ความสำคัญของภาษีด้านการศึกษามีอะไรบ้าง

Necessary cookies are required to help a website usable by enabling core functions and access to secure areas of the website. The website cannot be function properly without these cookies and they are enabled by default and cannot be disabled.


Analytics cookies help website to understand how visitors interact through the website. These cookies help to improve user experiences by collecting and reporting information.


Marketing cookies are used to track visitors across websites to display relevant advertisements for the individual user and thereby more valuable for publishers and third party advertisers.

ภาษี เป็นเครื่องมือสำหรับจัดเก็บรายได้ของประเทศและใช้เป็นเครื่องมือสำหรับจัดการระบบเศรษฐกิจด้วย ภาษีจึงเป็นสิ่งที่สะท้อนนโยบายการคลังของภาครัฐ รวมถึงมีอิทธิพลต่อการควบคุมพฤติกรรมของคนในสังคม เพราะเมื่อกิจกรรมใดที่มีนโยบายภาษีเข้ามาเกี่ยวข้อง ปริมาณของกิจกรรมนั้นๆ ก็จะแปรผันขึ้นลงตามนโยบายภาษีที่เกี่ยวข้อง ซึ่งการเคลื่อนไหวนี้เป็นไปตามหลักเศรษฐศาสตร์

ดังนั้น รัฐจึงมักใช้ภาษีเป็นเครื่องมือในการลดกิจกรรมที่รัฐไม่พึงประสงค์ เช่น ถ้ารัฐไม่ชอบให้คนสูบบุหรี่ รัฐก็สามารถเพิ่มภาระภาษีสรรพสามิตสําาหรับบุหรี่ให้มีราคาสูงขึ้นเพื่อให้ผู้สูบบุหรี่รู้สึกว่าการสูบบุหรี่มีภาระที่สูงขึ้นจนรู้สึกไม่อยากสูบ

ในทางกลับกัน หากรัฐต้องการสนับสนุนกิจกรรมใด รัฐก็สามารถใช้ภาษีเป็นเครื่องมือในการกระตุ้นกิจกรรมนั้นก็ได้ เช่น ถ้ารัฐอยากให้ประชาชนมีรถยนต์ Eco-car เป็นของตัวเอง รัฐก็สามารถให้สิทธิประโยชน์ทางภาษีสําหรับผู้ที่ซื้อรถยนต์ Eco-car เพื่อจูงใจให้ประชาชนซื้อรถยนต์เพิ่มขึ้นก็ได้

เมื่อพฤติกรรมของคนในสังคมเปลี่ยนแปลงไปตามนโยบายภาษีแล้ว จะบรรลุวัตถุประสงค์ที่ต้องการหรือไม่ จะเกิดผลกระทบอื่นตามมาแค่ไหนก็เป็นเรื่องที่ต้องศึกษากันต่อไป แต่ทั้งนี้นักเศรษฐศาสตร์เองก็มีการกล่าวอ้างถึง ทฤษฎี Laffer Curve เพื่อกำหนดนโยบายภาษีและอัตราภาษีที่เหมาะสม

ภาษีกับบัญชี

นอกจากนี้ กฎหมายภาษีก็จะออกมาปรับใช้ในรูปของการบัญชีในที่สุด กล่าวคือ บัญชีจะต้องเป็นไปตามรูปแบบที่กฎหมายภาษีกำหนดด้วย เช่น การกำหนดว่ารายได้ประเภทนี้ได้รับยกเว้นภาษีหรือไม่ หักค่าใช้จ่ายได้แค่ไหนอย่างไร เป็นต้น

ภาษี เป็นแหล่งรายได้สำคัญของของภาครัฐแทบทุกประเทศ ลองนึกภาพว่ารัฐคือคนหนึ่งคน รัฐก็ต้องมีค่าใช้จ่ายเพื่อดูแลตัวเอง เช่น

  • จ่ายตลาดซื้อของกินของใช้
  • ลงทุนทําธุรกิจเพื่อความมั่งคั่ง
  • ซื้ออุปกรณ์รักษาความปลอดภัย
  • จ่ายค่ารักษาพยาบาล
  • จ่ายค่าเล่าเรียนเพื่อสร้างอนาคต
  • เลี้ยงรับรองเพื่อนบ้านเพื่อความสัมพันธ์อันดี ฯลฯ

จะเห็นได้ว่าค่าใช้จ่ายเหล่านี้ก็เพื่อความอยู่ดีมีสุขของรัฐ สุดท้ายคนที่ได้รับประโยชน์ก็คือคนในรัฐนั่นเอง ถ้ารัฐมีรายจ่ายมากแต่มีรายรับไม่พอ ประเทศชาติก็อาจล้มละลายได้ ดังนั้น คนในรัฐจึงต้องช่วยกันสนับสนุนค่าใช้จ่ายของรัฐเพื่อ ความกินดีอยู่ดีของคนในรัฐด้วยกันเอง

ความสำคัญของภาษีด้านการศึกษามีอะไรบ้าง

ใช้ดูแลความประพฤติของคนในสังคม

ในมุมมองทางเศรษฐศาสตร์ ภาษี คือ เครื่องมือทางการคลังชนิดหนึ่งของรัฐ มีไว้สำหรับควบคุมพฤติกรรมของประชาชนได้ด้วย เช่น หากต้องการให้ประชาชนสูบบุหรี่น้อยลง ก็ใช้วิธีเพิ่มภาระภาษีบุหรี่เพื่อให้ผู้บริโภคมีต้นทุนที่สูงขึ้น หรือ หากต้องการให้ประชาชนวางแผนทำประกันชีวิต ก็ให้สิทธิประโยชน์ทางภาษีสำหรับค่าเบี้ยประกันชีวิต เพื่อจูงใจให้ประชาชนทำประกันชีวิต เป็นต้น

ภาษีอาจจะมีพลังงานบางอย่างซ่อนอยู่ก็เป็นได้…

ความสำคัญของภาษีด้านการศึกษามีอะไรบ้าง

รัฐไม่เก็บภาษีได้ไหม?

