เทคโนโลยีอวกาศและการประยุกต์ใช้ คืออะไร

โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ

เรือ่ ง เทคโนโลยีอวกาศกับการประยุกตใ์ ช้

จัดทาโดย

1. นางสาวทพิ ย์สุดา วงษ์กล่า เลขที่ 20ก

2. นายวรรธน ใกลอ้ ันจันทร์ เลขท่ี 6ข

3. นายลภสั บญุ คา เลขท่ี 10ข

4. นางสาวพมิ ลวรรณ ดลิ กศรี เลขที่ 13ข

5. นางสาวเสาวรส ชเู มือง เลขที่ 21ข

6. นางสาวอนนั ตญา แสงทอง เลขท่ี 22ข

ชันมธั ยมศึกษาปีท่ี 6 / 9

เสนอ

คณุ ครูสุกัญญา พงษก์ ระจาย

รายงานฉบับนีเป็นส่วนหนึ่งของรายวิชา

วิชา โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ รหสั วิชา ว30264

โรงเรยี นเบญจมราชรงั สฤษฎ์ิ ฉะเชงิ เทรา

ภาคเรยี นที่ 1 ปีการศกึ ษา 2565

คำนำ

รายงานฉบับนีเป็นส่วนหนึ่งของวิชาโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ รหสั วิชา ว30264 ชนั มัธยมศึกษา
ปที ี่ 6 โดยมจี ุดประสงค์ เพ่ือการศกึ ษาและค้นคว้าความรู้ท่ีได้จาก เร่ืองเทคโนโลยอี วกาศกับการประยุกตใ์ ช้ ซึ่ง
รายงานนีมเี นอื หาเกยี่ วกับเทคโนโลยีอวกาศ ความหมายของเทคโนโลยีอวกาศ การประยกุ ต์ใช้ และประโยชน์
ของเทคโนโลยอี วกาศ

ผู้จัดทาได้เลือก หัวข้อนีในการทารายงาน เน่ืองมาจากเป็นเร่ืองที่น่าสนใจ รวมถึงได้ทราบ ผู้จัดทา
จะต้องขอขอบคุณ ชื่ออาจารย์ท่ีปรึกษา ผู้ให้ความรู้ และแนวทางการศึกษาเพ่ือน ๆ ทุกคนที่ให้ ความ
ชว่ ยเหลือมาโดยตลอด ผูจ้ ดั ทาหวังวา่ รายงานฉบับนีจะให้ความรู้ และเปน็ ประโยชน์แกผ่ ู้อา่ นทกุ ๆ ท่าน

คณะผู้จัดทา

สำรบญั ค

เร่ือง หนา้
คานา ข
สารบัญ ค
เทคโนโลยีอวกาศ 1
ความหมายของเทคโนโลยอี วกาศ 1
การประยุกตใ์ ช้ 1
1
ด้านวัสดุศาสตร์ 2
ด้านอาหาร 4
ด้านการแพทย์และสุขภาพ 5
ประโยชน์ของเทคโนโลยีอวกาศ 7
บรรณานกุ รม

1

เทคโนโลยีอวกำศ

นับตังแต่อดีตจนถึงปัจจบุ ัน การศึกษาทางด้านดาราศาสตร์เพ่ือเรียนรู้เกี่ยวกับโลกระบบสุรยิ ะและเอกกพ
ได้พัฒนาการขึนตามลาดับและขังคงไม่สินสุด ทังนีเน่ืองจากความก้าวลาในค้าวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่
ทันสมัยมากขึน ทาให้ปัจจุบันได้มีการพัฒนารูปแบบการใช้เทคโนโลยีอวกาศต่างๆมากมาย เพื่อใช้ในการ
สารวจอวกาศ เชน่ การส่งดาวเทียม จรวด ยานอวกาศ ไปสารวจนอกโลกโดยเฉพาะประเทศสหรัฐอเมรกิ าและ
รัสเซียต่างใช้งบประมาณจานวนมหาศาลในการสารวอวกาศ ทาให้ได้ความรู้ความเข้าใจและได้รับประโชชน์
จากเทคโนโลยีเหลา่ นีเพมิ่ ขนึ อย่างมาก

