ข้อ ใด เป็น ส่วนหน้า ของรายงาน

องค์ประกอบของรายงาน

ข้อ ใด เป็น ส่วนหน้า ของรายงาน

องค์ประกอบของรายงาน ในที่นี้จะกล่าวถึงรายงานทางวิชา ซึ่งสามารถแบ่งได้เป็น 3 ส่วน ได้แก่

 1. ส่วนนำ คือ ส่วนที่อยู่ก่อนเนื้อเรื่อง  ประกอบด้วย  หน้าปก  คำขอบคุณ  (กิตติกรรมประกาศ)  คำนำ และเนื้อเรื่อง

                 1.1 หน้าปก

                 1.2 ปกรอง

                1.3  คำนำ

                1.4  คำขอบคุณหรือกิตติกรรมประกาศ

               1.5  สารบัญ

2.  ส่วนเนื้อหา  ส่วนที่เป็นเนื้อหา ผู้ทำรายงานจะต้องนำความรู้ ความเข้าใจ ความคิดเห็น หรือข้อสรุปที่ได้จากการศึกษาค้นคว้ามาจัดระเบียบ วิเคราห์ข้อมูล และเรียบเรียงดดยนำเสนอตามลำดับหัวข้อของโครงเรื่อง ซึ่งการเรียบเรียงผู้ทำรายงานควรใช้ภาษาของตนเองเพื่อให้ภาษาของรายงานมีความสม่ำเสมอ

               ส่วนเนื้อหา สามารถแบ่งได้เป็น 3 ส่วน ได้แก่

             2.1 บทนำ

            2.2  เนื้อหา

           2.3  ส่วนสรุป

3.  ส่วนท้าย  การเขียนรายงานส่วนท้าย เพื่อให้ผู้เขียนสามารถค้นคว้าหาข้อมูลรายละเอียดเพิ่มจากที่ทำผู้ทำรายงานหรือคณะผู้ทำรายงานได้นำเสนอ ซึ่งผู้ทำรายงานควรเรียบเรียงไว้อย่างเป็นระบบ เพื่อให้ง่ายแก่การค้นคว้าแหล่งอ้างอิงข้อมูลต่อไป ส่วนท้ายประกอบด้วยบรรณานุกรม หรือรายชื่อหนังสืออ้างอิง และอาจมีภาคผนวกด้วย

         3.1 บรรณนุกรรม

         3.2 ภาคผนวก

ที่มา:https://goo.gl/images/lziYAb

ที่มา:จากหนังสือการเขียนในชีวิตประจำวัน ชั้นมัธยมศึกษา ๔-๖

Share this:

  • Twitter
  • Facebook

Like this:

ถูกใจ กำลังโหลด...

รายงานมีส่วนประกอบสำคัญ 3 ส่วน คือ ส่วนประกอบตอนต้น ส่วนเนื้อหา รายละเอียดของแต่ละส่วนประกอบของรายงานต้องจัดทำตามแบบแผน

             การเสนอรายงานโดยเฉพาะรายงานที่เป็นลายลักษณ์อักษรนั้น ผู้ทำรายงานต้องคำนึงถึงการจัดรูปเล่ม และการจัดเรียงลำดับส่วนประกอบต่าง ๆ ของรายงานด้วย ทั้งนี้เพื่อให้เป็นไปตามหลักสากล น่าอ่าน น่าเชื่อถือ และน่าติดตาม

ส่วนประกอบของรายงาน 

รายงานมีส่วนประกอบสำคัญ 3 ส่วน คือ

1. ส่วนประกอบตอนต้น ได้แก่

    1.1 ปกนอก (cover or binding)

    1.2 หน้าชื่อเรื่อง (title page)

    1.3 หน้าคำนำ (preface)

    1.4 สารบัญ (contents)

    1.5 สารบัญตาราง (list of tables)

    1.6 สารบัญภาพประกอบ (list of figures)

2. ส่วนเนื้อหา เป็นส่วนของข้อความที่เรียบเรียงจากการค้นคว้า ภายในเนื้อหา

อาจมีส่วนประกอบ ได้แก่

    2.1 ข้อความที่คัดลอกมา (quotations)

    2.2 การอ้างอิง (references)

