรุปให้ยาวมากกว่า 1 ย่อหน้า

   ค.  เขียนให้กระชับ เร้าความสนใจ และตรงประเด็น

   ง.เขียนคำนำให้สั้น ใช้คำที่เข้าใจยาก เพื่อนำเข้าสู่เนื้อหา

5.     ข้อใด เป็นหลักปฏิบัติที่ดีก่อนที่จะลงมือเขียนเรียงความ

   ก. ผู้เขียนเรียบเรียงประโยคให้เป็นเรื่องราว

   ข. เรียงความมีส่วนประกอบทั้งหมด ๔ ส่วน
   ค.  ผู้เขียนควรศึกษาเนื้อหาที่เกี่ยวข้องให้เข้าใจก่อน
   ง.  ผู้เขียนไม่สามารถสอดแทรกความคิดเห็นของตนได้

6.    ข้อใด เป็นวิธีการเขียนสรุปเรียงความที่ ไม่ถูกต้อง

   ก.  สรุปด้วยคำถาม

   ข.  สรุปด้วยข้อคิดเห็น

   ค.  สรุปด้วยคำคม บทกวี

   ง.สรุปด้วยชื่อเรื่องและประวัติผู้เขียน

วัตถุประสงค์ที่ 3 เขียนโครงเรื่องเรียงความตามหัวข้อที่กำหนดให้ได้

น้ำหนักคะแนน………………………….

1. การเขียนเรียงความมีลำดับการเขียนอย่างไร

   ก.  คำนำ  ชื่อเรื่อง  สรุป  เนื้อเรื่อง

   ข.  ชื่อเรื่อง  คำนำ  สรุป  เนื้อเรื่อง

   ค. ชื่อเรื่อง  คำนำ  เนื้อเรื่อง  สรุป

   ง.   สรุป  เนื้อเรื่อง  คำนำ  ชื่อเรื่อง

2. การวางโครงเรื่องก่อนเขียนเรียงความ มีประโยชน์อย่างไร
  
ก.  ช่วยกำหนดจุดประสงค์ของเรื่อง
  
ข.  ช่วยสร้างความเข้าใจในแต่ละย่อหน้า
  
ค.  ช่วยกำหนดขอบเขตในการเขียนแต่ละครั้ง
  
ง.  ช่วยให้เนื้อหามีเอกภาพและเสนอความคิดได้ตามลำดับ

3. โครงเรื่องเรียงความ เรื่องพระราชวังบางปะอิน  จังหวัด    พระนครศรีอยุธยา ต่อไปนี้ควรเรียงลำดับตามข้อใดจึงจะได้   ความสมบูรณ์
        .  ประวัติการก่อสร้าง       
       
.  สิ่งก่อสร้างในพระราชวัง

        .  ที่ตั้ง                              
        .  ความสำคัญทางประวัติศาสตร์

       
.  การอนุรักษ์และการบูรณะ

   .                                           
  
.           
   .                                        
   .           

4.     หากต้องการเขียนเรียงความเรื่อง แมวน้อยของฉัน ในส่วน    ของเนื้อหาควรมีเรื่องใดบ้าง

   ก. ชื่อ  ลักษณะ และและวัติของแมว

   ข. ข้อคิดจากเรื่อง , ลักษณะของแมว

   ค. ประเด็นสำคัญทั้งหมดพร้อมข้อคิด

   ง.  ประเภทของแมว, ประโยชน์ที่ได้จากแมว

5.  จงเรียงลำดับการเขียนเรียงความที่ดีให้ถูกต้อง
        ๑.  อ่านหัวเรื่องของเรียงความให้เข้าใจ
        ๒.  เขียนเรียงความตามลำดับหัวข้อ
        ๓.  เขียนด้วยลายมือที่สวยงาม
        ๔.  จดบันทึกเรื่องราวต่าง ๆ ที่สำคัญและจัดลำดับได้

   ก.       

   ข. ๔     

   ค. ๒     
   ง.       

วัตถุประสงค์ที่ 4  เลือกสรรถ้อยคำที่จะนำมาเขียนเรียงความได้

น้ำหนักคะแนน………………………….

