ฝากครรภ์พิเศษต้องจ่ายเงินตอนไหน

ฝากครรภ์พิเศษต้องจ่ายเงินตอนไหน
ฝากครรภ์พิเศษต้องจ่ายเงินตอนไหน

• การเบิกและการรับเงินประกันสังคมสำหรับคนท้อง
ก่อนอื่นต้องเตรียมเอกสารให้พร้อมกังนี้ก่อนครับ
• เอกสารสำหรับเบิกค่าฝากครรภ์ มีดังนี้
1.แบบคำขอรับประโยชน์ทดแทน  ดาวโหลดได้ที่นี่ >> https://bit.ly/2Kxpgv8
2. ใบเสร็จรับเงินค่าฝากครรภ์
3. ใบรับรองแพทย์หรือสมุดบันทึ
*ส่วนในกรณีให้คุณพ่อติดต่อแทนให้นำสำเนาทะเบียนสมรสหรือหนังสือรับรองของผู้ประกันตนกรณีไม่มีทะเบียนสมรส ดาวน์โหลดได้ที่นี่ >> https://bit.ly/2zs5IpT
• เอกสารเตรียมเบิกค่าคลอดบุตร มีดังนี้
1. แบบคำขอรับประโยชน์ทดแทน  ดาวโหลดได้ที่นี่ >> https://bit.ly/2Kxpgv8
2. สำเนาสูติบัตรบุตร 1 ชุด (ถ้าคลอดบุตรแฝดให้แนบสำเนาสูติบัตรของคู่แฝดด้วย)
3. สำเนาหน้าแรกสมุดบัญชีธนาคาร (ออมทรัพย์) เห็นชื่อและเลขบัญชีชัดเจน
(11 ธนาคารที่สามารถทำรายการได้คือ กรุงเทพ, กสิกร, ไทยพาณิชย์, กรุงไทย, กรุงศรีฯ, ธนชาต, ธ.อิสลามฯ, CIMB, ออมสิน และ ธ.ก.ส.)
*ส่วนในกรณีให้คุณพ่อติดต่อแทนให้นำสำเนาทะเบียนสมรสหรือหนังสือรับรองของผู้ประกันตนกรณีไม่มีทะเบียนสมรส
ดาวน์โหลดได้ที่นี่ >> https://bit.ly/2zs5IpT
• การยื่นเอกสารที่สำนักงานประกันสังคม/ไปรษณีย์
สามารถยื่นเรื่องขอรับเงินได้ที่สำนักงานประกันสังคมทั่วประเทศ ตามสาขาที่สะดวกหรือใกล้บ้านในเวลาราชการได้เลยครับ (ยกเว้นสำนักงานใหญ่กระทรวงสาธารณสุข)
หรือหากไม่สะดวกมาด้วยตนเอง สามารถใช้หนังสือมอบอำนาจ เพื่อให้บุคคลอื่นดำเนินการแทนได้
หรือสามารถส่งเอกสารทางไปรษณีย์..“ฝ่ายสิทธิประโยชน์” สำนักงานประกันสังคมตามที่อยู่ใกล้บ้านได้เลยครับ
• การรับเงิน
1 รับเงินด้วยตนเอง  ต้องนำบัตรประชาชนตัวจริงไปแสดง
2 รับเงินแบบธนาณัติ  ต้องระบุชื่อสาขาที่จะไปติดต่อรับเงินให้ชัดเจน
3 กรณีชำระเงินโอน ประกันสังคมจะโอนเข้าบัญชีของผู้ประกันตนภายใน 5-7 วันทำการ จากวันที่เอกสารได้รับอนุมัติครับ

คุณแม่ คุณพ่อ คนไหนที่เป็นผู้ประกันตนอยูก็อย่าลืมที่จะรักษาสิทธิประกันสังคมกันนะครับ

คุณแม่หลาย ๆ คนอาจยังไม่รู้  ที่ส่งประกันสังคมไปทุก ๆ เดือนนั้น  มีสิทธิสำหรับคนท้องด้วยนะ  เช็กสิทธิประกันสังคมของตนเองได้ที่นี่