    2.3 บันทึกเพิ่มเติม เช่น เชิงอรรถ (notes)

    2.4 ตาราง (tables)

    2.5 ภาพประกอบ (figures)

3. ส่วนประกอบตอนท้าย ได้แก่

    3.1 หน้าบอกตอน (half title page)

    3.2 บรรณานุกรม (bibliography)

    3.3 ภาคผนวก (appendix)

    3.4 อภิธานศัพท์ (glossary)


เอกสารอ้างอิง

ศุภรางศุ์ อินทรารุณ. (ม.ป.ป.). เอกสารประกอบคำสอนรายวิชาปัญหาการใช้

                         ภาษาไทย. ชลบุรี : ภาควิชาภาษาไทย คณะมนุษยศาสตร์และ

                         สังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา. (อัดสำเนา).

มนุษย์ติดโซเชียล พร้อมพาส่องหนุ่มหล่อสาวสวยมากความสามารถ ชอบอัปเดตเทรนด์ของโลก มีอะไรปังๆ ดังๆ ก็ไม่พลาดเอามาเล่าให้เพื่อนๆ ได้อ่านกัน

การเขียนรายงาน คือการเขียนเสนอผลงานอันได้มาจากการศึกษาค้นคว้าพิเศษนอกเหนือจากเรื่องที่ได้ศึกษาในชั้นเรียนเพื่อส่งเสริมให้ผู้เรียนรู้จักแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง

รูปแบบของรายงาน

รูปแบบของการรายงาน แบ่งออกเป็น 3 ส่วน คือ ส่วนประกอบตอนต้น ส่วนเนื้อหา และส่วนประกอบตอนท้าย ดังนี้

ส่วนประกอบตอนต้น

  1. หน้าปกรายงาน ส่วนบนเขียนชื่อเรื่อง ส่วนกลางชื่อผู้รายงาน ส่วนล่างบรรทัดแรกให้เขียนว่า “ รายงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาวิชา… ” บรรทัดที่สองเป็นชื่อสถาบันศึกษา ส่วนบรรทัดที่สามบอกภาคที่เรียนและปีการศึกษา
  2. คำขอบคุณ เป็นส่วนที่ไม่บังคับ อาจมีหรือไม่มีก็ได้
  3. คำนำ เป็นการบอกขอบข่ายของเรื่อง สาเหตุที่ทำให้เลือกทำรายงานเรื่องนี้ จุดมุ่งหมายในการเขียน
  4. สารบัญ หมายถึง บัญชีบทต่าง ๆ ในสารบัญมีบทและตอนต่าง ๆ เรียงตามลำดับกับที่ปรากฏในหนังสือ ตลอดจนการขอบคุณผู้ที่ช่วยเหลือในการทำรายงาน
  5. บัญชีตารางหรือภาพประกอบ (ถ้ามี) เพื่อให้มีเนื้อหาที่สมบูรณ์ยิ่งขึ้น รายงานบางเรื่องอาจต้องใช้ตาราง นิยมทำบัญชีตารางหรือบัญชีภาพประกอบไว้ในหน้าถัดไปจากสารบัญ

ส่วนเนื้อเรื่อง

  1. ส่วนที่เป็นเนื้อหา ต้องมีตอนนำ ตอนตัวเรื่อง และตอนลงท้ายเช่นเดียวกับการเขียนเรียงความ
  2. ส่วนประกอบในเนื้อหา ได้แก่
    • อัญประกาศ คือข้อความที่คัดมาจากคำพูดหรือข้อเขียนของผู้อื่น โดยไม่ได้ดัดแปลง
    • เชิงอรรถ คือข้อความท้ายหน้า มีไว้เพื่อแจ้งที่มาของข้อความในตัวเรื่อง

ส่วนประกอบตอนท้าย

  1. บรรณานุกรม คือ รายชื่อสิ่งพิมพ์ตลอดจนวัสดุอ้างอิงทุกชนิด ที่เกี่ยวข้องกับการทำรายงาน พิมพ์ไว้ ตอนท้ายสุดของรายงาน การเขียนบรรณานุกรม ต้องบอกชื่อสกุลผู้แต่ง ชื่อหนังสือ ครั้งที่พิมพ์
    • เมืองที่พิมพ์ สำนักพิมพ์ ปีที่พิมพ์ จำนวนหน้า
  2. ภาคผนวกหรืออภิธานศัพท์ คือ ส่วนที่นำมาเพิ่มเติมท้ายรายงานเพื่อให้ผู้อ่านเข้าใจแจ่มแจ้งยิ่งขึ้น

