การอ่าน วิเคราะห์ วิจารณ์ แตก ต่าง กันอย่างไร

                        ๒.๔.๒ วิธีการบรรยายเรื่อง วิธีการบรรยายเรื่องมีหลายวิธี วิธี หนึ่งคือ ผู้เขียนแสดงตนเป็นเหมือนพระเจ้า กำหนดและล่วงรู้ความรู้สึก ตลอดจนพฤติกรรมของตัวละคร แล้วถ่ายทอดให้ผู้อ่านทราบ อีกวิธีหนึ่งคือ ให้ผู้เขียนเข้าไปอยู่ในเรื่อง และเป็นผู้เรื่องที่ผ่านมาสู่ผู้อ่าน บางครั้งผู้บรรยายนี้อาจจะเป็นตัวละครเอกของเรื่อง หรือตัวละครที่มีบทบาทรองลงไป หรือเป็นตัวละคร ที่ไม่มีบทบาทในเรื่อง แต่เป็นบุคคลที่ เผอิญเข้ามามีส่วนรู้เห็นเหตุการณ์ จึงเขียนให้ผู้อ่านได้รับรู้เรื่องราวนั้นๆ อีกวิธีหนึ่งคือ ผู้เขียนจะไม่แสดงตนอย่างเด่นชัด แต่ผู้อ่านจะทราบ ความเป็นไปของเรื่องได้จากการสังเกตพฤติกรรมของตัวละคร วิธีการบรรยายเรื่องนี้มีส่วนเชิญชวนให้เรื่องน่าสนใจได้ ถ้าผู้เขียน ใช้ให้เหมือนเนื้อเรื่อง

สาระสำคัญ/ความคิดรวมยอด

การอ่านเพื่อการวิเคราะห์วิจารณ์
      เป็นการอ่านเพื่อแยกแยะข้อความที่อ่านอย่างถี่ถ้วน เพื่อให้ทราบถึงโครงสร้าง องค์ประกอบ หลักการและเหตุผลของเรื่อง จนสรุปได้ว่าแต่ละส่วนเป็นอย่างไร สัมพันธ์กันอย่างไร เหมือนหรือแตกต่างกันอย่างไร เพื่อให้เห็นความสัมพันธ์ขององค์ประกอบต่างๆ
      การวิเคราะห์
            เป็นการหาคาตอบว่า ข้อความ บทความ ที่อ่านนั้นให้ความรู้เรื่องอะไรบ้าง ข้อเขียนแสดงความคิดเห็นและความรู้สึกอย่างไร ซึ่งจะช่วยให้เห็นภาพรวมและรายละเอียดของเรื่องที่อ่าน ช่วยให้เข้าใจเรื่องนั้นได้อย่างแท้จริง รวมทั้งช่วยพัฒนาสติปัญญา
      การวิจารณ์ พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 ให้ความหมายไว้สองความหมาย คือ
             ความหมายที่ 1 เป็นการให้คาตัดสินสิ่งที่เป็นศิลปกรรมหรือวรรณกรรม โดยผู้มีความรู้เชื่อถือได้ว่ามี
ความงาม ความไพเราะเพียงใดหรือมีข้อขาดตกบกพร่องอย่างไรบ้าง เช่น วิจารณ์ว่าหนังสือเล่มนี้สะท้อนปัญหาสังคมในปัจจุบันได้ดีมาก สมควรได้รับรางวัล
            ความหมายที่ ๒ เป็นการติชมในความหมายโดยทั่วไปมักใช้คาว่า วิพากษ์วิจารณ์ เช่น ผู้ชมมักวิพากษ์วิจารณ์ว่า ภาพยนตร์เรื่องนี้ดาเนินเรื่องช้าทาให้ผู้ชมเบื่อ เป็นต้น


