ครูเสียชีวิต จะได้เงินอะไรบ้าง

สวัสดิการสังคม

               -   เมื่อสมาชิกถึงแก่กรรม ทายาทยื่นเรื่องขอรับเงิน ภายใน 90 วัน
               -   ได้รับค่าคารวะศพ และค่าพวงหรีด ไม่เกิน 1,000 บาท


 ตารางการจ่ายเงินสวัสดิการ

อายุการเป็นสมาชิก

เงินสวัสดิการที่ได้รับ (บาท)

น้อยกว่า 2 ปี

10,000

2 ปี ขึ้นไป ถึง 6 ปี

20,000

6 ปี ขึ้นไป ถึง 10 ปี

30,000

10 ปี ขึ้นไป ถึง 15 ปี

40,000

15 ปี ขึ้นไป ถึง 20 ปี

50,000

20 ปี ขึ้นไป ถึง 25 ปี

60,000

25 ปี ขึ้นไป ถึง 30 ปี

70,000

30 ปี ขึ้นไป ถึง 35 ปี

80,000

35 ปี ขึ้นไป ถึง 40 ปี

90,000

40 ปี ขึ้นไป

110,000

               -  คู่สมรสได้เศษหนึ่งส่วนสองของเกณฑ์ที่กำหนด แต่ไม่เกิน 30,000 บาท
               -  สมาชิกสมทบมีสิทธิ์ได้รับค่าคาระศพ และค่าพวงหรีดไม่เกิน 1,000 บาท

               สวัสดิการสมาชิกที่ไม่มีบุตร

               -  ต้องมีอายุการเป็นสมาชิกตั้งแต่ 20 ปี ขึ้นไป
               -  ได้รับเงินสวัสดิการครั้งเดียว 2,000 บาท ตลอดชีพ ตามเงื่อนไขดังนี้
                   1.สมาชิกที่เป็นโสด ไม่มีบุตร หรือบุตรบุญธรรม
                   2.สมาชิกที่หย่า หรือ หม้าย ไม่มีบุตร หรือบุตรบุญธรรม
                   3.สมาชิกที่สมรสแล้ว ไม่มีบุตร หรือบุตรบุญธรรม 

สวัสดิการกองทุนชีวิตหมู่

               เมื่อสมาชิกถึงแก่กรรม ทายาทยื่นเรื่องขอรับเงินภายใน 90 วันนับแต่วันที่สมาชิกถึงแก่กรรม

อายุการเป็นสมาชิก

เงินสวัสดิการที่ได้รับ

เอกสารยื่นขอรับเงิน

ไม่ถึง 2 ปี (นับตั้งแต่ชำระค่าหุ้นครั้งแรก)

10,000

 1.  หนังสือขอรับเงินช่วยเหลือตามแบบ
     ที่สหกรณ์กำหนด
 2.  มรณบัตรของสมาชิกพร้อมสำเนา
 3.  ทะเบียนสมรส (กรณีมีคู่สมรส) พร้อมทั้งสำเนา
 4.  ทะเบียนบ้าน พร้อมทั้งสำเนา
 5.  ใบแจ้งความ (กรณีประสบอุบัติเหตุ)
 6.  ใบรับรองแพทย์ (กรณีประสบอุบัติเหตุ)

6 ปี ขึ้นไป ถึง 6 ปี

20,000

6 ปี ขึ้นไป ถึง 10 ปี

30,000

10 ปี แต่ไม่ถึง 15 ปี

40,000

15ปี แต่ไม่ถึง 20 ปี

60,000

20 ปี แต่ไม่ถึง 25 ปี

80,000

25 ปี แต่ไม่ถึง 30 ปี

100,000

30 ปี แต่ไม่ถึง 35 ปี

120,000

35 ปี แต่ไม่ถึง 40 ปี

140,000

40 ปี ขึ้นไป

160,000


               กรณีสมาชิกสมัครใหม่จะได้รับสิทธิ์ก็ต่อเมื่อสหกรณ์ได้รับเงินค่าหุ้นเรียบร้อยแล้ว
               กรณีสมาชิกที่ถึงแก่กรรมโดยประสบอุบัติเหตุ มีสิทธิได้รับเงินช่วยเหลือจากกองทุนชีวิตหมู่เพิ่มอีก 50,000.-บาท
               กรณีสมาชิกของสหกรณ์ที่ประสบอุบัติเหตุจนพิการ มิสิทธิ์ได้รับเงินช่วยเหลือจากกองทุน
               ชีวิตหมู่ ตามหลักเกณฑ์ ดังต่อไปนี้

