การปกครองแบบพ่อปกครองลูกในสมัยสุโขทัยสิ้นสุดลงในสมัยใด

การปกครองแบบพ่อปกครองลูกในสมัยสุโขทัยสิ้นสุดลงในสมัยใด

การปกครองแบบพ่อปกครองลูกในสมัยสุโขทัยสิ้นสุดลงในสมัยใด
การปกครองแบบพ่อปกครองลูกในสมัยสุโขทัยสิ้นสุดลงในสมัยใด







อาณาจักรสุโขทัย หรือ รัฐสุโขทัย (อังกฤษ:
Kingdom of Sukhothai) เป็นอาณาจักร หรือรัฐในอดีตรัฐหนึ่ง ตั้งอยู่บนที่ราบลุ่มแม่น้ำยม เป็นชุมชนโบราณมาตั้งแต่ยุคเหล็กตอนปลาย จนกระทั่งสถาปนาขึ้นราวพุทธศตวรรษที่ 18 ในฐานะสถานีการค้าของรัฐละโว้ หลังจากนั้นราวปี 1800 พ่อขุนบางกลางหาวและพ่อขุนผาเมือง ได้ร่วมกันกระทำการยึดอำนาจจากขอมสบาดโขลญลำพง ซึ่งทำการเป็นผลสำเร็จและได้สถาปนาเอกราชให้สุโขทัยเป็นรัฐอิสระ และมีความเจริญรุ่งเรืองตามลำดับและเพิ่มถึงขีดสุดในสมัยพ่อขุนรามคำแหงมหาราช ก่อนจะค่อยๆตกต่ำ และประสบปัญหาทั้งจากปัญหาภายนอกและภายใน จนต่อมาถูกรวมเป็นส่วนหนึ่งของอาณาจักรอยุธยาไปในที่สุด

การปกครองสมัยสุโขทัย

อาณาจักรสุโขทัยเมื่อแรกตั้งเป็นอาณาจักรเล็กๆสมัยที่ รุ่งเรืองที่สุดคือสมัยพ่อขุนรามคำแหงมหราชมีอาณาเขต

- ทิศเหนือจรดเมืองลำพูน

- ทิศตะวันออกเฉียงเหนือจรดเทือกเขาดงพญา เย็นและภูเขาพนมดงรั

- ทิศตะวันตกจรดเมืองหงศาวดีทางใต้จรดแหลม มลายู มีกษัตริย์ปกครองเป็นเอกราชติดต่อกันมา 6 พระองค์

อาณาจักรสุโขทัยเสื่อมลงและตกเป็นเมืองขึ้นของกรุงศรีอยุธยาเมื่อสมัยพญาไสลือไทโดยทำสงครามปราชัยแก่พระบรมราชาที่ 1แห่งกรุงศรีอยุธยาในปีพ.ศ.1921 และราชวงศ์พระร่วง ยังคงปกครองในฐานะประเทศราชติตต่อกันมาอีก 2พระองค์จนสิ้นราชวงศ์ พ.ศ.1981

ลักษณะการปกครองสมัยสุโขทัย

แบ่งออกเป็น 2ช่วง คือ การปกครองสมัยสุโขทัยตอนต้นและการปกครองสมัยสุโขทัยตอนปลาย ดังต่อไปนี้

1.การปกครองสมัยสุโขทัยตอนต้นเมื่อขอมปกครอง สุโขทัยใช้ระบบการปกครองแบบนายปกครองบ่าวเมื่อสถาปนากรุงสุโขทัยขึ้นใหม่พ่อขุนศรีอินทราทิตย์จึงจัดการปกครองใหม่เป็นแบบบิดาปกครองบุตรหรือพ่อปกครองลูก หรือ ปิตุลาธิปไตย ซึ่งมีลักษณะสำคัญ4 ประการ คือ

