7 ข้อใดกล่าว ไม่ ถูก ต้อง เกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี

7 ข้อใดกล่าว ไม่ ถูก ต้อง เกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี

Digital literacy คืออะไร

ทักษะความเข้าใจและใช้เทคโนโลยีดิจิทัล หรือ Digital literacy หมายถึง ทักษะในการนำเครื่องมือ อุปกรณ์ และเทคโนโลยีดิจิทัลที่มีอยู่ในปัจจุบัน อาทิ คอมพิวเตอร์ โทรศัพท์ แทปเลต โปรแกรมคอมพิวเตอร์ และสื่อออนไลน์ มาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด ในการสื่อสาร การปฏิบัติงาน และการทำงานร่วมกัน หรือใช้เพื่อพัฒนากระบวนการทำงาน หรือระบบงานในองค์กรให้มีความทันสมัยและมีประสิทธิภาพ

     ทักษะดังกล่าวครอบคลุมความสามารถ 4 มิติ

  • การใช้ (Use)
  • เข้าใจ (Understand)
  • การสร้าง (create)
  • เข้าถึง (Access) เทคโนโลยีดิจิทัล ได้อย่างมีประสิทธิภาพ

7 ข้อใดกล่าว ไม่ ถูก ต้อง เกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี

หมายเหตุ ในระยะเริ่มต้นของการพัฒนาทักษะด้านดิจิทัลให้แก่ข้าราชการและบุคลากรภาครัฐ ได้มีการนำ “มาตรฐานสมรรถนะสาขาผู้ใช้ไอที (Digital Literacy) จัดทำโดยสถาบันคุณวุฒิวิชาชีพ (องค์การมหาชน) และมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี” ซึ่งมีความชัดเจนและครอบคลุมองค์ประกอบที่จำเป็น  มาใช้ไปพลางก่อน และในระยะต่อไป สำนักงาน ก.พ. จะร่วมกับสถาบันคุณวุฒิวิชาชีพ (องค์การมหาชน) จัดทำ องค์ประกอบทักษะความเข้าใจและใช้เทคโนโลยีดิจิทัลให้เหมาะสมและสอดคล้องกับบริบทและลักษณะงานของข้าราชการและบุคลากรภาครัฐมากขึ้น


7 ข้อใดกล่าว ไม่ ถูก ต้อง เกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี

7 ข้อใดกล่าว ไม่ ถูก ต้อง เกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี

Infographics ทั้งหมด

ในปัจจุบันโลกมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว จากยุค Analog ไปสู่ยุค Digital และยุค Robotic จึงทำให้เทคโนโลยีดิจิทัลมีอิทธิพลต่อการดำรงชีวิตและการทำงาน ข้าราชการซึ่งเป็นแกนหลักของการพัฒนาประเทศ จึงต้องปรับตัวให้สอดคล้องกับบริบทของการเปลี่ยนแปลง เพื่อป้องกันไม่ให้เกิด culture shock เนื่องจากการเปลี่ยนผ่านเทคโนโลยี และเพื่อป้องกันความเสี่ยงที่อาจเกิดจากการใช้เทคโนโลยีที่ไม่เหมาะสม เช่น การสูญเสียการเป็นส่วนตัว ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน การโจรกรรมข้อมูล การโจมตีทางไซเบอร์ เป็นต้น

Digital literacy หรือทักษะความเข้าใจและใช้เทคโนโลยีดิจิทัล เป็นทักษะด้านดิจิทัลพื้นฐานที่จะเป็นตัวช่วยสำคัญ สำหรับข้าราชการในการปฏิบัติงาน การสื่อสาร และการทำงานร่วมกันกับผู้อื่นในลักษณะ “ทำน้อย ได้มาก” หรือ “Work less but get more impact” และช่วยส่วนราชการสร้างคุณค่า (Value Co-creation) และความคุ้มค่าในการดำเนินงาน (Economy of Scale) เพื่อการก้าวไปสู่การเป็นประเทศไทย 4.0 อีกทั้งยังเป็นเครื่องมือช่วยให้ข้าราชการ สามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองเพื่อให้ได้รับโอกาสการทำงานที่ดีและเติบโตก้าวหน้าในอาชีพราชการ (Learn and Growth) ด้วย


7 ข้อใดกล่าว ไม่ ถูก ต้อง เกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี

ประโยชน์สำหรับข้าราชการ

  • ทำงานได้รวดเร็วลดข้อผิดพลาดและมีความมั่นใจในการทำงานมากขึ้น
  • มีความภาคภูมิใจในผลงานที่สามารถสร้างสรรค์ได้เอง
  • สามารถแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นในการทำงานได้มีประสิทธิภาพมากขึ้น
  • สามารถระบุทางเลือกและตัดสินใจได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น
  • สามารถบริหารจัดการงานและเวลาได้ดีมากขึ้น และช่วยสร้างสมดุลในชีวิตและการทำงาน
  • มีเครื่องมือช่วยในการเรียนรู้และเติบโตอย่างเหมาะสม