1. ค่าตรวจครรภ์และฝากครรภ์

ประกันสังคมจะจ่ายค่าฝากครรภ์ให้คุณแม่โดยปรับเพิ่มค่าฝากครรภ์ 5 ครั้ง รวมเป็นเงิน 1,500 บาท (จากเดิม 3 ครั้ง 1,000 บาท) ตามหลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้

  1. อายุครรภ์ไม่เกิน 12 สัปดาห์ จ่ายในอัตราเท่าที่จ่ายจริงไม่เกิน 500 บาท
  2. อายุครรภ์มากกว่า 12 สัปดาห์ แต่ไม่เกิน 20 สัปดาห์ จ่ายในอัตราเท่าที่จ่ายจริงไม่เกิน 300 บาท
  3. อายุครรภ์มากกว่า 20 สัปดาห์ แต่ไม่เกิน 28 สัปดาห์ จ่ายในอัตราเท่าที่จ่ายจริงไม่เกิน 300 บาท
  4. อายุครรภ์มากกว่า 28 สัปดาห์ แต่ไม่เกิน 32 สัปดาห์ จ่ายในอัตราเท่าที่จ่ายจริงไม่เกิน 200 บาท
  5. อายุครรภ์มากกว่า 32 สัปดาห์ ถึง 40 สัปดาห์ขึ้นไป จ่ายในอัตราเท่าที่จ่ายจริงไม่เกิน 200 บาท

ในส่วนนี้สามารถขอเบิกค่าฝากครรภ์จากประกันสังคมได้ โดยไม่ต้องให้คลอดบุตรก่อน หรือจะยื่นขอรับสิทธืหลังคลอดทีเดียวก็ได้ครับ

2. ค่าคลอดบุตร
ต่อมาสามารถเบิกค่าคลอดบุตรในอัตราแบบเหมาจ่าย 15,000.- /ครั้ง  สามารถเลือกเข้าโรงพยาบาลไหนก็ได้ที่เลือกลงทะเบียนไว้  ซึ่งหากเป็นโรงพยาบาลที่ไม่ได้อยู่ในสังกัด  คุณแม่ก็สามารถสำรองจ่ายไปก่อน  และทำเรื่องเบิกที่ประกันสังคมได้เลยครับ  โดยมีหลักเกณฑ์และเงื่อนไข ดังนี้

– จ่ายงินสมทบมาแล้วไม่น้อยกว่า 5 เดือน ภายใน 15 เดือนก่อนเดือนคลอดบุตร

– จ่ายค่าบริการทางการแพทย์เหมาจ่ายกรณีคลอดบุตรให้แก่ผู้ประกันตนในอัตรา 15,000 บาทต่อการคลอดบุตรหนึ่งครั้ง สำหรับผู้ประกันตนหญิงมีสิทธิรับเงินสงเคราะห์การหยุดงานเพื่อการคลอดบุตรเหมาจ่ายในอัตราร้อยละ 50 ของค่าจ้างเฉลี่ยเป็นระยะเวลา 90 วันสำหรับการใช้สิทธิบุตรคนที่ 3 จะไม่ได้รับสิทธิเงินสงเคราะห์การหยุดงานเพื่อการคลอดบุตรเหมาจ่ายในอัตราร้อยละ 50 ของค่าจ้างเฉลี่ยเป็นระยะเวลา 90 วัน

– กรณีสามีและภรรยาเป็นผู้ประกันตนทั้งคู่ให้ใช้สิทธิในการเบิกค่าคลอดบุตรฝ่ายใดฝ่ายหนึ่ง ไม่จำกัดจำนวนบุตร/ครั้ง 

“ไปฝากครรภ์ ต้องเตรียมตัวอย่างไร ใช้เอกสารอะไรบ้าง สามารถเบิกประกันสังคมได้ไหม เบิกอย่างไร” เป็นสิ่งที่คู่สามีภรรยาหลายคู่สงสัย โดยเฉพาะในผู้ที่ตั้งครรภ์เป็นครั้งแรก ซึ่งในวันนี้ HDmall.co.th จะมาไขข้อสงสัยต่างๆ ให้คุณเอง!