ควำมหมำยของเทคโนโลยีอวกำศ

อวกำศ หมายถึง อาณาบริเวณอันกว้างใหญ่ที่อยู่เลยชันบรรยากาศของโลกออกไปไม่สามารถระบุถึง
ขอบเขตไดอ้ ย่างชัดเจน โดยปกติอวกาศเป็นท่ีวา่ งเปล่า มีความหนาแนน่ น้อย การศึกษาความรู้เกี่ยวกบั อวกาศ
จาเป็นตอ้ งใชค้ วามรู้ เครอ่ื งมอื และกลวิธีทางวทิ ยาศาสตร์มาประยุกตป์ รบั ใช้ใหเ้ กดิ ประโยชน์

ดังนันเทคโนโลยีอวกาศจึงหมายถึงระเบียบการนาความรู้ เครื่องมือและวิธีการต่างทางวิทยาศาสตร์มา
ปรับใช้ให้เหมาะสมกับการศึกษาทางด้านดาราศาสตร์และอวกาศตลอดจนสามารถนามาประยุกต์ใช้ให้
สอดคล้องกับทรัพยากรธรรมชาติและการดารงชีวิตของมนุษย์ด้วย เช่น การนาเทคโนโลยีอวกาศมาใช้สารวจ
และตรวจสอบสภาพอากาศของโลก เปน็ ตน้

กำรประยกุ ตใ์ ช้

1. ดำ้ นวัสดุศำสตร์

ในการสารวจอวกาศมคี วามจาเป็นอย่างย่งิ ทนี่ ักวิทยาศาสตรต์ ้องมกี ารพฒั นาความสามารถทางดา้ นวสั ดุ
ศาสตร์ เพ่ือให้สามารถนาความรู้ท่ีได้มาออกแบบยานอวกาศ ชุดอวกาศหรือวัสดุเครื่องใช้ในอวกาศ ที่ทนต่อ
สภาพแวดลอ้ มท่ีสุดขัวในอวกาศ ซึง่ ความรู้ทไ่ี ด้จากการพฒั นาวสั ดุในอวกาศดังกลา่ ว สามารถนามาประยุกต์ใช้
กับการดารงชีวิตประจาวันบนโลกได้ เช่น การผลิตเลนส์แว่นตาจากคาร์บอนแข็งแรงพิเศษ ( Scratch-
resistant lenses) โดยไดน้ าวสั ดุชนิดนีไปเคลือบเลนส์ ทาเลนสแ์ วน่ กันแดดทีม่ ีความทนทานต่อรอยขีดข่วน มี
การผลิตแอโรเจล (aerogel) ซึ่งจัดเป็นของแข็งท่ีเบาท่ีสุด มีความหนาแน่นต่า แข็งแรงและมีสภาพยืดหยุ่นสูง
เกิดขึนจากการคิดค้นวัสดุเพื่อทาชุดนักบินอวกาศ และยานอวกาศ โดยเป็นวัสดุที่มีโครงสร้างเป็นรูพรุน มี
ซิลิกอนเป็นองค์ประกอบ ทาให้สามารถทนความร้อนสูง ซึ่งได้นามาพัฒนาเป็นส่ิงของท่ีใช้ประโยชน์บนโลก
เช่น นามาทาชุดนักดับเพลิง ชุดของนักแข่งรถ นามาทาผ้าห่มท่ีช่วยเก็บกักรักษาอุณหภูมิได้ดี หรือนามาผลิต
เป็นพืนรองเท้าที่สามารถลดการสูญเสียความร้อนสาหรับนักปีนภูเขานาแข็ง นอกจากนียังมีการผลิตโฟมนิ่ม
ชนิดพิเศษ (temper foam) ที่ถูกนามาเป็นที่นอนกับหมอนเพื่อลดนาหนักที่กดทับขณะนอนสามารถปรับตัว
ให้รองรับพอดกี ับนาหนักของร่างกายลดปญั หาการปวดเมื่อยโฟมชนดิ นีเกิดขึนจากการคิดค้นเพือ่ ทาเป็นเบาะ
รองนั่งของนักบินอวกาศขณะยานอวกาศกาลังขึนหรือลงจอดเพื่อป้องกันไม่ให้นักบินอวกาศเกิดการกระแทก
และต่อมาได้มีการนาโฟมนิ่มชนิดนีมาประยุกต์ใช้ในทางการแพทย์โดยการนามาใช้กับผู้ป่วยอัมพาตเพื่อช่วย
ป้องกันการเกิดแผลกดทับและยังมีสมบัติในการระบายอากาศและความร้อนได้ดีจึงไม่เกิดความอับชืนการ