การอ่าน วิเคราะห์ วิจารณ์ แตก ต่าง กันอย่างไร
การอ่านเพื่อการวิเคราะห์วิจารณ์
    เป็นการอ่านเพื่อแยกแยะข้อความที่อ่านอย่างถี่ถ้วน  เพื่อให้ทราบถึงโครงสร้าง  องค์ประกอบ  หลักการและเหตุผลของเรื่อง  จนสรุปได้ว่าแต่ละส่วนเป็นอย่างไร  สัมพันธ์กันอย่างไร  เหมือนหรือแตกต่างกันอย่างไร  เพื่อให้เห็นความสัมพันธ์ขององค์ประกอบต่างๆ  ที่การวิเคราะห์ 
    เป็นการหาคำตอบว่า  ข้อความ  บทความ  ที่อ่านนั้นให้ความรู้เรื่องอะไรบ้าง  ข้อเขียนแสดงความคิดเห็นและความรู้สึกอย่างไร   ซึ่งจะช่วยให้เห็นภาพรวมและรายละเอียดของเรื่องที่อ่าน  ช่วยให้เข้าใจเรื่องนั้นได้อย่างแท้จริง  รวมทั้งช่วยพัฒนาสติปัญญา  เพราะต้องใช้เหตุผลในการอธิบายแง่มุมต่างๆ  ซึ่งทักษะในการอ่านนี้สามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันและนำไปในการอ่านเพื่อการประเมินค่าต่อไปได้

การวิจารณ์  พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน  พ.ศ.  ๒๕๔๒  ให้ความหมายไว้สองความหมาย คือ

        ความหมายที่ ๑ 
         เป็นการให้คำตัดสินสิ่งที่เป็นศิลปกรรมหรือวรรณกรรม  โดยผู้มีความรู้เชื่อถือได้ว่ามีความงาม  ความไพเราะเพียงใดหรือมีข้อขาดตกบกพร่องอย่างไรบ้าง  เช่น  วิจารณ์ว่าหนังสือเล่มนี้สะท้อนปัญหาสังคมในปัจจุบันได้ดีมาก  สมควรได้รับรางวัล
        ความหมายที่ ๒  เป็นการติชมในความหมายโดยทั่วไปมักใช้คำว่า  วิพากษ์วิจารณ์  เช่น  ผู้ชมมักวิพากษ์วิจารณ์ว่า  ภาพยนตร์เรื่องนี้ดำเนินเรื่องช้าทำให้ผู้ชมเบื่อ  เป็นต้น


การอ่าน วิเคราะห์ วิจารณ์ แตก ต่าง กันอย่างไร

    การวิเคราะห์วิจารณ์จึงเป็นการแยกแยะแล้วนำมาวิจารณ์ข้อดีข้อเสีย  และประเมินค่าของสิ่งใดสิ่งหนึ่ง  ซึ่งในที่นี้จะหมายถึงการวิเคราะห์วิจารณ์ลักษณะของบทประพันธ์  แล้วแยกแยะส่วนประกอบที่สำคัญและหยิบออกมาแสดงว่าไพเราะงดงามเพียงใด  วิเคราะห์ความหมายของบทประพันธ์นั้นๆ  ถ้ามีความหมายซ่อนเร้นอยู่ก็พยายามปะติดปะต่อให้พอที่ผู้อ่านจะเข้าใจได้  แสดงหลักศิลปะและแนวความคิดของผู้ประพันธ์  ซึ่งเป็นแนวทางในการแต่งบทประพันธ์  นอกจากนี้จะต้องแสดงให้เห็นความสัมพันธ์ระหว่างส่วนประกอบต่างๆ  ว่าแต่ละส่วนมีความสำคัญต่อส่วนรวมพียงใด


จากที่ อาจารย์สมลักษณ์ ได้แนะนำ Young Star ไปวิเคราะห์ วิจารณ์ จนเป็นที่รู้จักไปทั่ว เกี่ยวกับเด็กใหม่ในวงการ gotoknow ทำให้เกิดการวิจารณ์ กล่าวขานไปทั่วหน้า ยิ่งกว่า เย็นทั่วหล้า มหาสงกรานต์เสียอีก  มีทั้งติ ทั้งชม ซึ่งเป็นการที่ดี เพื่อให้เด็กใหม่อย่างเรารู้จักการ เขียนที่ดี และรู้จักปรับปรุงตัวเองตัวเองอยู่เสมอ