ประโยชน์สำหรับส่วนราชการและหน่วยงานของรัฐ

  • หน่วยงานได้รับการยอมรับว่ามีความทันสมัย เปิดกว้าง และเป็นที่ยอมรับ ซึ่งจะช่วยดึงดูดและรักษาคนรุ่นใหม่ที่มีศักยภาพสูง มาทำงานกับองค์กรด้วย
  • หน่วยงานได้รับความเชื่อมั่นและไว้วางใจจากประชาชนและผู้รับบริการมากขึ้น
  • คนในองค์กรสามารถใช้ศักยภาพในการทำงานที่มีมูลค่าสูง (High Value Job) มากขึ้น
  • กระบวนการทำงานและการสื่อสารของงองค์กร กระชับขึ้น คล่องตัวมากขึ้น และมีประสิทธิภาพมากขึ้น
  • หน่วยงานสามารถประหยัดทรัพยากร (งบประมาณและกำลังคน) ในการดำเนินงานได้มากขึ้น

แบบทดสอบหลังเรียน

1. ข้อใดกล่าวถึงเทคโนโลยีได้อย่างถูกต้องที่สุด 
       ก. การนำเทคโนโลยีมาใช้ประโยชน์ 
       ข. การศึกษาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 
       ค. การประยุกต์ทฤษฎีสู่การปฏิบัติในการออกแบบ การพัฒนา การใช้ การจัดการ และการประเมินผล

           ของกระบวนการและทรัพยากรการเรียนรู้ 
        ง. การประยุกต์ทฤษฎี แนวคิด วิธีการ เพื่อนำมาใช้ในการจัดการเรียนการสอน

3. แนวคิดที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีการศึกษา มีกี่ประการ อะไรบ้าง 
       ก. 2 แนวคิดทางวิทยาศาสตร์กายภาพ แนวคิดทางพฤติกรรมศาสตร์  
       ข. 3 แนวคิดทางวิทยาศาสตร์กายภาพ แนวคิดทางพฤติกรรมศาสตร์แนวคิดทางปัญญาทัศนศาสตร์ 
       ค. 4 แนวคิดทางวิทยาศาสตร์กายภาพ แนวคิดทางพฤติกรรมศาสตร์ แนวคิดทางปัญญาทัศนศาสตร์ แนวคิด

           ทางคณิตศาสตร์ 
        ง.ไม่มีแนวคิดที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีการศึกษา

4. การเปรียบเทียบประสบการณ์ของนักเรียนโดยใช้ “กรวยแห่งประสบการณ์” เกี่ยวข้องกับแนวคิด

   ใด 
       ก. แนวคิดทางวิทยาศาสตร์กายภาพ 
       ข. แนวคิดทางพฤติกรรมศาสตร์ 
       ค. แนวคิดทางปัญญาทัศนศาสตร์ 
       ง. แนวคิดทางคณิตศาสตร์

5. การนำหลักการจากการผุดรู้และญาณวิทยามาใช้ในการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม เกี่ยวข้องกับ

    แนวคิดใด
       ก. แนวคิดทางวิทยาศาสตร์กายภาพ 
       ข. แนวคิดทางพฤติกรรมศาสตร์ 
       ค. แนวคิดทางปัญญาทัศนศาสตร์ 
       ง. แนวคิดทางคณิตศาสตร์

6. การนำวิธีการทางจิตวิทยา มนุษย์วิทยา กระบวนการกลุ่ม ภาษา ฯลฯ มาใช้ในเทคโนโลยีการ

    ศึกษา เป็นการจัดการตามแนวคิดใด 
       ก. แนวคิดทางวิทยาศาสตร์กายภาพ 
       ข. แนวคิดทางพฤติกรรมศาสตร์ 
       ค. แนวคิดทางปัญญาทัศนศาสตร์ 
       ง. แนวคิดทางคณิตศาสตร์

7. ข้อใดคือความหมายที่ถูกต้องที่สุดของ “นวัตกรรม” 
       ก. การกระทำที่ไม่เคยมีมาก่อน 
       ข. การกระทำที่รื้อฟื้นมาจากของเดิม 
       ค. การกระทำที่เอาแบบอย่างมาจากที่อื่น 
       ง. การกระทำที่ใช้แนวคิดหรือวิธีปฏิบัติใหม่ๆเพื่อแก้ปัญหาและพัฒนางาน

8. นวัตกรรมการศึกษามีความสำคัญต่อการจัดการศึกษาอย่างไร 
       ก. เพิ่มความสำคัญในตัวผู้สอน 
       ข. เพิ่มความสำคัญในตัวผู้เรียน 
       ค. ลดความสำคัญทั้งในตัวผู้สอนและผู้เรียน 
       ง. ช่วยแก้ไขปัญหาและพัฒนาการจัดการศึกษา

9. ขอบข่ายของเทคโนโลยีการศึกษา แบ่งออกได้เป็นกี่กลุ่ม 
       ก. 3 กลุ่ม 
       ข. 4 กลุ่ม 
       ค. 5 กลุ่ม
        ง. 6 กลุ่ม


10. บิดาของวิชาเทคโนโลยีการศึกษา คือใคร
       ก.โคมินิอุส
       ข. เฟรอเบล
       ค. กลุ่มโซฟิสต์
       ง. แลงแคสเตอร์