เทคโนโลยีในศตวรรษที่ 21 มีอะไรบ้าง

เทคโนโลยีในศตวรรษที่ 21

เทคโนโลยีการศึกษากับครูไทยในศตวรรษที่ 21

เทคโนโลยีการศึกษากับครูไทยในศตวรรษที่ 21 กับทักษะความสามารถ ทักษะ

พื้นฐานในการ ด ารงชีวิต การอ่านออก เขียนได้ คิดเลขเป็น รวมทั้งทักษะ


พื้นฐานด้านการทางาน การคิดวิเคราะห ความคิดสร้างสรรค์ การท างานเป็น

ทีม การสื่อสาร และทักษะเฉพาะอาชีพ ครูจึงต้องพร้อมที่จะปรับตัว และพัฒนา

ตนเองให้เท่าทันเทคโนโลยีอยู่เสมอ และต้องมีความกระตือรือร้นที่จะพัฒนา

ทักษะและวิทยาการ ให้ทันสมัย เพื่อให้เกิดการเรียนรู้เทคนิควิธีการเรียนการ

สอนแบบใหม่ ๆ ที่มีประสิทธิภาพ ท าให้ได้เด็กมี คุณลักษณะอันพึงประสงค์

ตามที่สังคมไทยและสังคมโลกต้องการ เมื่อสังคมโลกได้ตระหนักและเล็งเห็นถึง

ความสำคัญของการน าเทคโนโลยีมาเป็นส่วนหนึ่งในชีวิตประจาวัน ครูใน

ศตวรรษที่ 21 จึงต้องปรับตัวให้เข้า กับการเรียนรู้ให้เท่าทันยุคสมัยที่

เปลี่ยนแปลงไปด้วย โดยต้องพัฒนาทักษะด้านต่างๆ อย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะ

ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ที่เข้ามามีบทบาทอย่างมากในวงการศึกษาทั้งใน


ปัจจบันและอนาคต เพื่อให้สามารถชี้แนะและส่งเสริมให้นักเรียนเรียนรู้ได้ด้วย
ตนเองตลอดเวลา นอกจากนี้ ครูไทยในอนาคตยังต้องมีความรู้จริงในเรื่องที่สอน

และต้องมีเทคนิควิธีการให้นักเรียน สร้างองค์ความรู้จากประสบการณ์ รวมทั้ง

จัดกิจกรรมเชื่อมโยงความรู้จากแหล่งเรียนรู้ภายนอก ฝึกให้ นักเรียนท างาน

เป็นทีม เป็นนักออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ที่เหมาะสม จัดสภาพแวดล้อมให้

เอื้อต่อการ เรียนรู้ และแสดงออกซึ่งความรักและความห่วงใยต่อนักเรียน ทั้งนี้

กระบวนการเรียนการสอนดังกล่าวจะสัมฤทธิ์ผลได้ ถ้าทุกภาคส่วนช่วยกัน

หาทางลดปัญหาและ อุปสรรคที่ขัดขวางการพัฒนาครู อาทิ ภาระงานอื่น

นอกจากการสอน ก าหนดอัตราก าลังไม่เหมาะสม รวมทั้งครูสอนไม่ตรงสาขา

เป็นต้น ซึ่งแนวทางและความเป็นไปได้ในการพัฒนาครูในศตวรรษที่ 21 นั้น

ต้อง ด าเนินการทั้งด้านนโยบายและด้านการพัฒนาตนเองของครูควบคู่กันไป

จึงจะท าให้ครูเป็นครูยุคดิจิตอล อย่างแท้จริง เทคโนโลยีการศึกษากับครูไทย

ความสำคัญและสภาพปัญหา โลกมีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา สังคมแห่งการ

เรียนรู้ไม่มีวันหยุดนิ่ง สังคมโลกกลายเป็นสังคม ความรู้ (Knowledge Society)

หรือสังคมแห่งการเรียนรู้ (Learning Society) องค์การทางการศึกษา จึง ต้อง

ปรับตัวให้เป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ (Learning Organization) โดยมีความ

คาดหวังว่าคุณภาพ การศึกษาขึ้นอยู่กับคุณภาพครูเป็นหลักจากแผนพัฒนา

เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11 มีนโยบาย มุ่งเน้นแนวทางการพัฒนา