  • รูปแบบราชาธิปไตย หมายถึงพระมหากษัตริย์ทรงเป็นผู้ปกครองสูงสุด ทรงใช้อำราจสูงสุดที่เรียกว่า อำนาจอธิปไตย
  • รูปแบบบิดาปกครอง บุตร หมายถึงพระมหากษัตริย์ทรงมีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับประชาชนมากจึงเปรียบ เสมือนเป็นหัวหน้าครอบครัว

หรือพ่อจึงมักมีคำนำหน้าพระนามว่าพ่อขุน

  • ลักษณะลดหลั่น กันลงมาเป็นขั้นๆเริ่มจากหลายครอบครัวรวมกันเป็นบ้านมีพ่อบ้านเป็นผู้ปกครอง หลายบ้านรวมกันเป็นเมืองมีพ่อเมือง

เป็นผู้ปกครองหลายเมืองรวมกันเป็นประเทศมีพ่อขุน เป็นผู้ปกครอง

  • การยึดหลักธรรมใน พุทธศาสนาในการบริหารบ้านเมือง

2.การปกครองสมัยสุโขทัยตอนปลายการปกครองแบบ บิดาปกครองบุตรเริ่มเสื่อมลงเนื่องจากสถาบันพระมหากษะตริย์ ไม่มั้นคงเกิด ความรำส่ำระสายเมืองต่างๆแยกตัวเป็นอิสระพระมหาธรรมราชาที่ 1จึงทรงดำเนินพระราชกุศโลบายทรงทำนุบำรุงส่งเสริมพระพุทธศาสนาและทรงปฏิบัติธรรมเป็นตัวอย่างแก่ราษฏรเพือ่ให้ราษฎร เลื่อมใสศรัทธาในหลักธรรมของพระพุทธศาสนาสร้างความสามัคคีในบ้านเมืองลักษณะการปกครองสุโขทัยตอนปลายจึงเป็นแบบธรรมราชาดัง นั้นจึงนับได้ว่าพระองค์ธรรมราชาพระองค์แรกและพระมหากษัตริย์องค์ต่อมาทรงพระนามว่า"พระมหาธรรมราชาทุกพระองค์"

การปกครองสมัยสุโขทัย


การเมืองการปกครอง สมัยสุโขทัย แบ่งเป็น
3ลักษณะ คือ

การปกครองแบบพ่อปกครองลูกในสมัยสุโขทัยสิ้นสุดลงในสมัยใด

1.การปกครองแบบพ่อปกครองลูกเป็นลักษณะเด่นอ

ขงการปกครองตนเองในสมัยสุโขทัยการปกครอง

ลักษณะนี้พระมหากษัตริย์เปรียบ เหมือนพ่อของ

ประชาชนและปลูกฝังความรู้สึกผูกพันระหว่า'

ญาติมิตรการ ปกครองเช่นนี้เด่นชัดมากในสมัย

พ่อขุนรามคำแหงมหาราช

2. การปกครองแบบธรรมราชาหรือธรรมาธิปไตย

ลักษณะการปกครองทรงยึดหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา

และต้องเผยแพร่ธรรมะสู่ ประชาชนด้วยการปกครอง

แบบธรรมราชานั้นเจริญรุ่งเรืองมากในสมัยพระมหา ธรรมราชาที่ 1พระองค์ทรงออกบวชและศึกษาหลักธรรมอย่างแตก ฉาน นอกจากนี้ยังทรงพระราชนิพนธ์

หนังสือเตภูมิกถา(ไตรภูมิพระร่วง)ไว้ให้ประชาชนศึกษา อีกด้วย

3. ทรงปกครองโดยยึดหลักสิทธิเสรีภาพเป็นการ ปกครองที่พระมหากษัตริย์ไม่ได้ทรงใช้อำนาจอย่างเด็ดขาด แต่ให้มีสิทธิเสรีภาพในการประกอบอาชีพด้านต่าง ๆตามความถนัดเป็นต้น