การฝากครรภ์นั้น ไม่ต้องเตรียมตัวอะไรเป็นพิเศษ คุณแม่สามารถรับประทานอาหารและเครื่องดื่มได้ตามปกติ หลังจากที่ลงทะเบียน เจ้าหน้าที่จะพาไปพบคุณหมอแล้ว ซึ่งแพทย์จะทำการซักประวัติ ตรวจร่างกาย ตรวจเลือด และตรวจปัสสาวะ แล้วทำการนัดตรวจฝากครรภ์ครั้งต่อไปนั่นเอง

ฝากครรภ์พิเศษต้องจ่ายเงินตอนไหน

เอกสารที่ใช้ในการฝากครรภ์ มีอะไรบ้าง?

การฝากครรภ์ครั้งแรกจะต้องทำการลงทะเบียนกับโรงพยาบาลที่ไปใช้บริการ จึงจะต้องเตรียมเอกสารต่อไปนี้

  • บัตรประชาชนของคุณแม่และคุณพ่อ
  • ประวัติการเจ็บป่วย การแพ้ยา การคลอดลูก โรคประจำตัว ความเสี่ยงต่อโรคทางพันธุกรรม และการรับวัคซีน (ถ้ามี)
  • ข้อมูลการมีประจำเดือนครั้งสุดท้าย (นับจากวันแรกของการมีประจำเดิอนวันสุดท้าย)

หลังจากเข้ารับการฝากครรภ์ครั้งแรกเสร็จเรียบร้อยแล้ว คุณหมอจะบันทึกข้อมูลลงใน “สมุดฝากครรภ์” หรือในบางโรงพยาบาลอาจเรียกว่า “สมุดบันทึกสุขภาพแม่และเด็ก” หรือ “ใบฝากครรภ์” ซึ่งเปรียบเสมือนบัตรปจำตัวของหญิงตั้งครรภ์ที่จำเป็นต้องพกติดตัวเสมอ

สมุดฝากครรภ์ จะช่วยให้คุณหมอรู้ข้อมูลของมารดาและทารกในครรภ์ สามารถนำมาประกอบการประเมินในแต่ละครั้ง ทำให้ดูแลรักษาได้อย่างถูกต้องนั่นเอง

เบิกประกันสังคม ฝากครรภ์ ใช้เอกสารอะไรบ้าง?

ในผู้ที่มีสิทธิประกันสังคม สามารถเบิกค่าฝากครรภ์ได้สูงสุด 1,500 บาท โดยแบ่งจ่าย 5 ครั้ง ตามจำนวนการฝากครรภ์คุณภาพที่ใช้การฝากครรภ์ที่ไม่มีภาวะเสี่ยง มีรายละเอียดดังนี้

  • ฝากครรภ์ครั้งที่ 1 อายุครรภ์ไม่เกิน 12 สัปดาห์ เบิกได้สูงสุด 500 บาท
  • ฝากครรภ์ครั้งที่ 2 อายุครรภ์ 13 - น้อยกว่า 20 สัปดาห์ เบิกได้สูงสุด 300 บาท
  • ฝากครรภ์ครั้งที่ 3 อายุครรภ์ 20 - น้อยกว่า 26 สัปดาห์ เบิกได้สูงสุด 300 บาท
  • ฝากครรภ์ครั้งที่ 4 อายุครรภ์ 26 - น้อยกว่า 32 สัปดาห์ เบิกได้สูงสุด 200 บาท
  • ฝากครรภ์ครั้งที่ 5 อายุครรภ์ 32 - 40 สัปดาห์ เบิกได้สูงสุด 200 บาท
ฝากครรภ์พิเศษต้องจ่ายเงินตอนไหน

การเบิกค่าฝากครรภ์นั้น สามารถเลือกใช้สิทธิประกันสังคมได้ทั้ง “ฝ่ายชาย” หรือ “ฝ่ายหญิง” โดยสามารถเลือกใช้สิทธิได้แค่คนเดียว ไม่สามารถใช้สิทธิซ้ำได้ มาเบิกที่สำนักงานประกันสังคม ใช้เอกสารดังนี้