โดยยึดคนเป็นศูนย์กลาง เพื่อให้เกิดการพัฒนาที่ยั่งยืนภายใต้การเปลี่ยนแปลง

ทั้ง ภายในและภายนอกประเทศ นอกจากนี้ยังมีนโยบายส่งเสริมการศึกษาให้

สอดคล้องกับความต้องการของ ผู้เรียน และสร้างสังคมการเรียนรู้ที่มีคุณภาพอัน

ก่อให้เกิดการเรียนรู้ตลอดชีวิต สอดคล้องกับนโยบายของ รัฐมนตรีว่าการ

กระทรวงศึกษาธิการที่ต้องการให้พัฒนาการศึกษา ของประเทศอย่างเร่งด่วน

โดยหนึ่งใน นโยบายเร่งรัดคือ ปฏิรูประบบการผลิตและพัฒนาครู ให้สามารถ

จัดการเรียนการสอนตามหลักสูตรปัจจุบัน 3 บทความวิชาการ ว่าที่ร้อยตรี ดร.

จิรายุทธิ์ อ่อนศรี วิทยาลัยการอาชีพนวมินทราชูทิศ กรุงเทหมานคร และรองรับ

หลักสูตรใหม่ ให้เป็นไปตาม พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการครูและบุคลากร

ทางการศึกษา ปี 2553 และมาตรฐานวิชาชีพครูตามที่คุรุสภาก าหนดดังนั้น

ครูและบุคลากรทางการศึกษาจึงเป็นบุคคลที่มี ความส าคัญทั้งทางตรงและ

ทางอ้อมที่จะถ่ายทอดความรู้ ความสามารถให้แก่ศิษย์ รวมทั้งพัฒนาศิษย์ให้เป็น

มนุษย์ที่มีคุณภาพและประสิทธิภาพ โดยเน้นกระบวนการ 4 ด้าน คือ ด้าน

ความรู้ ความคิด หรือพุทธพิสัย (Cognitive Domain) ด้านความรู้สึก อารมณ์

สังคมหรือด้านจิตพิสัย (Affective Domain) ด้านทักษะ ปฏิบัติหรือทักษะพิสัย

(Psychomotor Domain) และด้านทักษะการจัดการหรือทักษะกระบวนการ

(Management Skill) แนวโน้มการศึกษาในระดับนานาชาติได้มุ่งเน้นไปที่ทักษะ

ความสามารถ ทักษะ พื้นฐานในการด ารงชีวิต การอ่านออก เขียนได้ คิดเลข

เป็น รวมทั้งทักษะพื้นฐานด้านการทางาน การคิด วิเคราะห์ ความคิดสร้างสรรค์

การท างานเป็นทีม การสื่อสาร และทักษะเฉพาะอาชีพ ซึ่งเป็นทักษะ ที่

องค์การสหประชาชาติ (UN) และองค์การการศึกษาวิทยาศาสตร์และวัฒนธรรม

แห่งสหประชาชาติ(ยูเนสโก) ให้ความสำคัญ ส่วนในวงการศึกษาไทยมองว่า ครู

คือ กุญแจสำคัญในการแก้ไขปัญหาด้านคุณภาพ การศึกษา แต่ความเป็นครูใน

สังคมไทยก าลังเผชิญกับปัญหาหลายด้าน โดยเฉพาะวิกฤติศรัทธาในวิชาชีพ

ดังนั้นจึงควรต้องมีการศึกษาเกี่ยวกับครูยุคใหม่อย่างเร่งด่วน เพื่อมุ่งเน้นการ

พัฒนาคนให้เป็นทรัพยากร มนุษย์ที่พร้อมขับเคลื่อนและยกระดับการพัฒนา

ประเทศที่มีคุณภาพต่อไป ความสำคัญและสภาพปัญหาของเทคโนโลยีและ

สื่อสารการศึกษา ในยุคศตวรรษที่ 21 กระบวนการเรียนอาจมีการเปลี่ยนแปลง

โดยผู้เรียนจะเรียนด้วยเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสารที่ทันสมัยมี

ความก้าวหน้า และสามารถเข้าถึงข้อมูลข่าวสารได้มากและรวดเร็วขึ้น ปัญหาที่

สืบเนื่องมาจากจำนวนนักเรียนที่เพิ่มขึ้นต่อห้องเรียน จนท าให้วิธีการสอน

แบบเดิมๆ ไม่มี ประสิทธิภาพเพียงพอ สื่อที่แสดงมีขนาดใหญ่ไม่เพียงพอสำหรับ

ผู้เรียนที่อยู่หลังห้อง ความจดจ่อกับผู้สอน ถูกเบี่ยงเบนจากพฤติกรรมและ

สภาพแวดล้อมในชั้นเรียนขนาดใหญ่ ผู้เรียนมีการนำเอาคอมพิวเตอร์พกพา เข้า

มาสืบค้นความรู้ในชั้นเรียน และถามค าถามเกี่ยวกับเรื่องที่ครูก าลังสอน หรือน

าข้อมูลเหล่านั้นมาพูดคุย โดยที่ครูตอบไม่ได้ หรือไม่เคยรู้มาก่อน เมื่อเป็นเช่นนี้

ครูจึงต้องพร้อมที่จะปรับตัวและพัฒนาตนเองให้เท่า ทันเทคโนโลยีอยู่เสมอ และ

ต้องมีความกระตือรือร้นที่จะพัฒนาทักษะและวิทยาการให้ทันสมัย เพื่อให้เกิด

การเรียนรู้เทคนิควิธีการเรียนการสอนแบบใหม่ๆ ที่มีประสิทธิภาพ ท าให้ได้เด็ก

มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ตามที่สังคมไทยและสังคมโลกต้องการ ปัจจุบันมี

แนวทางการพัฒนา ICT เพื่อการศึกษา ดังนี้ 1) การจัดหาระบบคอมพิวเตอร์

และอุปกรณ์เพื่อการเรียนการสอนของสถานศึกษา ทั้งคอมพิวเตอร์ ประจ

าห้องปฏิบัติการ ไม่ว่าจะเป็นคอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะและคอมพิวเตอร์เคลื่อนที่ ศูนย์

ข้อมูล Data Center และสถานีโทรทัศน์ผ่านดาวเทียมเพื่อการศึกษา สำหรับใช้

ในการเรียนการสอน 4 บทความวิชาการ ว่าที่ร้อยตรี ดร. จิรายุทธิ์ อ่อนศรี

วิทยาลัยการอาชีพนวมินทราชูทิศ กรุงเทหมานคร 2) การพัฒนาโครงข่าย

โทรคมนาคมเพื่อการศึกษาขั้นพื้นฐาน การบูรณาการโครง ข่าย MOENet และ

NEdNet ให้เป็นโครงข่ายเดียว โดยใช้ชื่อว่า OBEC-NET สำหรับใช้เป็นเครือข่าย

เพื่อการศึกษาและวิจัย โดยเชื่อมต่อโรงเรียนต่างๆ ไว้กับศูนย์ข้อมูลของ OBEC

Data Center 3) การพัฒนาสื่ออิเล็กทรอนิกส์ (Digital Contents) ในรูปแบบ

สื่อออนไลน์ผ่าน เว็บไซต์ e-Book หรือ Applications ต่างๆ เนื่องจากรูปแบบ


การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 มีลักษณะที่เปนการเรียนรู้ร่วมกัน ระหว่างครูกับ
นักเรียน และนักเรียนกับนักเรียนด้วยกัน โดยประยุกต์ใช้เทคโนโลยีที่มีอยู่มา

ช่วยในการเรียน การสอน ทักษะด้าน ICT จึงมีความสำคัญมากสำหรับครู เพราะ

การพัฒนาสื่อการสอน และจัดสรร ทรัพยากร แหล่งเรียนรู้ต่างๆ ต้องอาศัย

เทคโนโลยีมาเป็นเครื่องมือในการบริหารจัดการให้เกิดสิ่งแวดล้อมที่ เอื้อต่อการ

เรียนรู้ของผู้เรียนในยุคดิจิตอล รวมถึงใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีในการพัฒนา

ทักษะที่จ าเป็นใน ศตวรรษที่ 21 ให้กับนักเรียนด้วย ผู้เรียนในศตวรรษที่

เพราะในตอนนี้ผู้เรียน หรือนักเรียน นักศึกษา มีแนวโน้มที่เปลี่ยนไป เช่นกันกับ

ผู้บริโภคในภาค การค้าและธุรกิจ เพียงแค่เปลี่ยนจากการซื้อ-ขาย หรือการท า

โฆษณาออนไลน์ เป็นแนวโน้มที่เปลี่ยนไปใน การศึกษา หรือการเรียนรู้แทน อีก

ทั้งได้ข้อสรุปจากอาจารย์ และนักวิชาการส่วนใหญ่ระบุแนวโน้มการ

เปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นนี้ว่า “การเปลี่ยนแปลงแนวคิดด้านการศึกษาในศตวรรษที่

21 (Changing Education Paradigms, Ken Robinson, 2006 )” โดยมี

ข้อมูลที่ถูกตกผลึก และพัฒนาออกมาในประเทศ ไทย โดยท่าน ศ. นพ. วิจารณ์

พานิช (หนังสือวิถีสร้างการเรียนรู้ครูเพื่อศิษย์ในศตวรรษที่ 21) ที่ตอกย้ำกับ

สายวิชาการในแง่ของแนวคิดที่ว่า สาระวิชาความรู้แม้จะมีความสำคัญ แต่ก็ยัง


ไม่เพียงพอสำหรับการเรียนรู้ เพื่อมีชีวิตในโลกยุคศตวรรษที่ 21 เพราะปัจจบัน
การเรียนรู้สาระวิชา (Content หรือ Subject Matter) ส่วนมากจะเป็นการ

เรียนรู้จากผู้เรียน หรือนักศึกษา โดยการค้นคว้าเองผ่านสารสนเทศจ านวนมหา

ศาลบน โลกอินเทอร์เน็ตที่เป็นสื่อหลักที่แซงหน้าหนังสือ และต าราไปแล้ว การ

เรียนการสอนในศตวรรษที่ 21 นี้ ครูหรืออาจารย์จะมีเพียงบทบาทในเชิงการ

ช่วยแนะนำและ ออกแบบกิจกรรม ไปจนถึงการสร้างเงื่อนไขที่จะช่วยให้ผู้เรียน

สามารถประเมินความก้าวหน้าของการเรียนรู้ ของตนเองได้ ในรูปแบบ

การศึกษา และนวัตกรรมการสอนก็มีหลากหลายรูปแบบแยกย่อยออกไปตาม

คุณลักษณะของผู้เรียนหรือนักศึกษา อาจจะสรุปได้ว่า ผู้เรียนในศตวรรษที่ 21


นั้น จะต้องมีทักษะเหล่านี้อยู่ ในเกณฑ์ที่ต้องท าการวิเคราะห 5 บทความ
วิชาการ ว่าที่ร้อยตรี ดร. จิรายุทธิ์ อ่อนศรี วิทยาลัยการอาชีพนวมินทราชูทิศ

กรุงเทหมานคร ทักษะระดับพื้นฐานที่เคยมีมาก่อน 1. Reading หรือทักษะการ

อ่าน เพื่อเป็นจุดเริ่มต้นในการเข้าถึงองค์ความรู้ หรือสารสนเทศ 2. Writing

หรือทักษะการเขียนเพื่อเป็นการเริ่มต้นถึงทักษะของการถ่ายทอดและการ

สื่อสาร 3. Arithmetics หรือทักษะการคำนวณ หรือการคิดเชิงคณิตศาสตร์-

ตรรกะศาสตร์ เพื่อใช้ในการคิด แก้ปัญหาชีวิตประจ าวันทักษะระดับมาตรฐานที่

เกิดขึ้นในศตวรรษที่ 21 4. Critical thinking & Problem Solving หรือ

ทักษะการคิดเชิงวิพากษ์และการแก้ปัญหาโดยอาศัยการ เรียนรู้และสังเกต 5.

Creativity & Innovation หรือทักษะด้านความคิดสร้างสรรค์ และการคิดค้น

นวัตกรรม 6. Cross-Cultural Understanding ทักษะการเรียนรู้บนความ

เข้าใจด้านวัฒนธรรมที่แตกต่าง เพื่อสร้าง ระเบียบ 7. Collaboration,

Teamwork & Leadership ทักษะด้านการท างานเป็นทีมและภาวะผู้น า 8.

Communications, Information & Media Literacy ทักษะด้านการสื่อสาร

และมีความรู้ในการสืบค้น สื่อ 9. Computing & ICT literacy ทักษะด้านการ

ใช้งานอุปกรณ์คอมพิวเตอร์และข้อมูลสารสนเทศรูปแบบ ดิจิตอล 10. Career

& Learning Skills ทักษะที่ตรงกับความช านาญในการประกอบอาชีพและการ

พัฒนาการ เรียนรู้ผสมเข้ากับการทำงาน

การศึกษาในศตวรรษที่ 21

ทักษะการเรียนรู้ของคนในศตวรรษที่ 21

ทักษะการเรียนรู้และนวัตกรรม

นวัตกรรม โลกกำลังเปลี่ยนยุค จากยุคความรู้สู่ยุคนวัตกรรม การฝึกพลัง

สร้างสรรค์และนวัตกรรมจึงสำคัญยิ่ง

ทักษะด้านสารสนเทศ (Information Literacy)

เป้าหมาย : เข้าถึงและประเมินสารสนเทศ

เป้าหมาย : ใช้และจัดการสารสนเทศ

ทักษะด้านสื่อ (Media Literacy Skills)


เป้าหมาย : วิเคราะหสื่อได้

เป้าหมาย : สร้างผลิตภัณฑ์สื่อได้

ทักษะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ICT Literacy)

เป้าหมาย : สามารถประยุกต์ใช้เทคโนโลยีอย่างมีประสิทธิผล

ทักษะชีวิตและอาชีพ

ความยืดหยุ่นและปรับตัว

การริเริ่มสร้างสรรค์และเป็นตัวของตัวเอง


ทักษะสังคมและสังคมข้ามวฒนธรรม

การเป็นผู้สร้างหรือผลิต (productivity)

และความรับผิดรับชอบเชื่อถือได้ (accountability)

ภาวะผู้นำและความรับผิดชอบ (responsibility

เทคโนโลยีกับการเรียนรู้แห่งศตวรรษที่ 21

ปัจจุบันเทคโนโลยีได้ก้าวไกลไปมากมีการนำสื่อมัลติมีเดียมาพัฒนาให้มีการ

ปฏิสัมพันธ์กับผู้ใช้งานมากขึ้นจึงทำให้ในช่วงเวลาหลายปีที่ผ่านมา

ข้อดีของสื่อมัลติมีเดียก็คือ ช่วยให้การออกแบบบทเรียน ตอบสนองต่อแนวคิด

และทฤษฎีการเรียนรู้มากยิ่งขึ้น รวมทั้งส่งผลโดยตรงต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน

และสื่อมัลติมีเดียที่ใช้เป็นสื่อในการเรียนการสอนเป็นสื่อที่เปิดโอกาสให้ผู้เรียน

สามารถเรียนรู้ด้วยตนเองตามศักยภาพ ความต้องการ และความสะดวกของ

ตนเอง นอกจากนี้ยังช่วยสนับสนุนให้มีสถานที่เรียนไม่จำกัดอยู่เพียงห้องเรียน

เท่านั้น ผู้เรียนอาจเรียนรู้ที่บ้าน ที่ห้องสมุด หรือภายใต้สภาพแวดล้อมอื่นๆ ตาม

เวลาที่ตนเองต้องการ และสนับสนุนให้เราสามารถใช้สื่อมัลติมีเดียกับผู้เรียนได้

ทุกระดับอายุ และความรู้

ห้องเรียนยุคใหม่ในศตวรรษที่ 21

เทคโนโลยีด้านบรอดแบนด์ความเร็วสูง ก็ได้ก้าวเข้ามาแทนที่การเชื่อมต่อผ่าน


ไดอัลอัพโมเด็มแบบเดิม ซึ่งได้ส่งผลกระทบถึงวธีการเรียนรู้ จากการเรียนรู้แบบ
ทางเดียว (asynchronous learning) โดยการดาว์นโหลดเอกสารมาอ่าน หรือ

การรับ-ส่งอีเมล์ ได้กลายมาเป็นการทำงานร่วมกันแบบออนไลน์ (real-time

collaboration) และนอกจากนี้ผู้เรียนยังสามารถดูวีดีโอการศึกษา ผ่านระบบ

วีดีโอสตีมมิ่ง ตลอดจนการสื่อสารผ่านห้องสนทนาออนไลน์ โดยใช้ระบบการ

ประชุมทางไกล และระบบโทรศัพท์ไอพี อีกทั้งยังสามารถที่จะเรียกดูเอกสาร

มัลติมีเดีย และใช้ระบบการถ่ายทอดเสียงและภาพผ่านทางเว็บ (webcast) ซึ่ง

สามารถฟังเสียง ดูภาพ และสนทนา (Chat) ได้พร้อมๆ กันอีกด้วย