เงินสวัสดิการที่ได้รับ (บาท)

(1) ทุพพลภาพสิ้นเชิงถาวร

50,000

(2) สูญเสียสายตา 2 ข้าง หรือมือ 2 ข้าง หรือ เท้า 2 ข้าง

30,000

(3) สูญเสียตา หรือมือ หรือเท้า อย่างใดอย่างหนึ่งรวมกันตั้งแต่สองอย่างขึ้นไป

30,000

(4) สูญเสียสายตา 1 ข้าง หรือมือ 1 ข้าง หรือเท้า 1 ข้าง

15,000

(5) สูญเสียอวัยวะอย่างใดอย่างหนึ่ง นอกเหนือจากข้อ(1) ถึงข้อ(4) แล้ว ให้ได้รับเงินช่วยเหลือตามดุลยพินิจของคณะกรรมการ

สรุปได้ว่า ข้าราชการและผู้รับบำนาญ นอกจากจะรับเงินเดือน ค่าตอบแทน หรือเงินบำนาญแล้ว ยังมีสิทธิ์ได้รับสวัสดิการและสิทธิประโยชน์อื่นอีกหลายอย่าง ผู้รับบำนาญยังสามารถใช้สิทธิ์ในการขอรับเงินบำเหน็จดำรงชีพด้วย หากเสียชีวิตลงไปผู้ถูกระบุสิทธิ์หรือทายาทก็จะได้รับเงินบำเหน็จตกทอด และเงินช่วยพิเศษ 3 เดือน ตามสิทธิ์ของเขาด้วย ดังนั้นการเรียนรู้ การใช้สิทธิ์ การเตรียมการ และการบอกกล่าวกับทายาท หรือผู้เกี่ยวข้องจึงเป็นเรื่องที่ข้าราชการและผู้รับบำนาญจะละเลยเสียมิได้

ี1. ข้าราชการได้รับอันตรายจนพิการ เสียแขน หรือขา หูหนวกทั้ง 2 ข้าง ตาบอด หรือได้รับการป่วยเจ็บซึ่งแพทย์ที่ทางราชการรับรองได้ตรวจแล้ว และแสดงถึงทุพพลภาพไม่สามารถจะรับราชการต่อไปได้ ทั้งนี้ เพราะเหตุปฏิบัติราชการในหน้าที่ หรือถูกประทุษร้ายเพราะเหตุการะทำการตามหน้าที่ ให้ได้รับบำนาญปกติและบำนาญพิเศษ เว้นแต่เหตุนั้นเกิดขึ้นจากความประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรง หรือจากความผิดของตนเอง
2. ข้าราชการ ซึ่งออกจากราชการโดยได้รับบำเหน็จบำนาญปกติไปแล้ว ถ้าภายในกำำหนด 3 ปี นับแต่วันออกจากราชการ โดยปรากฎหลักฐานชัดเจนว่าเกิดป่วยเจ็บถึงทุพพลภาพอันเป็นผลมาจากการปฏฺบัติหน้าที่ราชการระหว่างที่ผู้นั้นรับราชการอยู่ ให้ได้รับบำนาญปกติและบำนาญพิเศษ
3. ข้าราชการได้รับอันตราหรือป่วยเจ็บจนพิการถึงสูญเสียอวัยวะส่วนใดส่วนหนึ่งไปเพราะเหตุปฏิบัติราชการในหน้าที่ หรือถูกประทุษร้ายเพราะเหตุการะทำการตามหน้าที่ แต่ยังสามารถรับราชการต่อไปได้ ให้ไ้ด้รับเงินทำขวัญเป็นก้อนในอัตราที่กำหนด
(ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยเงินทำขวัญข้าราชการและลูกจ้าง พ.ศ. 2516)

