ศาสนาพุทธในทิเบตมีขึ้นครั้งแรกในสมัยใด

การเผยแผ่และการนับถือพระพุทธศาสนาในประเทศทิเบต

การเผยแผ่และการนับถือพระพุทธศาสนาในประเทศทิเบต

      แต่เดิมชาวทิเบตนับถือลัทธิบอนโป ซึ่งเป็นลัทธิที่นับถือผีสางเทวดา ต่อมาพระเจ้าสรองสันคัมโป ทรงขึ้นครองราชย์ ได้ทรงอภิเษกสมรสกับเจ้าหญิงเนปาลและเจ้าหญิงจีน ซึ่งนับถือพระพุทธศาสนา ทำให้พระพุทธศาสนาเริ่มเผยแผ่เข้าสู่ทิเบต และแพร่หลายในรัชสมัยของกษัตริย์ทิเบตพระองค์ที่ กษัตริย์องค์ต่อ ๆ มา แทบทุกพระองค์ทรงมีพระราชศรัทธาในพระพุทธศานาทำให้พระพุทธศาสนาได้รับการ อุปถัมภ์บำรุงอย่างดี พุทธศตวรรษที่ 16 พระทีปังกรศรีชญาณ(พระอตีศะ)จาก มหาวิทยาชลัยวิกรมศิลา แคว้นพิหาร                 ประเทศอินเดีย ได้รับการอาราธนาเข้ามาเผยแผ่พระพุทธศาสนาในทิเบตจากเหตุการณ์ครั้งนี้ทำให้ พระพุทธศาสนาประดิษฐานมั่นคง เป็นศาสนาประจำชาติทิเบตในเวลาต่อมา

                พระพุทธศาสนาในทิเบตมีหลายนิกาย นิกายเก่าที่นับถือพระปัทมสัมภวะนั้นต่อมาได้ชื่อว่า นิกายหมวกแดง ต่อมาพระตสองขะปะ ได้ปฎิรูปหลักคำสอนของนิกายหมวกแดงนี้แล้วตั้งนิกายใหม่ขึ้น ชื่อว่า นิกายเกลุกปะ หรือ นิกายหมวกเหลือง นิกายนี้ได้รับการยกย่องจากผู้ปกครองมองโกลว่าเป็นผู้นำทางจิตใจ และต่อมาถือว่าเป็นผู้ปกครองบ้านเมืองด้วย

                ในรัชสมัยของพระเจ้าอัลตันข่าน พระองค์ได้พบประมุขสงฆ์องค์ที่ ของนิกายเกลุกปะ ชื่อ สอดนัมยาโส พระองค์ เกิดความเชื่อว่าพระสอดนัมยาโสนี้เป็นอาจารย์ของพระองค์ในชาติก่อนจึงเรียก พระสอดนัมยาโสว่า ดะเล หรือ ดะไล (Dalai ) ตั้งแต่นั้นมาประมุขสงฆ์ของธิเบตจะพูกเรียกว่า ดะไลลามะ ดะไลลามะบางองค์ได้รับมอบอำนาจจากผู้นำมองโกลให้ปกครองประเทศธิเบตทั้งหมดทำ ให้พระพุทธศาสนาและวัฒนธรรมเจริญรุ่งเรือง จนถึงองค์ที่ 7 (พ.ศ.2351-2401) ทิเบตเข้าสู่ยุคของการปิดประตูอยู่โดดเดี่ยวเนื่องจากได้รับความผันผวนและ การเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ จีนแดงเข้าครอบครองในปี พ.ศ.