กระบวนการเขียนรายงาน

ขั้นตอนการเขียนรายงาน มีดังนี้

  1. การเลือกเรื่องและตั้งชื่อเรื่อง เรื่องที่เลือกมาศึกษา ควรเป็นเรื่องที่เสริมความรู้ในการเรียนวิชาใดวิชาหนึ่ง ขอบเขต ที่เลือกควรเหมาะสมกับเวลาในการค้นคว้าและการเขียนรายงาน
  2. การกำหนดจุดมุ่งหมายและขอบเขตของเรื่อง จะต้องมีจุดมุ่งหมายและเสนอเรื่องราวเกี่ยวกับอะไร เพื่ออะไร มีขอบเขตเพียงใด เช่น หากจะเขียนรายงานเรื่องพิธีมงคลโกนจุกอาจกำหนดจุดมุ่งหมายและขอบเขต ดังนี้
    • จุดมุ่งหมาย : การศึกษาประเพณีไทยโบราณ
    • ขอบเขต : ความเป็นมาและงานพิธีโกนจุก
  3. การเขียนโครงเรื่อง โครงเรื่อง คือ กรอบ ของเรื่องที่ใช้เป็น แนว ในการเขียนรายงานโครงเรื่องประกอบด้วย
    • บทนำหรือความนำซึ่งมีหัวข้อใหญ่และหัวข้อย่อย ควรตั้งชื่อให้กะทัดรัด ใจความครอบคลุมเนื้อหา
  4. การเขียนเนื้อหา ได้จากการค้นคว้า จากแหล่งต่าง ๆ ไม่ว่าจากการอ่าน การฟัง การสังเกต การสัมภาษณ์ ฯลฯ ที่ผู้เขียนได้บันทึกไว้ แต่ไม่ใช่การคัดลอกหรือตัดต่อ ผู้เขียนเรียบเรียงด้วยสำนวนของตนเอง สำนวนภาษาควรอ่านเข้าใจง่าย ใช้คำที่เหมาะสม ประโยคกะทัดรัด
  5. บทสรุป คือสรุปผลการศึกษาค้นคว้า มีการอภิปรายผลการศึกษาค้นคว้าและเสนอแนะ ( ถ้ามี )
  6. การอ้างถึง หมายถึงการบอกให้ทราบว่าข้อความที่ใช้ในการเขียนรายงานมาจากแหล่งใด เพื่อผู้อ่านจะได้ตรวจสอบหรือติดตามอ่านเพิ่มเติม

การจัดรูปแบบการเขียนรายงาน เรียงลำดับตามนี้

  1. หน้าปก
  2. หน้ารองปก (กระดาษเปล่า)
  3. หน้าปกใน (รายละเอียดเหมือนหน้าปกแต่ใช้กระดาษสีขาว)
  4. คำนำ
  5. สารบัญ
  6. เนื้อเรื่อง
  7. บรรณานุกรม
  8. ภาคผนวก
  9. รองปกหลัง (กระดาษเปล่า)
  10. หน้าปกหลัง

การจัดหน้ากระดาษ ใช้กระดาษ A4 โดยตั้งค่าหน้ากระดาษ ดังนี้

  • ซ้าย ระยะห่างเท่ากับ 1.5 นิ้ว
  • ขวา ระยะห่างเท่ากับ 1 นิ้ว
  • บน ระยะห่างเท่ากับ 1.5 นิ้ว
  • ล่าง ระยะห่างเท่ากับ 1 นิ้ว

หมายเหตุ 1 นิ้ว เท่ากับ 2.54 เซนติเมตร

ตัวอย่างปกรายงาน

ข้อ ใด เป็น ส่วนหน้า ของรายงาน

ตัวอย่างคำนำรายงาน

คำนำ

รายงานเล่มนี้จัดทำขึ้นเพื่อเป็นส่วนหนึ่งของวิชา…….ชั้น…เพื่อให้ได้ศึกษาหาความรู้ในเรื่อง……..และได้ศึกษาอย่างเข้าใจเพื่อเป็นประโยชน์กับการเรียน