การนำระยะเวลาราชการทหารมานับรวมสำหรับคำนวณบำเหน็จบำนาญ

----1. ผู้เคยเป็นข้าราชการทหาร (ประจำการ) มาก่อนและขอลาออกจากราชการ โดยมีสิทธิได้รับเบี้ยหวัด ต่อมาบรรจุเข้ารับราชการเป็นข้าราชการพลเรือน สามารถนำระยะเวลาการเป็นทหารมานับรวมเป็นเวลาราชการสำหรับคำนวณบำเหน็จบำนาญได้ (ทั้งเกิดสิทธิและคำนวณเงิน)
----2. ข้าราชการพลเรืือน ที่ได้รับการตรวจเลือกให้เข้ารับราชการทหาร (กองประจำการ : ทหารเกณฑ์) ตามกฎหมายว่าด้วยการรับราชการทหาร สามารถนำระยะเวลาการระหว่างเข้ารับราชการทหารมานับรวมเป็นเวลาราชการสำหรับคำนวณบำเหน็จบำนาญได้ (รวมทั้งขอนับเวลาเพื่อคำนวณเงินประเดิม ทั้งนี้ก่อน 27 มี.ค.2540)

ตัวอย่างหนังสือการขอเวลาราชการทหาร และแบบขอแก้ไขข้อมูลสมาชิก กบข. 005/2/2550

ข้าราชการบํานาญเสียชีวิต ได้อะไรบ้าง

เมื่อผู้รับบำนาญเสียชีวิตให้ดำเนินการ ดังนี้ ๑. แจ้งการเสียชีวิตเพื่องดจ่ายเงินบำนาญ ณ ส่วนราชการที่รับเงินบำนาญ โดยแสดงใบมรณบัตร ๒. ขอรับเงินประเภทต่างๆ ดังนี้ ๒.๑ เงินที่ภาครัฐจ่ายให้ ได้แก่ กรมสรรพากร - เงินบำเหน็จตกทอดขอรับ ณ ส่วนราชการที่รับเงินบำนาญ - เงินช่วยพิเศษ ขอรับ ณ ส่วนราชการที่รับเงินบำนาญ

ข้าราชการเสียชีวิตได้กี่บาท

- กรณีข้าราชการถึงแก่ความตาย ให้จ่ายเงินช่วยพิเศษ จ านวน 3 เท่า ของเงินเดือนเต็มเดือนที่ข้าราชการรายดังกล่าวมีสิทธิได้รับในเดือน ที่ถึงแก่ความตาย สูตรการคานวณ = (เงินเดือนเดือนสุดท้าย + เงินเพิ่มพิเศษค่าวิชา + เงินประจาตาแหน่งที่ต้องฝ่าอันตรายเป็นปกติ + เงินเพิ่มพิเศษสาหรับการสู้รบ + เงินเพิ่มพิเศษ สาหรับการปราบปรามผู้ ...

ข้าราชการบํานาญทหารเสียชีวิต ได้อะไรบ้าง

ข้าราชการทหารเสียชีวิต จ่ายเงินช่วยพิเศษ 3 เท่า ของเงินเดือน รวมเงินเพิ่มต่าง ๆ ผู้รับเบี้ยหวัดเสียชีวิต จ่ายเงินช่วยพิเศษเท่ากับเบี้ยหวัด 3 เดือน รวมเงินช่วยค่าครองชีพ ผู้รับบำนาญเสียชีวิต จ่ายเงินช่วยพิเศษเท่ากับบำนาญ 3 เดือน รวมเงินช่วยค่าครองชีพ

เงินบําเหน็จตกทอดได้เท่าไร

เมื่อผู้รับเบี้ยหวัดบำนาญเสียชีวิต ทายาทจะได้รับเงินบำเหน็จตกทอด 30 เท่าของเงิน บำนาญรวมเงินช่วยค่าครองชีพผู้รับเบี้ยหวัดบำนาญ ขั้นตอนการขอรับเงินบำเหน็จตกทอด ทายาทจะต้องเป็นผู้ดำเนินการติดต่อขอทำเรื่องบำเหน็จตกทอดเป็นเงิน 30 เท่าของบำนาญ ที่ต้นสังกัด ถ้าเป็นนายทหารชั้นนายพล ติดต่อทำเรื่องบำเหน็จตกทอด ที่กองบริการกำลัง ...