การปกครองของอาณาจักร สุโขทัย

แบ่งการปกครองออกเป็น

การปกครองแบบพ่อปกครองลูกในสมัยสุโขทัยสิ้นสุดลงในสมัยใด

1. เมืองหลวงหรือราชธานีเป็นที่ประทับของพระ มหากษัตริย์พระราชวังและวัดจำนวนมากตั้งอยู่ในและนอกกำแพงเมืองราชธานีเป็น ศูนย์กลางทางการปกครองการศาสนาวัฒนธรรมศิลปะและขนบประเพณีพระมหากษัตริย์ทาง เป็นผู้ปกครองเอง

2. เมืองลูกหลวงเป็นเมืองหน้าด่านตั้งอยู่รอบ ราชธานีห่างจากเมืองหลวงมีระยะทางเดินเท้าประมาณ 2วัน ได้แก่ เมืองศรีสัชนาลัย เมืองสองแคว เมืองสระหลวงเมืองชากังราว เมืองลูกหลวงเป็น เมืองที่เจ้านายเชื้อพระวงส์ได้รับแการแต่งตั้งจากพระมหากษัตริย์

การปกครองราชธานีและหัวเมืองต่างๆ แบ่งออกเป็น

การปกครองแบบพ่อปกครองลูกในสมัยสุโขทัยสิ้นสุดลงในสมัยใด

1. เมืองหลวงหรือราชธานีอาณาจักรสุโขทัยมีกรุงสุโขทัยเป็นราชธานีเมืองหลวงหรือราชธานีเป็นที่ประทับของพระมหากษัตริย์พระมหากษัตริย์เป็นผู้ปกครองดูแลเอง
2. หัวเมืองชั้นใน หรือเมืองลูกหลวงตั้งอยู่รายรอบราชธานีทั้ง 4 ทิศหัวเมืองชั้นในพ่อขุนจะแต่งตั้งพระญาติวงศ์ใกล้ชิดไปปกครอง
3.หัวเมืองชั้นนอกหรือเมืองพระยามหานคร ผู้ปกครองเมือง ได้แก่เจ้านายหรือข้าราชการชั้นผู้ใหญ่ที่พ่อขุนโปรดเกล้าฯให้ไปปกครองเมืองนั้น ๆ
4.เมืองประเทศราชเมืองที่อยู่นอกอาณาจักรชาวเมืองเป็นคนต่างชาติ พ่อขุนจะกำหนดให้เจ้านายของเมืองนั้นๆ ปกครองกันเองแต่ต้องถวายเครื่องราชบรรณาการต่อพระเจ้ากรุงสุโขทัยตามกำหนด

ความเสื่อมของอาณาจักรสุโขทัย

การปกครองแบบพ่อปกครองลูกในสมัยสุโขทัยสิ้นสุดลงในสมัยใด

1. การ เปลี่ยนแปลงการปกครองสุโขทัยสมัยแรกๆปกครองแบบพ่อปกครองลูกและได้เปลี่ยน เป็นสมมติเทพในสมัยพญาเลอไทซึ่งทำให้ความสัมพันธ์ของ

พระมหากษัตริย ์กับประชาชนห่าง เหินกันมากขึ้น ความสัมพันธ์แบบเครือญาติหมดไปพระมหา กษัตริย์ต้องปกครองประเทศโดยลำพังทำให้เกิดความขัดแย้งได้ง่าย

ถ้าพระมหากษัตริย ์อ่อนแอ

2. การ กระจายอำนาจในการปกครองการปกครองแบบนี้ทำให้หัวเมืองต่างๆตั้งตัวเป็นอิสระ ได้ง่าย เพราะมีอิทธิพลในการปกครองตนเอง

3. การ แตกแยกในราชวงศ์สาเหตุนี้ทำให้บ้านเมืองทรุดโทรมและสูญเสียกำลังมากเพราะการ ฆ่าฟันกัน

