มหาลัยเปิดกับปิดต่างกันยังไง

มหาวิทยาลัยเปิด(เอกชน)

มหาวิทยาลัยเปิด เป็นรูปแบบหนึ่งที่แสดงออกถึงความพยายามของรัฐบาลในการที่จะขยายโอกาสการศึกษาระดับอุดมศึกษาแก่ประชาชนให้มากที่สุด ปัจจุบันในประเทศไทยมีมหาวิทยาลัยเปิดของรัฐเพียงแห่งเดียว คือ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช (พ.ศ. 2521) โดยมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชจัดการเรียนการสอนแบบทางไกล และมีมหาวิทยาลัยเอกชนเปิดทำการสอนในระบบออนไลน์ด้วย เช่น มหาวิทยาลัยพิษณุโลกมหาวิทยาลัยรังสิต สถาบันรัชต์ภาคย์ เป็นต้น นอกจากนั้นยังมีโครงการความร่วมมือของมหาวิทยาลัยแห่งในการจัดการศึกษาทางไกล ผ่านระบบออนไลน์ ในชื่อ มหาวิทยาลัยไซเบอร์ไทย

แนวคิดการก่อตั้งมหาวิทยาลัยเปิดในประเทศไทย

การก่อตั้งมหาวิทยาลัยเปิด เป็นความพยายามของรัฐบาลในการที่จะขยายโอกาสการศึกษาระดับอุดมศึกษาแก่ประชาชนให้มากที่สุด แนวคิดนี้ได้เคยนำมาใช้แล้วในประเทศไทย โดยมหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง ซึ่งตั้งขึ้นในปี พ.ศ. 2476 ได้จัดการศึกษาระบบ “ตลาดวิชา” โดยไม่จำกัดรับนักศึกษา เป็นครั้งแรก แต่ต่อมาก็ได้เปลี่ยนมาเป็นระบบมหาวิทยาลัยปิด (จำกัดการรับนักศึกษา) เช่นเดียวกับมหาวิทยาลัยอื่น ๆ ต่อมาปี พ.ศ. 2514 ได้มีการจัดตั้งมหาวิทยาลัยแบบตลาดวิชาขึ้นอีกแห่งหนึ่ง คือ มหาวิทยาลัยรามคำแหง แต่มหาวิทยาลัยรามคำแหงยังคงจัดการศึกษาโดยอาศัยชั้นเรียนเป็นหลัก ทำให้มหาวิทยาลัยรามคำแหงประสบปัญหาในด้านอาคารสถานที่เรียนเป็นอันมาก ทำให้ไม่สามารถขยายให้เพียงพอกับจำนวนนักศึกษาที่เพิ่มขึ้นทุกปีได้ ทางรัฐบาลเล็งเห็นว่าหากรัฐบาลให้การสนับสนุนให้มหาวิทยาลัยรามคำแหงจัดการศึกษาให้เพียงพอกับความต้องการของผู้เรียนแล้วจะทำให้ภาครัฐต้องรับผิดชอบภาระด้านงบประมาณมากขึ้นอย่างไม่มีวันสิ้นสุด จึงได้ก่อตั้งมหาวิทยาลัยเปิด โดยรับนักศึกษาแบบไม่จำกัดรับขึ้นอีกแห่งหนึ่งคือ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชในปี พ.ศ. 2521

การตัดแต้มประเมินผลของมหาวิทยาลัยเปิด

เกรดของมหาวิทยาลัยเปิดในประเทศไทย มีความแตกต่างจากมหาวิทยาลัยอื่น ๆ กล่าวคือ ใช้ “ระบบ 3 ขั้น”

การตัดแต้มวัดผลของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมธิราช มีการตัดแต้มและการให้ปริญญาเกียรตินิยมโดยใช้เกณฑ์การคิดคะแนนเฉลี่ยสะสมเช่นเดียวกัน แตกต่างกันเพียงใช้อักษร “H S U”[1]