��ʹ� �ѷ�� �������� �ԡ�� �Ըա��� >>

     ��ີ��ʹԹᴹ�����ʹ� ��ؤ������ �ѷ�Ժ͹�պ��ҷ����Է�Ծŵ���Զժ��Ե��Ƿ�ີ ��ؤ����Ҿ�оط���ʹ���������ǹ������Զժ��Ե��Ƿ�ີ ����������ѹ�����ʹ���ҡ������觢�� �ǤԴ��鹰ҹ�Ѳ�������ີ����� ����Ե�����ʹ� ��ʹҤ�ͪ��Ե� �ǤԴẺ��������Զժ��Ե�ͧ��Ƿ�ີ���º���� ��������ҿ������� �������ҵԨ��˴�����ع�ç ����¨Ե㨷�������� ������ç���������ҧ���آ

��ີ�ըӹǹ��Ъҡ÷����� 2,610,000 �� (��ѡ�ҹ�ҧ��觺͡����� 2,400,000 ��) �繪�Ƿ�ີ����ҳ 92.2 �����繵� �������ͻ���ҳ 7.8 �����繵��繪��������ҧ� ��ີ�Ѻ��оط���ʹҨҡ�Թ�����Шչ ���¡��� ��оط���ʹҵѹ���ҹ��������ҹẺ��ີ����ͧ

��оط���ʹҷ���պ��ҷ�Ӥѭ㹻Ѩ�غѹ �繾�оط���ʹ�Ẻ�ѹ��� �չԡ����ѡ 4 �ԡ�¤��

1. �ԡ����§��� (�ԡ��ᴧ)
2. �ԡ����ء (�ԡ������ͧ)
3. �ԡ�¡���� (�ԡ�¢��)
4. �ԡ���ҡ�� �ԡ�·�����Ѻ���������ҡ����ش��� �ԡ����ء (�ԡ������ͧ)

��оط���ʹ�㹷�ີ���Ѻ���㹻Ѩ�غѹ��� �ط��ѹ��� ��������ҡ���¹ԡ�� ����ѡ����ѵ���л�Ժѵ����Ҿ�������ѡ������ǡѹ ��û�Ժѵ��¤� ����Ҹ����ѹ��� ��û�Ժѵ�������ѡ��Ѫ����С�س����Ӥѭ ��ҡ�������㹷ء�ԡ��

��ѡ�����Ӥѭ��� ��Ѫ����С�س� ��Ƿ�ີ��ͧ�Ǵ������ �ѹ�����觻�Ѫ�� ��� ��� �� ��� �Ѫ�� ���� �Է�� ��� �ѹ�����觡�س� ��� ��� ��� �ѷ� ��� �ط���ʹԡ��ີ��Һ�ѯ�ҧ���д�ɰ� ���١��Ф� 108 �١ ��Ш��������ػ�ó����㹡���Ǵ�����˹����ШԵ �ء���������Ӥѭ�����Ǵ���� ����Ǵ��֧ 600,000 �� �з�������عԾ�ҹ

             พระพุทธศาสนาได้เข้าไปสู่ประเทศธิเบต ซึ่งเป็นดินแดนที่ปกคลุมไปด้วยหิมะประมาณ คริสตวรรษที่ ๗ หรือประมาณพุทธศตวรรษที่ ๑๑-๑๒ สมัยพระเจ้าสองตะสัน กัมโป ในระยะเวลานั้นหลักธรรมคำสั่งสอนของพระพุทธเจ้าได้ตั้งมั่นมาหลายศตวรรษแล้วในประเทศจีนแถบตะวันออก แถวแคชเมียร์ และแถวโกตัน  ตะวัน ตก มีความพยายามกันหลายด้านที่จะนำพระพุทธศาสนาเข้ามาสู่ดินแดนหิมะแห่งนี้ แต่ว่ามีภาวะเงื่อนไขหลายอย่างไม่เอื้ออำนวย จนกระทั่งประเทศธิเบตได้รวมเป็นหนึ่งด้วยกันภายใต้ศูนย์รวมอำนาจที่เข้มแข็ง พร้อมกับลัทธิศาสนาที่เก่าแก่ของธิเบตคือลัทธิโบนได้เสื่อมถอยลง ประ เทศธิเบตเป็นประเทศที่มีลัทธิศาสนาเป็นของตนเองเป็นเวลานานมาแล้ว ก่อนที่พระพุทธศาสนาจะเข้าไปสู่ธิเบต ลัทธิศาสนาที่เก่าแก่ของธิเบตก็คือ ลัทธิโบน (๑) ลัทธินี้มีลักษณะความเชื่อคือ บูชาสวรรค์ วิญญาณ ภูเขาแม่น้ำ ต้นไม้ และมีความเชื่อลักษณะทางธรรมชาติอื่นๆ ในยุคโบราณลัทธิโบนเอามนุษย์และสัตว์บูชายัญ ทุกวันนี้ก็ยังคงทำพิธีสังเวยแก่ดวงวิญญาณ เคารพนับถือธรรมชาติ ตามลัทธิที่ตนเองเคยปฏิบัติมานั่นแหละ ลัทธิ โบนมีลักษณะตรงกันข้ามกับพระพุทธศาสนาโดยสิ้นเชิง แต่ก็ได้ดำเนินสืบต่อเรื่อยมาเป็นเวลาช้านานหลายศตวรรษ จนกระทั่งพระธรรมคำสั่งสอนของพระพุทธเจ้าได้รับการยอมรับในประเทศธิเบต แต่ลัทธิโบนก็ยังคงประพฤติปฏิบัติมากระทั่งจนทุกวันนี้ และได้ร่วมมือกับพระพุทธศาสนากลายเป็นพระพุทธศาสนาแบบธิเบต ก็เพื่อเป็นการดำรงรักษาวัฒนธรรมอันเก่าแก่ของธิเบตไว้ ครั้น ต่อมา พระเจ้าสองตะสัน กัมโป ได้ทำสงครามกับประเทศจีนและตีเมืองเสฉวนได้ กษัตร

        เส้นทางแห่งการหยั่งรู้ ดันจู เป็นหนึ่งในนักเดินทางแสวงบุญนี้ จุดมุ่งหมายของเขานอกจากสร้างบุญให้กับตนเองแล้ว ดันจูออกจาริกเพื่อไถ่บาปให้พ่อที่ทิ้งครอบครัวไปตั้งแต่เขายังเด็ก เส้นทางกว่า 2,000 กิโลเมตร ระหว่างชิงไฮ (Qinghai) บ้านของเขาและวัดโจคังคือสิ่งท้าทายอันยิ่งใหญ่ โจมาและใบมา คือแม่กับน้องสาวผู้คอยดูแลเขาตลอดการเดินทาง ดันจู ท่องบทสวดมนต์ย่างเท้าไปข้างหน้าและนอนกราบเหยียดยาวบนหิน กรวด น้ำแข็ง และหิมะตลอดการเดินทาง มีเพียงศรัทธาเท่านั้นที่ผลักดันเขาไปข้างหน้า ดังจูไม่ได้คิดถึงจุดหมายเลยเขานึกถึงแต่วัตถุประสงค์และความหมายของแต่ละครั้งที่ก้มกราบลงบนถนน อันเปรียบประดุจเส้นทางแห่งการหยั่งรู้ ระดับความสูงกว่า 4,000 เมตร และอุณหภูมิที่ต่ำกว่าจุดเยือกแข็งได้ทำให้ทุกคนอ่อนล้า แต่ในที่สุดพวกเขาก็ทำสำเร็จหลังจากเดินทางมากว่า 2 ปี โจมาได้แต่นั่งน้ำตาไหลด้วยความปีติเมื่อเห็นยอดพระราชวังโปตาลาแห่งนครลาซา ดันจูใช้เวลาทั้งวันสวดมนต์และกราบพระพุทธรูปทุกองค์ในวัดโจคัง การกราบแต่ละครั้งหมายถึงจุดสิ้นสุดแห่งการเดินทางอันยิ่งใหญ่ หลังจากพวกเขากลับไปถึงหมู่บ้านแล้ว คนทั้งหมู่บ้านออกมาต้อนรับด้วยความปีติ พระผู้ใหญ่แห่งวิหารซีในชิงไรับดันจูเป็นลามะ ซึ่งสิ่งนี้เป็นความหวังอันสูงสุดในชีวิตเขา