2

ออกแบบเซลล์สุริยะ (Solar cells) ท่ีได้นามาเป็นพลังงานท่ีใช้ในดาวเทียมและยานอวกาศ ความรู้ดังกล่าว
สามารถนามาพัฒนาอย่างต่อเน่ืองและยาวนานจนกระทั่งทุกวันนีเราได้นาเซลล์สุริยะมาใช้ในชีวิตประจาวัน
อยา่ งมากมาย

ภาพท่ี 1 Viscoelastic Polyurethane Foam
ทีม่ า https://www.dooddot.com/technology-nasa-in-daily-life/
2. ด้ำนอำหำร
เทคนิควิธีการถนอมอาหารพัฒนาต่อมาเป็นการเก็บอาหารในภาชนะปิดสนิท การพาสเจอร์ไรส์ (ใช้
ความร้อนทาให้จุลินทรีย์ไม่สามารถดารงชีวิตอยู่ได้) และการบรรจุลงในกระป๋อง ทาให้ปัจจุบันมีอาหารหลาย
ชนิดที่สามารถเก็บไว้ได้เป็นเวลานาน เทคโนโลยีล่าสุดในการถนอมอาหาร คือ การแช่เย็น และการแช่แข็ง
อย่างฉับพลัน (quick-freezing) ซึ่งทาให้สามารถคงสภาพของรสชาติและสารอาหารอยู่ได้รูปแบบการถนอม
และการบรรจอุ าหารดงั ท่กี ล่าวมานีใชไ้ ด้ดีและมีประสทิ ธภิ าพสาหรบั เราๆ ทา่ นๆ บนพนื โลก แตย่ งั ไมเ่ หมาะสม
เพียงพอสาหรับการใช้งานในอวกาศ มีข้อจากัดบางประการที่ต้องคานึงถึงในขันตอนการขนส่ง คือ นาหนัก
และปริมาตร นอกจากนันอุปสรรคที่ใหญ่กว่า คือ สภาวะไร้นาหนัก (ถ้าให้ถูกต้อง น่าจะเรียกว่าสภาวะความ
โนม้ ถว่ งตา่ ) จงึ ตอ้ งมกี ระบวนการพิเศษในการเตรียมอาหาร การออกแบบบรรจุภณั ฑ์ และการเกบ็ รกั ษา

ภาพท่ี 2 อาหารอวกาศ
ท่ีมา https://sites.google.com/a/utd.ac.th/space-technology-and-application/application

3

 โครงการเมอร์ควิ รี
โครงการเมอร์คิวรีเป็นโครงการทดสอบการบินในยุคแรกของโครงการอวกาศ การขึนบินแต่ละครังใช้เวลาไม่
นาน อาจเพียงไม่กี่นาทีจนถงึ ไม่เกินหนึ่งวัน ภารกิจท่ีสนั เช่นนีจึงไม่จาเป็นต้องมีการเตรียมอาหารสาหรับทุกๆ
มอื อย่างไรก็ดี นักบินในโครงการเมอรค์ ิวรีได้กลายเปน็ หนูทดลองในการทดสอบสรีรวิทยาการกนิ ของมนุษย์ใน
สภาพแวดล้อมที่มีความโน้มถ่วงต่า เช่น การเคียว การด่ืม การกลืนอาหารทังอาหารปกติและอาหารเหลว
สาหรับนักบินอวกาศในยุคแรก เป็นอาหารแห้งกึ่งสาเร็จรูป และอาหารก่ึงเหลวที่บรรจุในหลอดทาจาก
อะลูมิเนียมคล้ายหลอดยาสีฟัน ภายในหลอดมีการฉาบวัสดุพิเศษ ป้องกันการก่อตัวของแก๊สไฮโดรเจนซึ่งเป็น
ปฏิกิริยาระหว่างผิวโลหะกับอาหารที่มีฤทธิ์เป็นกรด เช่น นาแอปเปิล หลอดอะลูมิเนียมท่ีใช้ในยุคแรกมักมี
นาหนักมากกว่าอาหารที่บรรจุอยู่ภายใน ต่อมาจึงมีการพัฒนาเป็นหลอดพลาสติกนาหนักเบา จะว่าไปแล้ว
นักบินอวกาศไม่ค่อยพิสมัยกับอาหารแบบนีนัก เพราะส่วนมากมีรสชาติไม่น่ารับประทาน และยุ่งยากในการ
เติมนาให้กับอาหารแห้งก่ึงสาเร็จรูป ในช่วงปลายของโครงการ เร่ิมมีการผลิตและทดสอบอาหารท่ีทาให้แห้ง
และอดั เป็นก้อน มีลกั ษณะเป็นชินส่เี หลีย่ มพอดีคา ไม่ต้องกดั หรือห่ันขณะรบั ประทาน อาหารจะนิ่มลงโดยการ
เคียวในปาก (ไม่ต้องผสมนาก่อนรับประทาน) ย่ิงไปกว่านัน อาหารก้อนยังถูกฉาบด้วยวุ้นเพ่ือไม่ให้แตกเป็น
ชินๆ ป้องกันไม่ให้มีชินส่วนของอาหารหลุดลอยออกไป ซ่ึงอาจเข้าไปอุดตันในอุปกรณ์ต่างๆ บนยาน หรือ
แม้กระท่ังเป็นอันตรายกับนักบินได้หากเผลอสูดผ่านจมูกเข้าไปในปอด ส่วนภาชนะบรรจุเป็นแผ่นฟิล์ม
พลาสติกห่อหุ้มด้วยระบบสุญญากาศ นอกจากใช้บรรจุอาหารแล้วยังช่วยป้องกันความชืน รักษากลิ่น และ
รสชาติ รวมทงั ถนอมอาหารใหอ้ ยูไ่ ด้นาน