  • H (Honour) เกียรตินิยม = สอบไล่ได้ 76 % ขึ้นไป
  • S (Satisfactory) ผ่าน = สอบไล่ได้ 60-75 %
  • U (Unsatisfactory) ไม่ผ่าน = สอบไล่ได้ 60 %

มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมธิราช มีข้อจำกัดในการได้รับสิทธิ์รับปริญญาเกียรตินิยม คือ ต้องไม่เคยสอบตกในชุดวิชาใดตลอดหลักสูตร ไม่เคยโอนชุดวิชาหรือเทียบโอนวิชาเพื่อเข้าชุดวิชาใดในหลักสูตร และต้องสอบไล่ได้ทุกชุดวิชาภายในเกณฑ์การศึกษาของมหาวิทยาลัย

อ้างอิง

http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%99%E0%B9%82%E0%B8%A2%E0%B8%9A%E0%B8%B2%E0%B8%A2%E0%B8%AA%E0%B8%96%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%A8%E0%B8%B6%E0%B8%81%E0%B8%A9%E0%B8%B2%E0%B9%80%E0%B8%9B%E0%B8%B4%E0%B8%94

หลายคนถามเข้ามาทางเฟซบุ๊คนะ ว่าระบบการเปิดภาคเรียนที่สหรัฐอเมริกา เหมือนกับมหาวิทยาลัยในประเทศไทยรึปล่าว?อันนี้ต้องขอตอบเลยว่าไม่เหมือนจ้า

เพราะในไทยจะเปิดเรียนเดือนมิถุนายน และอีกเทอมคือเดือนพฤศจิกายน กับช่วงซัมเมอร์ในเดือนมีนาคม แต่ของต่างประเทศ จะใช้แบบสากลซึ่งต่างกันออกไป

ทีนี้ในสหรัฐอเมริกา เท่าที่เห็นจะมีการเปิดปิดเทอมอยู่ 4 แบบที่ใช้กันอยู่ วันนี้ WeGoInter เลยจะมาแนะนำเป็นความรู้กันจ้า

มหาลัยเปิดกับปิดต่างกันยังไง

ระบบเปิดเทอมแบบ Semester

ระบบนี้นิยมใช้กันมากที่สุด จะแบ่งการภาคการศึกษาออกเป็น 2 Semester หรือ 2 เทอมเหมือนบ้านเรา และอาจจะมีภาค Summer อีก 1 ภาค หลังจากปิดการศึกษาแบบปกติไปแล้ว ประกอบไปด้วย

Fall Semester     ตั้งแต่เดือนกันยายน    ถึงเดือนธันวาคม (จากนั้นก็ปิดช่วงคริสมาสต์ ปีใหม่ และฤดูหนาว)
Spring Semester     ตั้งแต่เดือนมกราคม    ถึงเดือนพฤษภาคม
Summer Session     ตั้งแต่เดือนมิถุนายน    ถึงเดือนสิงหาคม (ช่วงฤดูร้อนของที่นู่นคือช่วงนี้จ้า)

ระบบเปิดเทอมแบบ Quarter

จะแบ่งการศึกษาออกเป็น 4 เทอมเท่าๆกัน โดยแต่ละเทอมจะเรียนอยู่ประมาณ 11-12 สัปดาห์ เรียกว่าเกือบ 3 เดือน วนไปจนครบปีเลยล่ะ

Fall Quarter     ตั้งแต่กลางเดือนกันยายน  ถึงเดือนธันวาคม
Winter Quarter     ตั้งแต่เดือนมกราคม     ถึงกลางเดือนมีนาคม
Spring Quarter     ตั้งแต่ปลายเดือนมีนาคม ถึงกลางเดือนมิถุนายน
Summer Quarter     ตั้งแต่กลางเดือนมิถุนายน ถึงเดือนสิงหาคม

มหาลัยเปิดกับปิดต่างกันยังไง

ระบบเปิดเทอมแบบ Trimester

ระบบนี้ใช้ไม่ค่อยแพร่หลายเหมือน 2 ระบบข้างบนนะ โดยจะแบ่งการเปิดเทอมออกเป็นเทอมละประมาณ 15 สัปดาห์ เป็นเวลา 3 เทอมต่อปี สถาบันดังๆที่ใช้ระบบนี้ก็เช่นที่ University of Michigan นั่นเอง