ความสำคัญของภาษีด้านการศึกษามีอะไรบ้าง

สมมติว่ารัฐไม่มีรายได้จากเก็บภาษีแต่ยังคงมีรายจ่ายเหมือนเดิม เรามาดูกันว่ารัฐจะมีวิธีหาเงินมาจับจ่ายใช้สอยทางไหนได้อีกบ้าง

ขั้นที่ 1   สังเกต

สื่อการเรียนรู้   :   บัตรภาพ

คำถามกระตุ้นความคิด

    1. ครูให้นักเรียนดูภาพโรงเรียน โรงพยาบาล ถนน สะพานสะพานลอย และรถไฟ แล้วให้นักเรียนตอบคำถาม เช่น

        -   สิ่งที่อยู่ในภาพดังกล่าวมีประโยชน์อย่างไร

        -   รัฐบาลนำเงินจากที่ใดมาใช้ในการก่อสร้าง

    2. ครูอธิบายเชื่อมโยงให้นักเรียนเข้าใจว่า เงินส่วนใหญ่มาจากการจัดเก็บภาษี

    3. นักเรียนตอบคำถามกระตุ้นความคิด

Ÿ   นักเรียนมีความประทับใจในสถานที่บริการของรัฐประเภทใดบ้าง และรัฐนำเงินจากที่ใดมาจัดสวัสดิการดังกล่าว

    (พิจารณาตามคำตอบของนักเรียน โดยให้อยู่ใน        ดุลยพินิจของครูผู้สอน)

ขั้นที่ 2   วิเคราะห์วิจารณ์

สื่อการเรียนรู้   :  

คำถามกระตุ้นความคิด

  1. หนังสือเรียน สังคมศึกษาฯ ป.3      2.         บทเรียนคอมพิวเตอร์

  3. ใบงานที่ 8.5

Ÿ   ถ้ารัฐสามารถเก็บภาษีได้มากตามเป้าหมายจะส่งผลดีต่อการพัฒนาประเทศอย่างไร

    (พัฒนาในด้านต่างๆ เช่น ด้านการศึกษา สาธารณสุข สังคมสงเคราะห์ ฯลฯ)

    1. นักเรียนรวมกลุ่มเดิม (จากแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1) แล้วร่วมกันศึกษาความรู้เรื่อง ความสำคัญของการจัดเก็บภาษี จากหนังสือเรียนหรือบทเรียนคอมพิวเตอร์ Smart L.O. LMS Lite

    2. ครูนำข่าวเกี่ยวกับสภาพการดำเนินชีวิตของประชาชน        อันเนื่องมาจากการบริการสาธารณะของรัฐมาให้นักเรียน         แต่ละกลุ่มร่วมกันวิเคราะห์วิจารณ์ตามประเด็นที่กำหนดใน          ใบงานที่ 8.5 เรื่อง การบริการสาธารณะของรัฐ

    3. สมาชิกแต่ละกลุ่มผลัดกันนำเสนอคำตอบในใบงานที่ 8.5       หน้าชั้นเรียน ครูตรวจสอบความถูกต้อง

    4. นักเรียนตอบคำถามกระตุ้นความคิด

ขั้นที่ 3   สรุป

สื่อ/แหล่งการเรียนรู้   :   —

        ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความสำคัญของการจัดเก็บภาษี และการร่วมมือกันของประชาชนในการเสียภาษี

     Ÿ  ด้านความรู้

      Ÿ  ด้านสมรรถนะสำคัญของผู้เรียน

      Ÿ  ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์                                      

      Ÿ  ด้านอื่นๆ  (พฤติกรรมเด่น หรือพฤติกรรมที่มีปัญหาของนักเรียนเป็นรายบุคคล (ถ้ามี))   

      Ÿ  ปัญหา/อุปสรรค

      Ÿ  แนวทางการแก้ไข

ความเห็นของผู้บริหารสถานศึกษาหรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย

     ข้อเสนอแนะ                                                                               

                                                                       ลงชื่อ                         

                                                                              (                                   )

                                                                  ตำแหน่ง                         

คำชี้แจง                                                  ให้นักเรียนเขียนผังมโนทัศน์สรุปความสำคัญของการจัดเก็บภาษี

เอกสารอ้างอิง

ที่มา :     สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. 2553. แนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการคิดตามหลักสูตร แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ระดับประถมศึกษา.          กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.

 จากเว็บไซต์:URL Address

ตัวอย่าง:สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. 2553.สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. 2553.สืบค้นเมื่อ 12 มีนาคม 2561,