ภาพท่ี 3 อาหารในโครงการเมอรค์ ิวรี
ทม่ี า https://sites.google.com/a/utd.ac.th/space-technology-and-application/application

4

 โครงการเจมนิ ี
อาหารอวกาศมีการพัฒนารูปแบบไปมากในโครงการเจมินี ทังในแง่ความหลากหลายของอาหารและบรรจุ
ภณั ฑ์ มีกระบวนการขจัดนาออกจากอาหาร ทาให้อาหารอวกาศในยุคนันมลี ักษณะใกล้เคียงกบั อาหารสด ทงั สี
และรสชาติ เช่น นาองุ่น นาสม้ นาแอปเปลิ ขนมปังปิ้ง ชอ็ กโกแลต ซปุ ไก่ เนือตนุ๋ ขา้ ว ไกง่ วง เปน็ ต้น

ภาพที่ 4 อาหารในโครงการเจมินี
ท่ีมา https://sites.google.com/a/utd.ac.th/space-technology-and-application/application

3. ด้ำนกำรแพทยแ์ ละสขุ ภำพ
ในการใชช้ ีวิตในอวกาศนักบินอวกาศตอ้ งเผชิญกับสภาวะแวดลอ้ มที่แตกต่างจากบนโลกทงั ในเรอ่ื งของอุณหภูมิ
ความดัน แรงโน้มถ่วงและปริมาณรังสีต่าง ๆ ท่ีผ่านเข้าสู่ร่างกาย นักวิทยาศาสตร์จึงได้มีการพัฒนาเคร่ืองมือ
ต่าง ๆ ที่ช่วยให้นักบินอวกาศสามารถปฏิบัติภารกิจในอวกาศได้อย่างปลอดภัย ซึ่งความรู้ดังกล่าวสามารถ
นามาประยุกต์ใช้กับมนุษย์ที่อยู่บนโลกได้ เช่น การนาความรู้เก่ียวกับการศึกษาการเสื่อมของกล้ามเนือและ
กระดูกของมนุษย์ท่ีอยู่ในอวกาศเป็นเวลานานมาช่วยในการชะลอการสูญเสียมวลกระดูกของคนที่อยู่บนโลก
นอกจากนีมีการนาความรู้ทางเทคโนโลยีอวกาศมาพัฒนาเครื่องมือทช่ี ่วยตรวจวนิ ิจฉัยทางการแพทย์ เช่น การ
พัฒนากล้อง 3 มิติ ที่มีขนาดเล็กและมีประสิทธิภาพสูงจากห้องปฏิบัติการของนาซา นามาพัฒนากล้องส่อง
ตรวจอวัยวะภายในของร่างกาย 3 มิติ (3D endoscope) ทาให้แพทย์สามารถผ่าตัดโดยการส่องกล้องที่เป็น
ทอ่ ยาวเข้าไปในร่างกายเครื่องมือนีตรงปลายมเี ลนสส์ าหรับรับภาพช่วยใหก้ ารมองเหน็ ในจุดท่ีผา่ ตัดขัดเจนขึน