ระบบเปิดเทอมแบบ 4-1-4

ระบบนี้ก็พบเห็นได้น้อยมาก อาจจะเปิดในบางหลักสูตรหรือบางคณะ ของบางมหาวิทยาลัย โดยจะเปิดเรียนเป็นเวลาประมาณ 4 เดือน 2 เทอม พร้อมกับช่วงฝึกงานอีก 1 เดือน ปกติจะอยู่ในเดือนมกราคม

สถาบันที่ใช้ระบบนี้ก็เช่น Massachusetts Institute of Technology และ Johns Hopkins University

มหาลัยเปิดกับปิดต่างกันยังไง

ตอนนี้น้องๆก็คงจะรู้กันมากขึ้นแล้วนะ ว่าระบบการเปิดเทอมปิดเทอมของมหาวิทยาลัยในสหรัฐอเมริกานั้นจะเริ่มเปิดเรียนกันตอนไหนบ้าง

ปกติแล้วคนที่จบจากไทย จะจบในช่วงเดือนมีนาคม ซึ่งก็สามารถทำเรื่องสมัครเข้าเรียนต่อสถาบันในสหรัฐอเมริกา ได้ทันก่อนเดือนกันยายน

แต่ถ้าใครทำไม่ทัน!! ก็ยังสามารถเข้าเรียนในเทอมเดือนมกราคมได้ด้วย เพราะสถาบันในอเมริกาจะรับนักศึกษาใหม่ทั้งสองเทอม เป็นข้อดีตรงนี้แหละ

สุดท้ายก่อนจากกันไป ใครที่อยากจะหาข้อมูลเรียนต่อในต่างแดน ก็สามารถติดตามเรื่องราวดีๆแบบนี้จากทาง WeGoInter.com หรือจะกดไลค์ในเฟซบุ๊ค เพื่ออัพเดทก่อนใครได้เลยจ้า ^^

ร่วมแสดงความคิดเห็น...

มหาลัยเปิดมหาลัยปิดต่างกันยังไง

มหาวิทยาลัยปิด คือ มหาวิทยาลัยที่ต้องสอบเข้าไปศึกษาผ่านทางระบบแอดมิชชั่น ซึ่งตรงข้ามกับระบบของมหาวิทยาลัยเปิดที่เปิดรับนักศึกษาโดยไม่จำกัดจำนวน ซึ่งมีทั้งของรัฐและ เอกชน

มหาลัยแบบเปิดคืออะไร

มหาวิทยาลัยเปิด หมายถึง สถาบันอุดมศึกษา ที่จัดการเรียนการสอนในระบบเปิด ที่รับผู้เรียนเข้า เรียนแบบไม่จากัดจานวน ไม่มีชั้นเรียนตามปกติเหมือนมหาวิทยาลัยทั่วไป แต่จะใช้รูปแบบการศึกษา ทางไกล ให้ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ได้ด้วยตนเอง ผ่านสื่อการเรียนรู้หลากหลายชนิด ที่มีกระบวนการผลิต เป็นระบบ ทั้งที่เป็นสื่อหลักและสื่อเสริม ที่ ...

มหาลัยเปิดมีมหาลัยใดบ้าง

มหาวิทยาลัยเปิด เป็นรูปแบบหนึ่งที่แสดงออกถึงความพยายามของรัฐบาลในการที่จะขยายโอกาสการศึกษาระดับอุดมศึกษาแก่ประชาชนให้มากที่สุด ปัจจุบันในประเทศไทยมีมหาวิทยาลัยเปิดของรัฐเพียงแห่งเดียว คือ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช (พ.ศ. 2521) โดยมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชจัดการเรียนการสอนแบบทางไกล และมีมหาวิทยาลัยเอกชนเปิดทำการสอน ...

มหาลัยระบบเปิด มีอะไรบ้าง

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
มหาวิทยาลัยทักษิณ.
สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง.
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี.
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ.