หน่วยงานใดทำหน้าที่ประกาศ

เกี่ยวกับสำนักงาน ป.ป.ท.

1. ความเป็นมา 

            1.1 ฝ่ายบริหารหรือรัฐบาลมีภารกิจโดยตรงในการป้องกันปราบปรามการทุจริตของบุคลากรในภาคราชการ แต่รัฐบาลกลับขาดเครื่องมือโดยตรงที่จะแก้ไขปัญหานี้ แม้ ป.ป.ช. จะมีอำนาจหน้าที่ในการป้องกันและปราบปรามการทุจริตของเจ้าหน้าที่ของรัฐในทุกระดับและสามารถดำเนินการได้ดีในระดับหนึ่ง แต่เนื่องจากภารกิจหน้าที่ดังกล่าวทำให้ ป.ป.ช. มีเรื่องในความรับผิดชอบจำนวนมากเกินกำลังและขนาดขององค์กร ทั้งยังเป็นองค์กรอิสระที่รัฐบาลมิได้รับผิดชอบ ดังนั้น คณะรัฐมนตรีจึงมีมติเมื่อวันที่ 5 มิถุนายน พ.ศ. 2544 วันที่ 4 มิถุนายน พ.ศ. 2545 และวันที่ 8 ตุลาคม พ.ศ. 2545 ให้มีการจัดตั้งองค์การฝ่ายบริหารเพื่อทำหน้าที่ในการป้องกันและปราบปรามการทุจริตในภาครัฐขึ้น ต่อมาในปี พ.ศ. 2546 กระทรวงยุติธรรมก็ได้เสนอร่างกฎหมายเพื่อดำเนินการตามมติคณะรัฐมนตรีดังกล่าว
             1.2 โดยที่รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 มาตรา 250 (3) ได้กำหนดให้คณะกรรมการ ป.ป.ช. มีอำนาจหน้าที่เฉพาะไต่สวนและวินิจฉัยการกระทำทุจริตของเจ้าหน้าที่ของรัฐดำรงตำแหน่งตั้งแต่ผู้บริหารระดับสูง หรือข้าราชการที่ดำรงตำแหน่งตั้งแต่ผู้อำนวยการกอง หรือเทียบเท่าขึ้นไปร่ำรวยผิดปกติ กระทำความผิดฐานทุจริตต่อหน้าที่ หรือกระทำความผิดต่อตำแหน่งหน้าที่ราชการ หรือความผิดต่อตำแหน่งหน้าที่ในการยุติธรรม รวมทั้งดำเนินการกับเจ้าหน้าที่ของรัฐหรือข้าราชการในระดับต่ำกว่าที่ร่วมกระทำความผิดกับผู้ดำรงตำแหน่งดังกล่าว หรือกับผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง หรือที่กระทำความผิดในลักษณะที่คณะกรรมการ ป.ป.ช. เห็นสมควรดำเนินการด้วย จึงส่งผลให้การกระทำทุจริตของเจ้าหน้าที่ของรัฐที่ดำรงตำแหน่งต่ำกว่าผู้บริหารระดับสูงและข้าราชการที่ดำรงตำแหน่งต่ำกว่าผู้อำนวยการกองไม่อยู่ในอำนาจของ ป.ป.ช. และยังไม่มีหน่วยงานใดรับผิดชอบ กระทรวงยุติธรรมจึงได้ปรับปรุงร่างกฎหมายที่ได้เสนอตามข้อ 1.1 ให้สอดคล้องกับรัฐธรรมนูญ และคณะรัฐมนตรีก็ได้เสนอร่างกฎหมายดังกล่าวต่อสภานิติบัญญัติแห่งชาติได้พิจารณาแล้ว มีมติให้ความเห็นชอบเป็นกฎหมาย
             1.3 พระราชบัญญัติมาตรการของฝ่ายบริหารในการป้องกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ. 2551 ซึ่งลงประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 125 ตอนที่ 21 ก ลงวันที่ 24 มกราคม พ.ศ. 2551 มีผลใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 25 มกราคม พ.ศ. 2551 อันเป็นวันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป โดยพระราชบัญญัติดังกล่าวได้กำหนดโครงสร้างองค์กรฝ่ายบริหารในการป้องกันและปราบปรามทุจริตในภาครัฐเป็น 2 ส่วน กล่าวคือ คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตในภาครัฐ (คณะกรรมการ ป.ป.ท.) และสำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตในภาครัฐ (สำนักงาน ป.ป.ท.) เพื่อดำเนินการตามอำนาจหน้าที่ในการป้องกันและปราบปรามการทุจริตในภาครัฐต่อไป

พระราชบัญญัติของฝ่ายบริหารในการป้องกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ. 2551

พระราชบัญญัติของฝ่ายบริหารในการป้องกันและปราบปรามการทุจริต (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2559

พระราชบัญญัติของฝ่ายบริหารในการป้องกันและปราบปรามการทุจริต (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2561

หน่วยงานใดทำหน้าที่ประกาศ
     

ลำดับที่ 17
นายดนุชา พิชยนันท์
2563-ปัจจุบัน

     
หน่วยงานใดทำหน้าที่ประกาศ
หน่วยงานใดทำหน้าที่ประกาศ
หน่วยงานใดทำหน้าที่ประกาศ
หน่วยงานใดทำหน้าที่ประกาศ

ลำดับที่ 16
นายทศพร ศิริสัมพันธ์
2561-2563

ลำดับที่ 15
นายปรเมธี วิมลศิริ
2558-2561

ลำดับที่ 14
นายอาคม เติมพิทยาไพสิฐ
2553-2558

ลำดับที่ 13
นายอำพน กิตติอำพน
2547-2553

หน่วยงานใดทำหน้าที่ประกาศ
หน่วยงานใดทำหน้าที่ประกาศ
หน่วยงานใดทำหน้าที่ประกาศ
หน่วยงานใดทำหน้าที่ประกาศ

ลำดับที่ 12
นายจักรมณฑ์ ผาสุกวนิช
2545-2547

ลำดับที่ 11
นายสรรเสริญ วงศ์ชะอุ่ม
2542-2545

ลำดับที่ 10
นายวิรัตน์ วัฒนศิริธรรม
2539-2542

ลำดับที่ 9
นายสุเมธ ตันติเวชกุล
2537-2539

หน่วยงานใดทำหน้าที่ประกาศ
หน่วยงานใดทำหน้าที่ประกาศ
หน่วยงานใดทำหน้าที่ประกาศ
หน่วยงานใดทำหน้าที่ประกาศ

ลำดับที่ 8
นายพิสิฏฐ ภัคเกษม
2532-2537

ลำดับที่ 7
นายเสนาะ อูนากูล
2523-2532

ลำดับที่ 6
นายกฤช สมบัติสิริ
2518-2523

ลำดับที่ 5
นายเสนาะ อูนากูล
2516-2518

หน่วยงานใดทำหน้าที่ประกาศ
หน่วยงานใดทำหน้าที่ประกาศ
หน่วยงานใดทำหน้าที่ประกาศ
หน่วยงานใดทำหน้าที่ประกาศ

ลำดับที่ 4
นายเรณู สุวรรณสิทธิ์
2513-2516

ลำดับที่ 3
นายประหยัด บูรณศิริ
2506-2513

ลำดับที่ 2
นายฉลอง ปึงตระกูล
2499-2506

ลำดับที่ 1
นายสุนทร หงส์ลดารมภ์
2493-2499