อาณาจักร ท ราว ดี ตั้งอยู่บริเวณ ใด ของไทย

อาณาจักร ท ราว ดี ตั้งอยู่บริเวณ ใด ของไทย

อาณาจักรทวารวดี

อาณาจักร ท ราว ดี ตั้งอยู่บริเวณ ใด ของไทย

  พื้นที่ของภาคกลางตอนล่างของประเทศไทยบริเวณ ลำน้ำแควน้อย แควใหญ่ ท่าจีน แม่กลอง และด้านตะวันออกของลุ่มแม่น้ำบางปะกง ได้พบร่องรอยการตั้งถิ่นฐานของชุมชนโบราณในสังคมเกษตรกรรม ในสมัยประวัติศาสตร์ตอนปลาย     (ยุคโลหะ) ราว 4,000 ปีมาแล้ว ได้มีการขยายตัวของประชากรไปยังพื้นที่ต่าง ๆ ของภาคกลางตอนล่างมากขึ้น เพราะเป็นพื้นที่ราบลุ่มแม่น้ำที่เหมาะสมแก่การเพาะปลูกและยังมีแหล่งแร่เหล็กและทองแดงในปริมาณมากพอที่จะนำมาทำ     เครื่องมือ เครื่องใช้และเครื่องประดับได้

  ราวพุทธศตวรรษที่ 3 – 5  ได้มีการติดต่อและแลกเปลี่ยนสินค้ากับชุมชนร่วมสมัยในเวียดนามและจีนตอนใต้ อินเดีย เมดิเตอร์เรเนียลและเปอร์เชีย ทำให้บริเวณนี้เป็นศูนย์กลางทางการค้า เนื่องจากมีแม่น้ำหลายสาย ทางออกทางทะเล และช่องเขาขาดสู่อิสาน ซึ่งใช้เป็นเส้นทางติดต่อค้าขายและทำให้เกิดการกระจายแลกเปลี่ยนวัฒนธรรมกับต่างชุมชนได้อย่างรวดเร็วทวารวดีเป็นภาษาสันสกฤตหมายถึง เมืองท่าค้าขายที่มีทางเข้าออกหลายทาง  ศูนย์กลางทางการค้าที่สำคัญอยู่ในเขตอำเภอไทรโยก แหล่งโบราณคดีเช่น แหล่งโบราณคดีบ้านเก่า  แหล่งโบราณคดีบ้านดอนตาเพชร แหล่งโบราณคดีศูนย์การทหารปืนใหญ่   จ.ลพบุรี

  ชาวอินเดียที่เป็นพ่อค้าและนักบวช ที่เข้ามาตั่งถิ่นฐานตามแหล่งศูนย์กลางทางการค้าเหล่านี้ ได้นำเอาความเชื่อขนบธรรมเนียมประเพณีของตนเองเข้ามาด้วย ที่สำคัญคือวัฒนธรรมของชาวพุทธที่มี่ส่วนช่วยสร้างวัฒนธรรมทวารวดี

หลังฐานการที่เกี่ยวกับอาณาจักรทวารวดี

หลักฐานลายลักษณ์อักษร เช่น

1.          หลักฐานจดหมายเหตุจีนของหลวงจีนจี้อิง และ เหี้ยนจัง ราวพุทธศตวรรษที่ 13 ได้กล่าวถึง อาณาจักร โถ-โล-โป-ตี  ตั่งอยู่ระหว่างทิศตะวันออกของอาณาจักรศรีเกษตร(พม่า) และทิศตะวันตกของอาณาจักร          อิศานปุระ(เจนละ-ขอม) เป็นที่มาของชื่อ ทวารวดี

2.         จารึกบนเหรียญกษาปณ์ 2 เหรียญ สลักข้อความด้วยอักษรปัลลวะภาษาสันสฤต ศาสตราจารย์ ยอร์ส เซเดส์ อ่านได้ว่า ศรีทวารวดี ศวรปุณยะ...” แปลว่า บุญกุศลของพระราชาแห่งทวารวดี

จารึกทวารวดีที่ค้นพบในปะเทศไทย เช่น จารึกปัลลวะ/หลังปัลลวะที่เป็นภาษา

-       ภาษาบาลีในพุทธ ศาสนา  “เย ธมมาที่พบบน ธรรมจักร เจดีย์ ฯลฯ

-       ภาษามอญ กล่าวถึงการอุทิศสิ่งของในพระพุทธศาสนา เช่นจารึก เมืองฟ้าแดดสูงยาง

-       ภาษาสันสกฤตในศาสนาฮินดู กล่าวถึงการปกครอง เช่น จารึกวัดศรีเทพ

หลักฐานทางศิลปะที่เป็นสถาปัตยกรรมและปฏิมากรรม เช่น

1.      เจดีย์วัดกู่กุด จ.ลำพูน

2.      ธรรมจักรและกวางหมอบ พบที่พระปฐมเจดีย์ จ.นคปฐม ศิลปะทวารวดี (พ.ศ.ว. ที่ 13 – 14)