แต่ในบางส่วนที่เกี่ยวกับบทความ ที่ดิได้ฉันหยิบยกมาบ้างนั้น ดิฉันก็ไม่ได้มีเจตนา ที่จะมาแอบอ้าง หรือคิดที่ไม่ดีอะไรนะคะ อย่างเรื่องการที่ไปหยิบยกบทความจากที่อื่นมา และทุกครั้งดิฉันก็อ้างที่มาที่ไปอย่างชัดเจน ถ้าหาไม่ได้ดิฉันก็บอกนะคะว่า ได้ไปพบบทความดีๆมาบอก  เจตนาที่แท้จริงดิฉันก็อยากจะประชาสัมพันธ์ข่าวสาร ที่มีสาระความรู้ ให้คนในชุมชนทราบนะคะ 

ในส่วนนี้ดิฉันขอขอบคุณอาจารย์ทุกท่าน ที่วิเคราะห์ วิจารณ์ ถึงการเขียนบล็อคของดิฉันนะคะ ดิฉันคิดอยู่เสมอ คนที่ติ ท่านคือครูของเรา ติเพื่อให้รู้ รู้ว่าผิดควรแก้ไข อย่าทำซ้ำ คำติทุกคำคือการให้ปรับปรุง (ปรับปรุงคือทำให้ดีขึ้น)

ขอขอบพระคุณกับทุกความคิดเห็นนะคะ ถ้ามีความผิดพลาด หรือ พบข้อความที่ไม่เหมาะสมแจ้งติติงได้คะรับและพร้อมที่จะแก้ไข

การอ่านวิเคราะห์กับวิจารณ์แตกต่างกันอย่างไร

วิเคราะห์ คือ การแยกแยะหนังสือออกเป็นส่วน ๆ ตามประเภทและลักษณะของ หนังสือ โดยใช้เหตุผลประกอบ วิจารณ์ คือ การแสดงทัศนะ ความคิดเห็น ทั้งในด้านบวกและด้านลบ หรือทั้ง ข้อดีและข้อบกพร่อง การวิจารณ์ที่ดีต้องมีเหตุผลประกอบ ไม่ใช่มาจากความรู้สึกเท่านั้น เพราะ

วิเคราะห์วิจารณ์คืออะไร

เป็นการอ่านเพื่อแยกแยะข้อความที่อ่านอย่างถี่ถ้วน เพื่อให้ทราบถึงโครงสร้าง องค์ประกอบ หลักการและเหตุผลของเรื่อง จนสรุปได้ว่าแต่ละส่วนเป็นอย่างไร สัมพันธ์กันอย่างไร เหมือนหรือแตกต่างกันอย่างไร เพื่อให้เห็นความสัมพันธ์ขององค์ประกอบต่างๆ

การพูดวิเคราะห์ ต่างจาก การพูดวิจารณ์ อย่างไร

การพูดวิเคราะห์ คือ การพูดสรุปความที่ต้องแยกแยะระหว่างใจความสำคัญและพลความ และต้องแยกแยะข้อเท็จจริงหรือข้อคิดเห็นของข้อมูล วิเคราะห์เป็นการแยกแยะข้อเท็จจริง และข้อคิดเห็นของข้อมูล การพูดวิจารณ์ คือ การนำเสนอความคิดเห็นต่อเรื่องที่ฟังและดูตามมุมมองของผู้พูด

การอ่านเพื่อการวิเคราะห์วิจารณ์มีความสําคัญอย่างไร

การอ่านวิเคราะห์ช่วยให้เห็นภาพรวมและรายละเอียดของเรื่องที่อ่าน ฝึกให้อ่านอย่างรอบคอบ ช่วยให้เข้าใจเรื่องนั้นอย่างแท้จริง ช่วยพัฒนาสติปัญญาเพราะต้องใช้เหตุผลในการอธิบายแง่มุมต่าง ๆ ซึ่งทักษะในการอ่านนี้สามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ และจะนำไปใช้ในการอ่านประเมินค่าต่อไป