 การออกแบบเคร่ืองวัดอุณหภูมิทางหู (infraredcar thermometer) เป็นเทคโนโลยีที่ใช้วัดอุณหภูมิ
ของดาวฤกษ์และกาแล็กซี ได้ถูกนามาใช้ในปี พ.ศ. 2534 เพื่อใช้วัดอุณหภูมิของคนไข้มีตัวเซ็นเซอร์
เป็นอินฟราเรดส่องไปท่ีหู แล้วอ่านอุณหภูมิซึ่งใช้ง่ายและสะดวก นอกจากนียังมีเคร่ืองปั๊มหัวใจเทียม
ขนาดเล็กพิเศษ (artificial heart pump) ซ่ึงจะเป็นประโยชน์ต่อผู้ป่วยท่ีมีภาวะหัวใจล้มเหลว เป็น

5

การออกแบบปั๊มโดยการใช้รูปเปอร์คอมพิวเตอร์ของนาซาและเทคโนโลยีพลวัตของไหลจากระบบ
เชอื เพลงิ ในยานขนส่งอวกาศ โดยการจาลองการไหลของของเหลวผา่ นเครอื่ งยนต์เครือ่ งป๊มั หวั ใจชนิด
นีมีนาหนักเบา ทาให้เหมาะสมมากสาหรับนามาทาเป็นปั๊มหัวใจเทียมโดยใช้แบตเตอร่ีควบคุมการ
ทางาน

ภาพที่ 5 เครื่องปม๊ั หัวใจเทียมขนาดเล็กพเิ ศษ
ทีม่ า https://workpointtoday.com/heartcon/

ประโยชนข์ องเทคโนโลยีอวกำศ

มนุษย์เฝ้ามองท้องฟ้า สังเกตดวงดาว และพยายามทาความเข้าใจต่อปรากฏการณ์และความลีลับ
เก่ียวกับห้วงอวกาศมาเน่ินนาน ทาให้เกิดการศึกษาดาราศาสตร์และการพัฒนาทังเคร่ืองไม้เครื่องมือและ
เทคโนโลยีต่าง ๆ เร่ือยมา จนกระทั่งในปัจจุบัน เทคโนโลยีอวกาศถูกนามาใช้ประโยชน์เพ่ือมนุษยชาติใน
หลากหลายดา้ น เชน่

 การส่ือสารและโทรคมนาคม : ดาวเทียมส่ือสารทาหน้าท่ีเป็นสถานีรับส่งคล่ืนวิทยุและเช่ือมโยง
เครอื ขา่ ยการสอ่ื สารของโลก ไม่วา่ จะเป็นการส่ือสารภายในหรือภายนอกประเทศ ทงั โทรศัพท์ โทร
เลข โทรสาร รวมถงึ การถา่ ยทอดสัญญาณโทรทศั น์ สัญญาณวิทยุ และการสง่ ข้อมูลดจิ ิตอลต่าง ๆ

 การตรวจวดั และพยากรณ์อากาศ : ดาวเทยี มอุตนุ ิยมวทิ ยาทาหนา้ ที่สง่ สญั ญาณภาพถ่ายทาง
อากาศพร้อมทงั เกบ็ ข้อมลู ทางอตุ ุนยิ มวทิ ยา เช่น การสารวจจานวนและชนิดของเมฆ ติดตาม
ลกั ษณะอากาศทีแ่ ปรปรวน การตรวจวัดความเรว็ ลม ความชนื และอณุ หภมู ิ เพอื่ การพยากรณ์
และเตือนภยั พบิ ตั ติ ่าง ๆ โดยเฉพาะการเกดิ พายทุ ร่ี นุ แรง

 การสังเกตการณ์ดาราศาสตร์ : ดาวเทียมสังเกตการณ์ทางดาราศาสตรแ์ ละยานสารวจอวกาศส่วน
ใหญ่มีการติดตังกล้องโทรทรรศน์และอุปกรณ์ สาหรับการศึกษาวัตถุท้องฟา้ มีทังดาวเทียมที่โคจร
อยู่รอบโลกและโคจรผ่านไปใกล้ดาวเคราะห์ดวงอื่น รวมไปถึงการลงสารวจดาวเคราะห์ที่ต้องการ
โดยตรง