3.      พระพุทธรูปศิลปะทวารวดีมากมาย ลักษณะเด่นคือ ขมวดพระเกศาใหญ่  พระขนงเป็นสันนูนต่อกันคล้ายรูปปีกกา พระนาสิกแบน จีวรบางแนบจนเห็นท่อนพระองค์ รวมถึงเทวรูปในศาสนาพราหมณ์ด้วย แหล่งค้นพบ ภาคกลางเช่น จ.นครปฐม จ.ราชบุรี ภาคตะวันออกเฉียงเหนือเช่น จ.กาฬสินธุ์ และที่ภาคใต้เช่น จ .สุราษฎร์ธานี  จ.นครศรีธรรมราช ศิลปะแบบทวารวดีที่ค้นพบ แสดงถึงลักษณะทางศิลปะที่มีแบบแผนของตัวเองโดยเฉพาะ

4.      หลักฐานทางโบราณคดีที่พบในสมัยพุทธศตวรรษที่ 11 – 13 คือเหรียญเงินเส้นผ่าศูนย์กลาง 19 ม.ม.  พบที่

5.      นครปฐม และอู่ทอง พบว่ามีอักษรจารึกไว้ว่า ศรีทวารวดีศวร”  และ มีรูปหม้อน้ำกลศอยู่อีกด้านหนึ่ง  ทำให้ชื่อได้ว่าชนชาติมอญโบราณได้

6.      ตั้งอาณาจักรทวารวดี (บางแห่งเรียก ทวาราวดี)  ขึ้นในภาคกลางของดินแดนสุวรรณภูมิ  และมีชุมชนเมืองสมัยทวารวดีสำคัญหลายแห่งได้แก่

7.       เมืองนครชัยศรี (นครปฐมโบราณ น่าจะเป็นศูนย์กลางของอาณาจักรในกลุ่มแม่น้ำท่าจีน)  เมืองอู่ทอง (จังหวัดสุพรรณบุรีในลุ่มแม่น้ำท่าจีน)

8.       เมืองพงตึก (จังหวัดกาญจนบุรี ในลุ่มแม่น้ำแม่กลอง)  เมืองละโว้ (จังหวัดลพบุรี ในลุ่มแม่น้ำลพบุรี)  เมืองคูบัว (จังหวัดราชบุรี ในลุ่มแม่น้ำ

9.      เมืองอู่ตะเภา (บ้านอู่ตะเภา อ.มโนรมย์ จังหวัดชัยนาท ในลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยา)  เมืองบ้านด้าย (ต.หนองเต่า อ.เมือง จ.อุทัยธี ในแควตากแดด)

10.   เมืองซับจำปา (บ้านซับจำปา จังหวัดชัยนาทในลุ่มแม่น้ำป่าสัก)  เมืองขีดขิน (อยู่ในจังหวัดสระบุรี)  และบ้านคูเมือง (ที่อำเภออินทรบุรี จังหวัด

11.  นอกจากนั้นพบเมืองโบราณสมัยทวารวดีอีกหลายแห่ง  เช่น  ที่บ้านหนองปรง อำเภอเขาย้อย จังหวัดเพชรบุรี  รวมทั้งหมู่บ้านในเขตอำเภอ

12.  บ้านหมี่ และโคกสำโรง จังหวัดลพบุรี เป็นต้น

 

อาณาจักร ท ราว ดี ตั้งอยู่บริเวณ ใด ของไทย

 หลักฐานทางโบราณคดีที่พบในสมัยพุทธศตวรรษที่ 11 – 13

     คือเหรียญเงินเส้นผ่าศูนย์กลาง 19 ม.ม.  พบที่

-            นครปฐม และอู่ทอง พบว่ามีอักษรจารึกไว้ว่า ศรีทวารวดีศวร”  และ มีรูปหม้อน้ำกลศ   อยู่อีกด้านหนึ่ง  ทำให้ชื่อได้ว่าชนชาติมอญโบราณได้

-            ตั้งอาณาจักรทวารวดี (บางแห่งเรียก ทวาราวดี)  ขึ้นในภาคกลางของดินแดนสุวรรณภูมิ  และมีชุมชนเมืองสมัยทวารวดีสำคัญหลายแห่งได้แก่

-             เมืองนครชัยศรี (นครปฐมโบราณ น่าจะเป็นศูนย์กลางของอาณาจักรในกลุ่มแม่น้ำท่าจีน)  เมืองอู่ทอง (จังหวัดสุพรรณบุรีในลุ่มแม่น้ำท่าจีน)

-            เมืองพงตึก (จังหวัดกาญจนบุรี ในลุ่มแม่น้ำแม่กลอง)  เมืองละโว้ (จังหวัดลพบุรี ในลุ่มแม่น้ำลพบุรี)  เมืองคูบัว (จังหวัดราชบุรี ในลุ่มแม่น้ำ

-            เมืองอู่ตะเภา (บ้านอู่ตะเภา อ.มโนรมย์ จังหวัดชัยนาท ในลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยา)  เมืองบ้านด้าย (ต.หนองเต่า อ.เมือง จ.อุทัยธี ในแควตากแดด)

