ตัวทำละลายที่นิยมใช้สกัดน้ำมันจากพืชคือข้อใด

3. สารที่สกัดจากพืชอยู่ในรูปหรือองค์ประกอบแบบไหน (มีขั้วหรือไม่มีขั้ว) และเป็นสารในกลุ่มของ essential oil, phenolic, alkaloids, หรือกลุ่มอื่นๆ ก่อน

4. วิธีการสกัด ได้แก่ การกลั่น (กลั่นไอน้ำ หรือต้มกลั่น) การใช้ตัวทำละลาย และ

5. การนำไปใช้ประโยชน์  เป็นต้น

ซึ่งสารสกัดจากพืชดังกล่าวมีทั้งแบบมีขั้วและไม่มีขั้ว อาจใช้การสกัดด้วยตัวทำละลายไม่มีขั้ว เช่น เฮกเซน หรือปิโตรเลียมอีเทอร์ แล้วนำกากมาสกัดต่อด้วยตัวทำละลายมีขั้ว เช่น เอทานอล ซึ่งตัวทำละลายเหล่านี้สามารถระเหยและนำกลับมาใช้ใหม่ได้ ก็จะได้สารสกัดที่มีลักษณะมีสีเขียวของคลอโรฟิลล์ปนออกมาด้วย (โดยเฉพาะใช้เอทานอลสกัด) เราเรียกสารสกัดหยาบว่า concrete  ซึ่งต้องนำไปล้าง (ปกติใช้เอทานอล) หลายๆ ครั้งจนได้สารสกัดที่บริสุทธิ์มากขึ้น เรียกสารสกัดนี้ว่า absolute ซึ่งอาจมีลักษณะใส แต่อาจมีความข้น หนืด บ้าง อย่างไรก็ตามการสกัด โดยตัวทำละลายที่ใช้เอทานอลสามารถนำมาใช้ได้ทันที (ไม่ระเหยตัวทำละลายออกก่อน) ขึ้นอยู่กับวัตถุประสงค์ของการใช้

 ˹��¡�����¹��� ����¡���
    ����ͧ "���ʡѴ���µ�Ƿ������"
�Ӫ��ᨧ : ������͡�ӵͺ���١��ͧ����ش��§�ӵͺ����

 1. �����������ѡ㹡�����͡��Ƿ�����·���㹡��ʡѴ���µ�Ƿ������
�ҡ��ͧ���ʡѴ�ըҡ�ת ��Ƿ�����µ�ͧ�������
�ҡ��ͧ���ʡѴ���� ��ù�鹤���ա��蹴��� �Ъ����������������觢��
��Ƿ�����µ�ͧ���ӻ�ԡ����ҡѺ��÷���ʡѴ
��Ƿ�����µ�ͧ�¡�͡�ҡ��÷���ʡѴ�����

2. ���㴹�����㹡��ʡѴ��ҹ���ѹ�͡�ҡ���紾ת
���
�ͷҹ��
�Ρૹ
����չ

3. ���紾ת�����������ʡѴ���µ�Ƿ������
���紴͡�ҹ���ѹ
����ᴧ
�Ӣ���
��������ͧ

4. ����¡�������͡�ҡ��¤�����Ըա���
��á����ӴѺ��ǹ
���ʡѴ�����͹��
���ʡѴ���µ�Ƿ������
��õ���֡

5. �ҡ��ͧ���ʡѴ�ըҡ���鹤�����Ƿ�������㹡��ʡѴ
���
�ͷҹ��
�Ρૹ
����չ

6. ��Ƿ�������ʡѴ���蹨ҡ������շ���ش
���
�ͷҹ��
�Ρૹ
����չ

7. �ҡ���ͧʡѴ��èҡ�����������ʹ���ͧ��� 1 �����ʹ���ͧ��� 2 �����ҳ������ҡѹ ����ʹ��� 1 �����
�������繪���˭� � ��ʹ��� 2 ����鹷������繪������ ��������ͷҹ������� 95 �����繵� ŧ���ʹ���ͧ����ͧ
��ʹ�� 10 �١��ȡ�ૹ������ ���Ҵ����ç������ҷ����ҡѹ �š�÷��ͧ��������ҧ��
��ʹ��� 1 ������ʡѴ�ҡ�����ҡ����
��ʹ��� 2 ������ʡѴ�ҡ�����ҡ����
��ʹ��� 1 �����ʹ��� 2 ������ʡѴ�ҡ������ҡѹ
��ʹ��� 1 ��� 2 ���������ʡѴ�ҡ�������

