หนังสือราชกิจจานุเบกษามีความสําคัญอย่างไร

การให้บริการราชกิจจานุเบกษา และการสืบค้นทางเว็บไซต์

ราชกิจจานุเบกษา (Royal Thai Government Gazette เรียกสั้น ๆ ว่า Government Gazette) เป็นหนังสือที่ได้รวบรวมคำประกาศของทางราชการ แปลว่า “เป็นที่เพ่งดูราชกิจ”  เริ่มจัดพิมพ์ขึ้นในสมัย พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 4) เมื่อวันที่ 15 มีนาคม พ.ศ. 2401

หนังสือราชกิจจานุเบกษามีความสําคัญอย่างไร

หน้าปกราชกิจจานุเบกษา

ราชกิจจานุเบกษา มีกำหนดออกเป็นรายสัปดาห์ โดยสำนักงานราชกิจจานุเบกษา สำหรับลงประกาศเกี่ยวกับกฎหมาย กฎระเบียบ ข้อบังคับ ตลอดจนประกาศของกระทรวง ทบวง กรมต่างๆ รวมทั้งประกาศเกี่ยวกับการจดทะเบียนห้างหุ้นส่วนและบริษัท ปัจจุบันมีสำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี ทำหน้าที่รับผิดชอบในการจัดพิมพ์ จะมีรูปเล่มที่คุ้นตากัน ก็คือ มีตัวอักษรและตราครุฑสีดำอยู่บนหน้าปกสีขาว จะขึ้นลำดับเล่มใหม่ทุกปี เริ่มตอนที่1 ในช่วงของต้นเดือนมกราคม มีขนาดของตัวเล่มคือ กว้าง 14.5 ซม. ยาว 21 ซม.

ราชกิจจานุเบกษาที่มีในห้องสมุดกฎหมาย ศูนย์บรรณสารสนเทศ

หนังสือราชกิจจานุเบกษามีความสําคัญอย่างไร
                   
หนังสือราชกิจจานุเบกษามีความสําคัญอย่างไร

ราชกิจจานุเบกษานับเป็นหนังสือที่มีความสำคัญเป็นอย่างมากของทางราชการ ซึ่งใช้สำหรับการประกาศกฎหมาย ข่าวสารสำคัญของบ้านเมือง และเป็นประโยชน์อย่างยิ่งในการใช้ศึกษาค้นคว้าข้อมูลย้อนหลัง ใช้เป็นแหล่งอ้างอิงให้กับผู้ที่กำลังศึกษาทางด้านคณะนิติศาสตร์ รัฐศาสตร์

สำหรับราชกิจจานุเบกษา ที่มีอยู่และให้บริการในห้องสมุดกฎหมาย ปัจจุบันได้มีการจัดเก็บ รวบรวมไว้ให้บริการอยู่ที่ชั้น 6 งานวารสารและเอกสาร แผนกบริการสารสนเทศ ซึ่งฉบับแรกที่มีให้บริการจะเป็น ปี พ.ศ. 2534 จนถึง ปี พ.ศ. 2556  รวบรวมไว้เป็นฉบับเย็บเล่มจัดเรียงตามปี พ.ศ. มีการเว้นช่วงการบอกรับไประยะเวลาหนึ่ง สืบเนื่องจากสามารถค้นคว้าข้อมูลต่างๆ ได้จากเว็บไซต์ราชกิจจานุเบกษาโดยตรง และรวดเร็วกว่าการค้นคว้าจากตัวเล่ม แต่ปัจจุบันทางคณะนิติศาสตร์ได้ขอความร่วมมือให้ทางห้องสมุดติดต่อบอกรับแบบตัวเล่มอีกครั้ง เพื่อให้นักศึกษาได้ศึกษาค้นคว้าจากต้นฉบับได้หลากหลายขึ้น

Read the rest of this entry »

View (735)

ลักษณะของเรื่องที่จะนำลงในราชกิจจานุเบกษาได้

          เรื่องที่จะนำลงประกาศหรือลงพิมพ์ในราชกิจจานุเบกษาได้จะต้องมีลักษณะอย่างหนึ่งอย่างใดดังต่อไปนี้

          ๑. เรื่องที่กฎหมายเฉพาะบัญญัติให้ต้องประกาศในราชกิจจานุเบกษา

          ๒. ข้อมูลข่าวสารของราชการที่ต้องส่งไปลงพิมพ์ในราชกิจจานุเบกษา ตามพระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. ๒๕๔๐ มีดังต่อไปนี้          

              ๒.๑ มาตรา ๗ หน่วยงานของรัฐต้องส่งข้อมูลข่าวสารของราชการอย่างน้อยดังต่อไปนี้ ลงพิมพ์ในราชกิจจานุเบกษา

                   (๑) โครงสร้างและการจัดองค์กรในการดำเนินงาน

                   (๒) สรุปอำนาจหน้าที่ที่สำคัญและวิธีการดำเนินงาน

                   (๓) สถานที่ติดต่อเพื่อขอรับข้อมูลข่าวสาร หรือคำแนะนำในการติดต่อกับหน่วยงานของรัฐ

                   (๔) กฎ มติคณะรัฐมนตรี ข้อบังคับ คำสั่ง หนังสือเวียน ระเบียบ แบบแผน นโยบาย หรือการตีความ ทั้งนี้ เฉพาะที่จัดให้มีขึ้นโดยมีสภาพอย่างกฎ เพื่อให้มีผลเป็นการทั่วไปต่อเอกชนที่เกี่ยวข้อง