ผู้จัดทำหวังว่า รายงานเล่มนี้จะเป็นประโยชน์กับผู้อ่าน หรือนักเรียน นักศึกษา ที่กำลังหาข้อมูลเรื่องนี้อยู่ หากมีข้อแนะนำหรือข้อผิดพลาดประการใด ผู้จัดทำขอน้อมรับไว้และขออภัยมา ณ ที่นี้ด้วย


ผู้จัดทำ
วันที่…………….

ตัวอย่างสารบัญ

ข้อ ใด เป็น ส่วนหน้า ของรายงาน

ตัวอย่างบรรณานุกรม

ข้อ ใด เป็น ส่วนหน้า ของรายงาน


ภาคผนวก ภาคผนวกคือ ส่วนที่เพิ่มเติมจากรายงานเพื่อให้เข้าใจเนื้อเรื่องได้ดีขึ้น เช่น สถิติ รูปภาพ แบบสอบถาม

โหลดเพิ่ม

ข้อ ใด เป็น ส่วนหน้า ของรายงาน

แท็กที่เกี่ยวข้อง

วิธีเขียนรายงานเขียนรายงานการเขียนรายงานขั้นตอนเขียนรายงานรายงานการบ้านภาษาไทยวิชาภาษาไทยข้อสอบพื้นฐานภาษาไทยความรู้รอบตัวeducationEDUCATION

ส่วนหน้าของรายงานมีอะไรบ้าง

1. ปกนอก 2. ปกรอง (กระดาษเปล่าสีขาว) 3. ปกใน (เหมือนปกนอกทุกประการแต่ใช้กระดาษขาว) 4. คานา 5. สารบัญ 6. สารบัญตาราง 7. สารบัญภาพ 8. เนื้อหา 9. บรรณานุกรม หรือแหล่งอ้างอิง 10. ประวัติผู้จัดทา 11. ปกรองหลัง (กระดาษเปล่าสีขาว) 12. ปกหลัง

ส่วนประกอบใดอยู่ส่วนต้นของรายงาน

ส่วนประกอบตอนต้น.
หน้าปกรายงาน ส่วนบนเขียนชื่อเรื่อง ส่วนกลางชื่อผู้รายงาน ส่วนล่างบรรทัดแรกให้เขียนว่า “ รายงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาวิชา… ” บรรทัดที่สองเป็นชื่อสถาบันศึกษา ส่วนบรรทัดที่สามบอกภาคที่เรียนและปีการศึกษา.
คำขอบคุณ เป็นส่วนที่ไม่บังคับ อาจมีหรือไม่มีก็ได้.

ข้อใดอยู่ในส่วนนำของรายงาน

ส่วนประกอบของรายงาน การเขียนรายงานทางวิชาการ ควรแบ่งเป็น ๓ ส่วน ดังนี้ ๑. ส่วนนํา ๒. ส่วนกลาง (เนื้อหา) ๓. ส่วนท้าย (สรุป) ส่วนนํา ได้แก่ ส่วนที่อยู่ตอนต้นของรายงาน ซึ่งประกอบด้วย ปกหน้า ใบรองปก ปกใน คํานํา และสารบัญ

ส่วนท้ายของรายงานประกอบด้วยอะไรบ้าง

ส่วนประกอบตอนท้าย (back matter หรือ reference matter) เป็นส่วนที่อยู่ถัดจากเนื้อเรื่อง ประกอบด้วย 1. หน้าบอกตอน (Half Title Page)​ คือหน้าที่พิมพ์ข้อความไว้กลางหน้ากระดาษเพื่อบอกว่าส่วนที่อยู่ถัดไปคืออะไร ส่วนใหญ่แล้ว หน้านี้จะปรากฏในส่วนประกอบตอนท้ายของรายงานการค้นคว้า เช่น หน้าบอกตอน “บรรณานุกรม” หน้าบอกตอน “ภาคผนวก”