-            เมืองซับจำปา (บ้านซับจำปา จังหวัดชัยนาทในลุ่มแม่น้ำป่าสัก)  เมืองขีดขิน (อยู่ในจังหวัดสระบุรี)  และบ้านคูเมือง (ที่อำเภออินทรบุรี จังหวัด

   นอกจากนั้นพบเมืองโบราณสมัยทวารวดีอีกหลายแห่ง  เช่น  ที่บ้านหนองปรง อำเภอเขาย้อย จังหวัดเพชรบุรี  รวมทั้งหมู่บ้านในเขตอำเภอบ้านหมี่ และโคกสำโรง จังหวัดลพบุรี เป็นต้น

แหล่งโบราณคดีสมัยทวารวดีตามภูมิภาคต่าง ๆ ของประเทศไทย

-       ภาคตะวันตกของแม่น้ำเจ้าพระยา เช่น  แหล่งโบราณคดีบ้านดอนตาเพชร

-       ภาคตะวันออกของแม่น้ำเจ้าพระยา เช่น แหล่งโบราณคดีเมืองโบราณจันเสน

-       ภาคเหนือ เช่น แหล่งโบราณคดีเมืองไตรตรึง

-       ภาคใต้ แหล่งโบราณคดีใน อ.ยะรัง จ.ปัตตานี

อย่างไรก็ตามที่ตั่ง อาณาเขต ราชธานี ตลอดจนเรื่องราวเกี่ยวกับอาณาจักรทั้งหมดของทวารวดียังไม่เป็นที่แน่ชัด คำว่า ทวารวดี คงเป็นที่รู้จักกันในนามของรูปแบบทางศิลปะในพุทธศาสนา และสถาปัตยกรรม ปฏิมากรรมรูปเคารพในศาสนาพราหมณ์

แหล่งอ้างอิง: 

https://www.google.co.th/search?q=%E0%B8%AD%E0%B8%B2%E0%B8%93%E0%B8%B2%E0%B8%88%E0%B8%B1%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%97%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%A7%E0%B8%94%E0%B8%B5&client=firefox-a&hs=rVw&rls=org.mozilla:en-US:official&source=lnms&tbm=isch&sa=X&ei=7saxUfvmGISzrAeP9ICoCA&ved=0CAoQ_AUoAQ&biw=1280&bih=709

ศูนย์กลางความเจริญของอาณาจักรทวารวดีอยู่ในบริเวณใด

เมืองนครปฐมเป็นเมืองโบราณสำคัญในสมัยสมัยทวารวดี เป็นศูนย์กลางและเมืองท่าสำคัญของ อาณาจักรทวารวดีในยุคหลัง คือราวพุทธศตวรรษที่ 13-16 ด้วยเหตุที่สภาพที่ตั้งทางภูมิศาสตร์ที่อยู่ไม่ไกลจาก ชายฝั่งทะเลอ่าวไทยโบราณ และมีการขุดคูเมืองและคูคลองต่าง ๆ ที่มีขนาดกว้างมากเป็นพิเศษ ทำให้เรือสินค้า สามารถเข้ามาติดต่อค้าขายภายในเมือง ...

เมืองโบราณสมัยทวารวดีมักตั้งอยู่ที่ไหน

เราสามารถพบร่องรอยเมืองโบราณของทวารวดีได้ในหลายพื้นที่ เช่น บ้านคูเมืองที่สิงห์บุรี เมืองจันเสน เมืองโคกไม้เดน ที่จังหวัดนครสวรรค์ เมืองอู่ทองที่สุพรรณบุรี เมืองคูบัวและเมืองโบราณนครปฐม แหล่งโบราณคดีทุ่งเศรษฐี จังหวัดเพชรบุรี เมืองเสมาที่นครราชสีมา

แคว้นทวารวดีอยู่ในสมัยใด

ทวารวดี” เป็นชื่อนครในสมัยพระเจ้าอโศกมหาราช และยังเป็นชื่อของราชอาณาจักรที่รุ่งเรืองอยู่ทางตะวันตกฉียงใต้ของอินเดียในช่วงตริสต์ศตวรรษที่ 11 ถึงคริสต์ศตวรรษที่ 14.

ทวารวดีมีที่มาจากไหน

ทวารวดี” เป็นชื่อเมือง มีปรากฏในพระไตรปิฎกส่วนที่เป็นพระสูตร แปลว่าเมืองที่ประกอบไปด้วยประตูและรั้ว และยังถือเป็น “นามมงคล” เพราะเป็นชื่อเมืองของพระกฤษณะด้วย ชื่อเมืองทวารวดี หรือ ทวารกา ฉะนั้น ชื่อเมืองต้นประวัติศาสตร์จะเอาชื่อบ้านเมืองในอินเดียมาตั้งเป็นชื่อบ้านเมืองตัวเองด้วย ไม่ได้หมายความว่ามีศูนย์กลางอยู่นอก ...