                   (๕) ข้อมูลข่าวสารอื่นตามที่คณะกรรมการกำหนด

                   ข้อมูลข่าวสารใดที่ได้มีการจัดพิมพ์เพื่อให้แพร่หลายตามจำนวนพอสมควรแล้ว ถ้ามีการลงพิมพ์ในราชกิจจานุเบกษาโดยอ้างอิงถึงสิ่งพิมพ์นั้น ก็ให้ถือว่าเป็นการปฏิบัติตามบทบัญญัติวรรคหนึ่งแล้ว

                   ให้หน่วยงานของรัฐรวบรวมและจัดให้มีข้อมูลข่าวสารตามวรรคหนึ่งไว้เผยแพร่ เพื่อขายหรือจำหน่าย จ่ายแจก ณ ที่ทำการของหน่วยงานของรัฐแห่งนั้นตามที่เห็นสมควร

              ๒.๒ มาตรา ๘ ข้อมูลข่าวสารที่ต้องลงพิมพ์ตามมาตรา ๗ (๔) ถ้ายังไม่ได้ลงพิมพ์ในราชกิจจานุเบกษา จะนำมาใช้บังคับในทางที่ไม่เป็นคุณแก่ผู้ใดไม่ได้ เว้นแต่ผู้นั้นจะได้รู้ถึงข้อมูลข่าวสารนั้นตามความเป็นจริงมาก่อนแล้วเป็นเวลาพอสมควร

          ๓. เรื่องที่กฎหมายมิได้บัญญัติให้ต้องประกาศหรือส่งพิมพ์ในราชกิจจานุเบกษา แต่เป็นเรื่องสำคัญที่สมควรเผยแพร่ให้ประชาชนทราบ

หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขเกี่ยวกับการจัดส่งเรื่องไปประกาศหรือลงพิมพ์

          เนื่องจากในปัจจุบันส่วนราชการ และหน่วยงานของรัฐหรือองค์กรต่างๆ ส่งเรื่องไปประกาศหรือลงพิมพ์ในราชกิจจานุเบกษาเป็นจำนวนมาก
และหลากหลายประเภท ส่วนใหญ่เป็นเรื่องที่มีความสำคัญกระทบต่อสิทธิและเสรีภาพตลอดจนความเป็นอยู่ของประชาชนอย่างกว้างขวาง
การนำลงประกาศหรือลงพิมพ์ในราชกิจจานุเบกษา เผยแพร่ออกสู่สาธารณะจำเป็นต้องคำนึงถึงความถูกต้อง และครบถ้วนสมบูรณ์ของเรื่องนั้นๆ
เป็นประการสำคัญ ด้วยเหตุนี้สำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรีจึงได้กำหนดหลักเกณฑ์ และแนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับการส่งเรื่องไปประกาศในราชกิจจานุเบกษา
แจ้งเวียน กระทรวง ทบวง กรม และหน่วยงานของรัฐหรือองค์กรต่างๆ เพื่อถือปฏิบัติต่อเนื่องมาเป็นลำดับ หลักเกณฑ์และแนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับ
การส่งเรื่องไปประกาศในราชกิจจานุเบกษาที่ถือปฏิบัติอยู่ในเวลานี้ ได้แก่ หนังสือสำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี ด่วนที่สุด ที่ นร ๐๒๐๔/ว ๑๔ ลงวันที่ ๒๙ มกราคม ๒๕๔๕ 

หนังสือพระราชกิจจานุเบกษามีความสำคัญอย่างไร

ราชกิจจานุเบกษา เปนหนังสือพิมพของหลวงหรือของทางราชการที่สําคัญมีคุณคาเปน อยางยิ่ง สามารถใชเปนเอกสารและหลักฐานอางอิงคนควาเรื่องราวตางๆ ที่เกิดขึ้นในสมัยตางๆได ขอมูลเรื่องราวที่ปรากฏในราชกิจจานุเบกษาเปนเรื่องราวที่เกิดขึ้นจริง มีคุณคาในการศึกษาทาง ประวัติศาสตร การเมืองและการปกครอง ในสมัยที่ ...

ราชกิจจานุเบกษา คืออะไร มีประโยชน์อย่างไร

ตอบ ราชกิจจานุเบกษา เป็นหนังสือของทางราชการที่ออกเป็นรายสัปดาห์โดยสำนักงานราชกิจจานุเบกษา สำนักงานเลขาธิการคณะรัฐมนตรี สำหรับลงประกาศเกี่ยวกับกฎหมาย กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ ตลอดจนประกาศของกระทรวง ทบวง กรมต่างๆ รวมทั้งประกาศเกี่ยวกับการจดทะเบียนหุ้นส่วนบริษัท การตั้งค่าความเป็นส่วนตัว ปฏิเสธทั้งหมด ยอมรับทั้งหมด

หนังสือราชกิจจานุเบกษา(Royal Thai Government Garzette)มีความสำคัญอย่างไร

ราชกิจจานุเบกษานับเป็นหนังสือที่มีความสำคัญเป็นอย่างมากของทางราชการ ซึ่งใช้สำหรับการประกาศกฎหมาย ข่าวสารสำคัญของบ้านเมือง และเป็นประโยชน์อย่างยิ่งในการใช้ศึกษาค้นคว้าข้อมูลย้อนหลัง ใช้เป็นแหล่งอ้างอิงให้กับผู้ที่กำลังศึกษาทางด้านคณะนิติศาสตร์ รัฐศาสตร์

ราชกิจจานุเบกษา มีอะไรบ้าง

มี ๔ ประเภท ได้แก่ ฉบับกฤษฎีกา หรือประเภท ก ได้แก่ พระราชบัญัติ พระราชกฤษฎีกา หรือ พระราชกำหนด ฉบับทะเบียนฐานันดร หรือประเภท ข ได้แก่ ข่าวพระราชสำนัก การพระราช