 การสารวจทรัพยากรธรรมชาติ : ดาวเทียมสารวจทรัพยากรธรรมชาติเป็นการผสมผสานระหว่าง
เทคโนโลยีการถ่ายภาพและโทรคมนาคม มักถูกใช้เป็นสถานีเคลื่อนที่ในการสารวจแหล่งทรัพยากร
ทางธรรมชาตทิ ีส่ าคญั รวมถงึ การตรวจตราและเฝ้าสังเกตการเปลี่ยนแปลงบนพนื ผิวโลก อีกทงั ยัง
ช่วยในการเกบ็ ข้อมูลทางธรณวี ทิ ยาและนเิ วศวิทยาทเี่ ปน็ ประโยชน์ เช่น การสารวจพนื ท่ปี า่ ไม้ การ

6

สารวจพนื ท่กี ารเกษตรและการใชท้ ี่ดิน รวมไปถึงเพ่ือการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ ประเทศไทย
มีดาวเทียมธีออส (Thailand Earth Observation System: THEOS) เป็นดาวเทียมสารวจ
ทรัพยากรธรรมชาติดวงแรก

ภาพท่ี 6 ดาวเทยี มธีออส
ทมี่ า https://www2.gistda.or.th/main/th/node/90

7

บรรณำนกุ รม

1.คัดคณัฐ ชืน่ วงศ์อรุณ. (2564). เทคโนโลยีอวกาศ (Space Technology)
สบื คน้ เมื่อ 22 สงิ หาคม 2565.https://ngthai.com/science/33270/
space-technology/

2.สมาคมดาราศาสตรไ์ ทย. (2559). อาหารอวกาศ สืบคน้ เม่ือ 22 สิงหาคม 2565.
http://thaiastro.nectec.or.th/library/article/219/

3.ศักดอิ์ นันต์ อนันตสุข. (2563). เทคโนโลยอี วกาศ สืบค้นเมอ่ื 22 สิงหาคม 2565.
http://www.astroeducation.com/wp-content/uploads/2013/01/Unit5-
%E0%B9%80%E0%B8%97%E0%B8%84%E0%B9%82%E0%B8%99%
E0%B9%82%E0%B8%A5%E0%B8%A2%E0%B8%B5%E0%B8%AD%
E0%B8%A7%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A8.pdf

4.Google Sites. (2561). หน่วยท่ี 4 เทคโนโลยอี วกาศ สบื คน้ เมื่อ 22 สิงหาคม 2565.
https://sites.google.com/site/lokdarasastrlaeaxwkas/h

5.Google Sites. (2560). Space Technology and Application
สบื ค้นเมือ่ 22 สงิ หาคม 2565.https://sites.google.com/a/utd.ac.th/space-
technology-and-application/application


เทคโนโลยีอวกาศและการประยุกต์ใช้มีอะไรบ้าง

การใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีอวกาศมีมากมาย เช่น ดาวเทียมสื่อสาร ดาวเทียมอุตุนิยมวิทยา ดาวเทียมสำรวจทรัพยากร ดาวเทียมสังเกตการณ์ดาราศาสตร์ กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิล (Hubble Space Telescope) เป็นต้น

เทคโนโลยีทางอวกาศมีอะไรบ้าง

1 ประเภทของเทคโนโลยีอวกาศ 1.1 เทคโนโลยีดาวเทียม 1.2 เทคโนโลยีการสำรวจอวกาศ 1.3 เทคโนโลยีการบินอวกาศ

เทคโนโลยีอวกาศนำมาประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้อย่างไรบ้างให้ยกตัวอย่าง 2 ตัวอย่าง

12 นวัตกรรมอวกาศจาก NASA ที่ถูกนำมาใช้ในชีวิตประจำวัน จนเป็นของ....
อาหารแช่แข็งและอาหารแห้ง ... .
คอมพิวเตอร์ไมโครชิพ ... .
เหล็กดัดฟัน ... .
อาหารเด็ก ... .
เครื่องมือไร้สาย ... .
แว่นตาที่คงทน ... .
โฟมนิ่มยวบยาบ ... .
จอยคันโยก.

ข้อใดเป็นความหมายของเทคโนโลยีอวกาศ

ดังนั้น เทคโนโลยีอวกาศ จึงหมายถึง ระเบียบการนำความรู้ เครื่องและวิธีการต่าง ทางวิทยาศาสตร์มาปรับใช้ให้เหมาะสมกับการศึกษาทางด้านดาราศาสตร์ และอวกาศ ตลอดจนสามารถนำมาประยุกต์ใช้ให้สอดคล้องกับทรัพยากรธรรมชาติ และการดำรงชีวิตของมนุษย์ด้วย เช่น การนำเทคโนโลยีอวกาศมาใช้สำรวจและตรวจสอบสภาพอากาศของโลก เป็นต้น