  • แบบคำขอรับประโยชน์ทดแทน กองทุนประกันสังคม กดดาวน์โหลดได้ ที่นี่
  • ใบเสร็จค่าบริการฝากครรภ์โรงพยาบาลที่ไปใช้บริการ (ใช้สิทธิที่โรงพยาบาลไหนก็ได้)
  • ใบรับรองรองแพทย์ หรือสมุดบันทึกสุขภาพแม่และเด็กประจำตัวหญิงตั้งครรภ์ ที่มีชื่อของผู้ตั้งครรภ์ และรายละเอียดการบันทึกตามแต่ละช่วงอายุครรภ์
  • ในกรณีที่คุณพ่อ หรือสามีมาเบิก จะต้องใช้สำเนาทะเบียนสมรส หรือหนังสือรับรองของผู้ประกันตนกรณีที่ไม่มีทะเบียนสมรส กดดาวน์โหลดได้ ที่นี่

การฝากครรภ์เป็นสิ่งสำคัญในหญิงตั้งครรภ์ เพราะจะช่วยให้แพทย์ดูแลสุขภาพของมารดาและทารกได้อย่างใกล้ชิด ทำให้การตั้งครรภ์และคลอดบุตรเป็นไปอย่างปลอดภัย

กำลังมองหาโรงพยาบาลชั้นนำเพื่อฝากครรภ์และคลอดบุตรอยู่ใช่ไหม HDmall.co.th ได้รวมรวมแพ็กเกจดีๆ มาไว้ให้คุณแล้ว กดเปรียบเทียบราคาและแพ็กเกจฝากครรภ์และคลอดบุตร ของแต่ละโรงพยาบาลได้เลย หรือสอบถามแอดมินได้ที่ไลน์ @hdcoth มีโปรโมชั่นดี ผ่อนฟรี 0% ด้วยน้า

ค่าฝากครรภ์พิเศษกี่บาท

การฝากท้องพิเศษ สามารถทำได้ตามโรงพยาบาลเอกชน หรือ คลินิคครับ โดยทั่วไปแล้วน่าจะหมายถึงการฝากครรภ์เพื่อให้คุณหมอท่านเดิมเป็นคนดูแลตั้งแต่เริ่มแรกถึงคลอดเสร็จเลยครับ แต่การฝากครรภ์แต่ละครั้งจะมีค่าใช้จ่ายประมาณครั้งละ 500-1000 ถ้ามีการอัลตร้าซาวน์ อีกส่วนอาจจะเป็นค่าใช้จ่ายในช่วงการทำคลอดครับ โดยประมาณแล้วแต่ที่ 5000- ...

ฝากครรภ์พิเศษได้ตอนไหน

ผู้ตั้งครรภ์ควรเข้ารับการฝากครรภ์ในช่วงไตรมาสแรก ก่อนอายุครรภ์ครบ 12 สัปดาห์ หรือให้เร็วที่สุดตั้งแต่รู้ตัวว่าตั้งครรภ์ เพื่อความปลอดภัยของคุณแม่และทารกในครรภ์ โดยแพทย์จะทำการนัดหมายเพื่อตรวจครรภ์ตลอดช่วงตั้งครรภ์ไปจนถึงวันคลอดตามความเหมาะสมและตามภาวะแทรกซ้อนที่เกิดขณะตั้งครรภ์

ฝากพิเศษผ่าคลอดได้ไหม

ข้อดีของการฝากพิเศษ คนไข้มีอำนาจต่อรองกับแพทย์ผู้รับฝากพิเศษ เช่น ขอผ่าตัดคลอด ขอลัดคิว หรือขอนอนพักในโรงพยาบาล

ทำไมต้องฝากพิเศษ

ข้อดีของการฝากพิเศษ คนไข้สามารถเลือกสูติแพทย์ที่มีความรู้ความสามารถและมั่นใจ อุ่นใจที่มีแพทย์ที่คุ้นเคย ดูแลตั้งแต่เริ่มตั้งครรภ์จนกระทั่งคลอด ในราคาที่ไม่สูงนักหากเทียบกับโรงพยาบาลเอกชน เพราะสิทธิการรักษาเช่น บัตรทอง ข้าราชการ ไม่ต้องจ่ายค่าคลอดให้โรงพยาบาลรัฐ จ่ายให้แต่แพทย์