1. เริ่มต้นเรื่อง ควรใช้ถ้อยคำจูงใจผู้อื่น คือส่วนใดของการ  เขียนเรียงความ

   ก.  สรุป

   ข.  คำนำ

   ค.  ชื่อเรื่อง

   ง.  เนื้อเรื่อง

2. ข้อใดเป็นหลักการเลือกสรรถ้อยคำในการเขียนเรียงความที่

   ไม่เหมาะสม

   ก.  ใช้ภาษาแบบเป็นทางการ 

   ข.  คำที่ใช้มีความหมาย สะกดถูกต้อง 

   ค.  คำที่ใช้กะทัดรัด ชัดเจนอ่านเข้าใจง่าย 

   ง.  ใช้คำที่ทันสมัย เป็นคำที่บัญญัติใหม่ของวัยรุ่น

3.   การเขียนอธิบายหรือบรรยายเหตุการณ์ที่เป็นข้อเท็จจริง   ตามลำดับเหตุการณ์ เป็นการเขียนตรงไปตรงมา ไม่เยิ่นเย้อ      หมายถึงข้อใด

   ก.  เทศนาโวหาร

   ข.อธิบายโวหาร

   ค.  บรรยายโวหาร

   ง.พรรณนาโวหาร

4.   ชี้แจงให้ผู้อ่านเข้าใจ ชี้ให้เห็นประโยชน์หรือโทษของเรื่องที่       กล่าวถึง เป็นการชักจูงให้ผู้อื่นคล้อยตาม หมายถึงข้อใด

   ก.  เทศนาโวหาร

   ข.อธิบายโวหาร

   ค.  บรรยายโวหาร

   ง.พรรณนาโวหาร

5.   การเขียนเป็นสำนวนเปรียบเทียบที่มีความคล้ายคลึงกัน เพื่อ        ทำให้ผู้อ่านเกิดความเข้าใจลึกซึ้งยิ่งขึ้น หมายถึงข้อใด

   ก.  อุปมาโวหาร

   ข.เทศนาโวหาร

   ค.  บรรยายโวหาร

   ง.พรรณนาโวหาร

วัตถุประสงค์ที่ 5 เขียนเรียงความเกี่ยวกับเรื่องเล่าประสบการณ์ผ่านเว็บบล็อกและเผยแพร่ได้

น้ำหนักคะแนน………………………….

1. ต่อไปนี้ เป็นข้อดีของการเขียนเรียงความผ่านเว็บบล็อก
   ยกเว้นข้อใด

   ก.  แทรกภาพประกอบเนื้อหาได้

   ข.  คัดลอกและวางเนื้อหาจากแหล่งข้อมูลได้

   ค.  เพิ่มความน่าสนใจด้วยการแทรกคลิปวีดิโอได้

   ง.  ผู้อ่านสามารถโต้ตอบและแลกเปลี่ยนข้อคิดเห็นได้

2. การกำหนดป้ายกำกับ (Tag) ให้กับเรียงความที่เผยแพร่
   มีประโยชน์อย่างไร

   ก.  สร้างความน่าสนใจให้กับผู้อ่าน

   ข.  จัดหมวดหมู่เนื้อหาของเรียงความได้

   ค.  สร้างความถูกต้องและความสมบูรณ์เพิ่มขึ้น

   ง.  ผู้อ่านสามารถโต้ตอบและเสนอแนะเกี่ยวกับเนื้อหาได้

3. การเผยแพร่เรียงความผ่านเว็บบล็อก ผู้เรียนต้องใช้ข้อมูลใดเพื่อเข้าใช้เว็บบล็อก

   ก.  บัญชี  Gmail ของ Google

   ข.  หมายเลขประจำตัวประชาชน

   ค.  ชื่อ-สกุลและเลขประจำตัวประชาชน

   ง.  ข้อมูลบัญชีผู้ใช้ Facebook หรือ Google+

4. ข้อใดเป็นทักษะและประสบการณ์จากการเขียนเรียงความ     ผ่านเว็บบล็อกมากที่สุด

   ก.  การเขียนเรียงความที่ดี

   ข.  การใช้ ICT เพื่อการเรียนรู้

   ค.  การใช้ภาษาไทยได้ถูกต้อง

   ง.  การคัดลอกและจัดวางเนื้อหาได้รวดเร็ว

5.    ต่อไปนี้ ข้อใดไม่สามารถทำได้จากการเขียนเรียงความผ่าน      เว็บบล็อก

   ก.เผยแพร่ภาพที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหา

   ข.การแชร์เรียงความผ่าน Facebook

   ค.ส่งและแชร์เรียงความเผยแพร่ผ่านอีเมล

   ง.แก้ไขเนื้อหาเรียงความให้กับเพื่อนร่วมชั้น