4. การ สิ้นสุดของอาณาจักรสุโขทัยซึ่งเกิดจากการสถาปนากรุงศรีอยุธยาที่มีความพร้อม และมีความเข้มแข็งมากกว่า

การสถาปนาอาณาจักรสุโขทัย

การปกครองแบบพ่อปกครองลูกในสมัยสุโขทัยสิ้นสุดลงในสมัยใด

อาณาจักรสุโขทัยสถาปนาขึ้นประมาณตอนปลายพุทธ ศตวรรษที่ 18 ในบริเวณภาคเหนือตอนล่าง ซึ่งมีปัจจัยที่เอื้อต่อการสถาปนาดังนี้

1. การเสื่อมอำนาจของอาณาจักรขอม อาณาจักรขอมเคยเจริญรุ่งเรืองอยู่ประมาณ พุทธศตวรรษที่ 16 จนถึงกลางพุทธศตวรรษที่ 18 ในบริเวณที่ราบลุ่มแม่น้ำโขงตอนล่าง มีเมืองนครธม(พระนครหลวง) เป็นเมืองหลวง ในประเทศกัมพูชาในปัจจุบัน และแผ่อิทธิพลเข้ามายังบริเวณภาคตะวันออก เฉียงเหนือของไทย รวมทั้งบริเวณที่ราบลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยา ตอนล่างด้วย ในสมัยพระเจ้าชัยวรมันที่ 7 ( พ. ศ. 1724 – 1761) อาณาจักรขอมเจริญรุ่งเรืองมาก

หลังจากนั้นพระมหากษัตริย์องค์ต่อมา อ่อนแอ ไม่สามารถรักษาอำนาจไว้ได้ อาณาจักรขอมจึงเสื่อมอำนาจลงเรื่อย ๆ จึงเปิดโอกาสให้ชนชาติอื่นที่อาศัย

ในบริเวณนั้นตั้งตัวเป็นอิสระ อย่างเช่นชนชาติไทยได้สถาปนาอาณาจักร สุโขทัยขึ้นมา

2. ความสามารถของผู้นำชาวไทย ในตอนหลายพุทธศตวรรษที่ 18 ขอมที่มีศูนย์กลางการปกครองที่สุโขทัย เมืองของคนไทยอยู่ภายใต้การปกครองของขอม ได้แก่เมืองศรีสัชนาลัย เมืองบางยาง เมืองราก ได้รวมตัวกันอย่างมั่นคงและมีความสัมพันธ์ทางเครือญาติที่แน่น แฟ้น เมื่อขอมเสื่อมอำนาจจึงร่วมมือกันขับ

ไล่ขอมสบาดโขลญลำพงออกจากสุโขทัยได้เป็นอาณาจักรของคน ไทยได้สำเร็จ

พระมหากษัตริย์ที่ปกครอง อาณาจักรสุโขทัย

พระมหากษัตริย์แห่งอาณาจักรสุโขทัย เป็นกษัตริย์ราชวงศ์พระร่วงมีจำนวน 9 พระองค์ ดังนี้

ลำดับ

พระนาม

ปีที่สิ้นสุดรัชสมัย

1

พ่อขุนศรีอินทราทิตย์

ไม่ปรากฎ

2

พ่อขุนบานเมือง

พ.ศ. 1822

3

พ่อขุนรามคำแหงมหาราช

พ.ศ. 1841

4

พระยาเลอไท

ไม่ปรากฎ

5

พระยางั่วนำถม

พ.ศ.1890

6

พระมหาธรรมราชาที่ 1(ลิไท)

ระหว่าง พ.ศ. 1911-1916

7

พระมหาธรรมราชาที่ 2

พ.1942ศ.

8

พระมหาธรรมราชาที่ 3(ไสลือไท)

พ.ศ.1962

9

พระมหาธรรมราชาที่ 4(บรมปาล)

พ.ศ.1981