8. ��÷��ʡѴ��ҡ���鹹�������ª���� ¡�������
���ռ�������
������ͧ���ҧ
Ŵ�ҡ�ü��˹ѧ�ѡ�ʺ
������ҡ���纤�

9. ����¡��ô����Ըա�á����������ѡ�������Ӥѭ
����ᵡ��ҧ�ͧ�ش��ʹ
��������ö㹡�������
��������ö㹡�ôٴ�Ѻ
����ᵡ��ҧ�ͧ�ش��������

10. �����¡����Ը�����Ǩ�ͺ�����ú���ط����������
��á�ͧ
����ⷡ�ҿ�
��á����ӴѺ��ǹ
���ʡѴ�����͹��


Score =
Correct answers:

�Ѵ���� : ����ʡ��ä� ����ó�آ

เฮกเซนนั้นเป็นของเหลวใส ไม่มีสี จุดเดือดต่ำ เป็นสารที่ผลิตได้จากกระบวนการกลั่นน้ำมันดิบหรือการแยกก๊าซปิโตรเลียมเหลว ที่ถูกนำมาใช้งานสำหรับเป็นตัวทำละลายในอุตสาหกรรมต่าง ๆ เช่น การสกัดสารอินทรีย์จากสมุนไพร, ใช้เป็นส่วนผสมเพื่อเป็นตัวทำละลายสี, ใช้ผสมสีหรือกาวในงานเฟอร์นิเจอร์, งานพ่นหรืองานทาสี และงานทากาวรองเท้า สำหรับโรงงานที่ใช้เฮกเซน ได้แก่ โรงงานอุตสาหกรรมน้ำมันพืชและผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียม เป็นต้น

ตัวทำละลายที่นิยมใช้สกัดน้ำมันจากพืชคือข้อใด
ตัวทำละลายที่นิยมใช้สกัดน้ำมันจากพืชคือข้อใด

ลักษณะเฉพาะของ “เฮกเซน”

ชื่ออื่นๆNaphtha (petroleum), hydrotreated light, Diproply, Gettysolv-b และhexสถานะเป็นของเหลวใส ไม่มีสี มีกลิ่นฉุนสูตรโมเลกุลC4H14สูตรโครงสร้างโมเลกุลCH3-CH2-CH2-CH2-CH2-CH3น้ำหนักโมเลกุล86.1766จุดหลอมเหลว-100 ถึง -95 องศาเซลเซียสจุดเดือด69 องศาเซลเซียสความถ่วงจำเพาะ0.660การละลายน้ำ10.5 มก./ลิตรดัชนีหักเหแสง1.375จุดวาบไฟ-27 องศาเซลเซียสความไวไฟจัดเป็นวัตถุอันตรายที่เป็นของเหลว และไอระเหยที่มีความไวไฟสูงสารที่เข้ากันไม่ได้สารออกซิไดซ์, แมกนีเซียมเปอร์คลอเรท, คลอรีน, ฟูลออรีน, พลาสติก

👉 การผลิตเฮกเซน

เฮกเซนสามารถผลิตได้จากกระบวนการกลั่นน้ำมันดิบ หรือ ก๊าซปิโตรเลียมเหลว จะทำให้เกิดเฮกเซนหลายไอโซเมอร์ และจะเข้าสู่กระบวนการแยกให้ได้ N-Hexane ที่บริสุทธิ์

ตัวทำละลายที่นิยมใช้สกัดน้ำมันจากพืชคือข้อใด
ตัวทำละลายที่นิยมใช้สกัดน้ำมันจากพืชคือข้อใด

👉 การใช้ประโยชน์ของเฮกเซน

เฮกเซนเป็นสารอินทรีย์ระเหยชนิดหนึ่ง ที่นิยมใช้เป็นตัวทำละลายในอุตสาหกรรมต่าง ๆ เช่น

  1. การสกัดน้ำมันจากเมล็ดธัญพืชต่าง ๆ เช่น ถั่วเหลือง เมล็ดฝ้าย ทานตะวัน เมล็ดข้าวโพด เป็นต้น
  2. ใช้เป็นตัวทำละลายในอุตสาหกรรมสี สีย้อม หมึกพิมพ์ กาว เป็นต้น
  3. ใช้เป็นตัวทำละลายหรือสกัดสารในสมุนไพรต่าง ๆ

การรับสารของมนุษย์
► ค่า RfDo ของเฮกเซน (Reference dose โดยการกิน) เท่ากับ 6.0 x 10-2 มิลลิกรัม/ กิโลกรัมน้ำหนักตัวต่อวัน
►ค่า RfDi ของเฮกเซน (Reference dose โดยการหายใจ) เท่ากับ 5.71 x 10-2 มิลลิกรัม/ กิโลกรัมน้ำหนักตัวต่อวัน

👉 เฮกเซน มีความปลอดภัยและอันตรายไหม?

มีการทดสอบความอันตรายของสารเฮกเซน ด้วยวิธีต่าง ๆ ทั้งการใช้แบคทีเรีย และเม็ดเลือดขาวของมนุษย์ พบว่าไม่จัดเป็นสารก่อการกลายพันธุ์

ความเป็นพิษของเฮกเซนต่อระบบประสาท คือ อาการแขน-ขาอ่อนแรง และอาจเป็นอัมพาตได้ โดยพบอาการอ่อนแรงที่ขาก่อน และเกิดอาการที่แขนตามมา ร่วมด้วยกับอาการปวดศรีษะ วิงเวียนศรีษะ มึนงง หายใจลำบาก มีอาการเบื่ออาหาร มักจะเกิดกับคนที่ทำงานเกี่ยวข้องกับการใช้สารตัวทำละลายต่าง ๆ เช่น คนงานประกอบรองเท้า คนงานทำสี เป็นต้น

ฤทธิ์ของเฮกเซนที่มีต่อระบบประสาทที่เกิดอาการวิงเวียนศรีษะ เซื่องซึม จะเกิดขึ้นบริเวณ ซีรีเบลลัม (Cerebellum) เกิดการกดระบบควบคุมการหายใจ ร่วมกับการออกฤทธิ์กระตุ้นระบบประสาทส่วนกลาง ทำให้มีอาการเคลิบเคลิ้ม หากได้รับสารพิษในปริมาณมากหรือเป็นเวลานานอาจทำให้เกิดการทำลายระบบประสาทส่วนกลางและ ส่งผลทำให้เกิดความผิดปกติของการทรงตัว เดินเซ มีอาการความจำเสื่อม

ตัวละลายที่ใช้สกัดน้ำมันพืชคืออะไร

2. การสกัดด้วยตัวทำละลาย (Solvent extraction) การสกัดไขมันหรือน้ำมันออกจาก วัตถุดิบด้วยตัวทำละลายเป็นวิธีที่นิยมใช้กันมาก และใช้สกัดน้ำมันออกจากเมล็ดพืชที่มีปริมาณค่ำ หรือสกัดน้ำมันออกจากกากที่เหลือจากการบีบด้วยเครื่องอัด ตัวทำละลายที่ใช้จะต้องไม่เป็นพิษต่อ ร่างกาย ได้แก่ เฮกเซน คาร์บอนไดซัลไฟด์ และไดเอทิลอีเทอร์ ...

ตัวทำละลายในข้อใดเหมาะสำหรับการแยกน้ำมันพืชออกจากเมล็ดพืช

ตัวทำละลาย เช่น เฮกเซน การสกัดด้วยวิธีการนี้เหมาะสำหรับการสกัดน้ำมันออกจากเมล็ดพืช ที่มีปริมาณไขมันต่ำ ใช้เพื่อการผลิตน้ำมันพืช ได้แก่ น้ำมันถั่วเหลือง น้ำมันรำข้าว น้ำมันเมล็ดฝ้าย สามารถสกัดน้ำมันออกมาได้มากกว่าวิธีบีบ (expelling)

ใช้สารใดสกัดน้ำมันจากเมล็ดพืช

ได้ดีที่สุด ฉะนั้นในการสกัดน้ำมันจากพืชจึงนิยมใช้เฮกเซนซึ่งมีจุดเดือดที่ 66 -69°C หรือ ไซโคลเฮกเซน (Cyclohexane) จุดเดือด 71 - 89°C เป็นตัวทำละลายในการสกัด

การสกัดน้ำมันพืชใช้หลักการใด

1. การสกัดน้ำมันพืช ทำได้ 2 วิธีคือ การบีบอัด (mechanical expression) โดยใช้เครื่องบีบอัดด้วยแรงสูง นิยมใช้กับเมล็ดพืชที่มีปริมาณน้ำมันมาก เช่น ถั่วลิสง รำข้าว เป็นต้น และการสกัดด้วยตัวทำลาย หรือการสกัดทั้ง 2 วิธีควบคู่กัน ตัวทำละลาย ได้แก่ เฮกเซนอะซิโทน ไซโครเฮกเซน เอธิลเมธิลคีโทน ตัวที่นิยมใช้มากที่สุดคือ เฮกเซน ...