อํานาจอธิปไตยคืออะไรและพระมหากษัตริย์ทรงใช้อำนาจอธิปไตยอย่างไร

อํานาจอธิปไตยคืออะไรและพระมหากษัตริย์ทรงใช้อำนาจอธิปไตยอย่างไร

ความหมายของ อำนาจอธิปไตย

           หลายๆคนหน้าจะเคยได้ยินคำว่า อำนาจอธิปไตย และก็คงจะอยากรู้ว่า อำนาจอธิปไตย ที่พูดกันว่า เป็นของปวงชนนั้น เป็นเช่นไรและมีที่มาอย่างไรบ้าง อำนาจอธิปไตย คือ อำนาจสูงสุดในการปกครองประเทศ (Sovereignty) หรือ อำนาจสูงสุดในการปกครอง"รัฐ" ดังนั้น สิ่งอื่นใดจะมีอำนาจยิ่งกว่าหรือขัดต่ออำนาจอธิปไตยหาได้ไม่ โดยหลักสากล แต่ละรัฐจะมีองค์กรที่ใช้อำนาจอธิปไตยอยู่ 3 องค์กร ได้แก่            1.องค์กรฝ่ายบริหาร (การบริหารพัฒนาประเทศ)
           2.นิติบัญญัติ (การพิจารณา ตรากฎหมาย)
           3.ตุลาการ (การตัดสินคดีความ) อำนาจอธิปไตยนี้ นับเป็นองค์ประกอบของสำคัญที่สุดของความเป็นรัฐ เพราะการจะเป็น "รัฐ" ได้นั้น นอกจากต้องประกอบด้วย อาณาเขต ประชากร และรัฐบาลแล้ว ย่อมต้องมี อำนาจอธิปไตยด้วย กล่าวคือ ประเทศนั้นต้องเป็นประเทศที่สามารถมีอำนาจสูงสุด (อำนาจอธิปไตย) ในการปกครองตนเอง จึงจะสามารถเรียกว่า "รัฐ" ได้
            อำนาจอธิปไตย แบ่งออกเป็น หลายแบบ ยกตัวอย่างเช่น อำนาจอธิปไตยเป็นของประชาชน คือ ประชาชนเป็นผู้มีอำนาจสูงสุด เรียกว่า ระบอบประชาธิปไตย อำนาจอธิปไตยเป็นของพระมหากษัตริย์ คือ กษัตรย์เป็นผู้มีอำนาจสูงสุด เรียกว่า ระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ เป็นต้น
            อำนาจอธิปไตยเป็นของประชาชน หรือ เรียกว่า ระบอบประชาธิปไตย คือ ประชาชนเป็นผู้มีอำนาจสูงสุดในการปกครองประเทศ แต่ในทางปฎิบัติแล้ว การที่จะให้ประชาชนทุกคนมา จัดการบริหารประเทศนั้นเป็นไปไม่ได้ จึงต้องมีการจัดตั้งตัวแทนในการกระทำการต่างๆ และจะต้องมีหลัก การแบ่งแยกอำนาจอธิปไตย โดยหลักสากล แต่ละรัฐจะมีองค์กรที่ใช้อำนาจอธิปไตยอยู่ 3 องค์กร ได้แก่ อำนาจบริหาร อำนาจนิติบัญญัติ และอำนาจตุลาการ นั้นเอง

อํานาจอธิปไตยคืออะไรและพระมหากษัตริย์ทรงใช้อำนาจอธิปไตยอย่างไร

            http://raronkick.blogspot.com/2013/04/blog-post.html

อํานาจอธิปไตยคืออะไรและพระมหากษัตริย์ทรงใช้อำนาจอธิปไตยอย่างไร

บทที่ การปกครองระบอบประชาธิปไตย

1. อำนาจอธิปไตยและความสำคัญของระบอบประชาธิปไตย

            1. อำนาจอธิปไตย    เป็นอำนาจสูงสุดในการปกครองประเทศ เป็นอำนาจสูงสุดของปวงชนชาวไทย และพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข

                        1.1 รัฐธรรมนูญ  คือ กฎหมายสูงสุดของประเทศ

                        1.2 การใช้อำนายอธิปไตย   มี 3 ลักษณะ คือ

                                    1.2.1 อำนาจนิติบัญญัติ    คือ อำนาจในการออกกฎหมาย

                                    1.2.2 อำนาจบริหาร        คือ อำนาจในการบริหาร

                                    1.2.3 อำนาจตุลาการ     คือ อำนาจในการพิจารณาตัดสินพิพากษา

อํานาจอธิปไตยคืออะไรและพระมหากษัตริย์ทรงใช้อำนาจอธิปไตยอย่างไร

à  การใช้อำนาจ ทั้ง 3 ลักษณะ จะมีการถ่วงดุล และคานอำนาจระหว่างกัน à

            2. ความสำคัญของการปกครองระบอบประชาธิปไตย  เน้นการมีส่วนร่วมของประชาชน  มีหลักการที่สำคัญ ดังนี้

                        2.1 หลักอำนาจอธิปไตยเป็นของปวงชน

                        2.2 หลักความเสมอภาค

                        2.3 หลักสิทธิ เสรีภาพ และหน้าที่

                        2.4 หลักภราดรภาพ

                        2.5 หลักกฎหมายหรือนิติธรรม

                        2.6 หลักการใช้เหตุผล

                        2.7 หลักเสียงข้างมาก

อํานาจอธิปไตยคืออะไรและพระมหากษัตริย์ทรงใช้อำนาจอธิปไตยอย่างไร


อํานาจอธิปไตยคืออะไร มีอะไรบ้าง

อำนาจอธิปไตยในทัศนะของบอแด็งนั้นหมายความถึง อำนาจที่มีถาวรไม่จำกัด และไม่มีเงื่อนไขผูกมัดที่จะออกกฎหมาย ตีความและรักษากฎหมาย อำนาจนี้เป็นสิ่งจำเป็นต่อรัฐที่มีระเบียบที่ดี อำนาจนี้เองทำให้รัฐแตกต่างไปจากการรวมกลุ่มของบุคคลในสมัยโบราณ อย่างไรก็ตาม บอแด็งเห็นว่า อำนาจอธิปไตยนี้อาจถูกจำกัดโดยกฎหมายธรรมชาติหรือกฎธรรมชาติ ...

พระมหากษัตริย์ทรงใช้อำนาจอธิปไตยอย่างไร

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ ระบุว่า อํานาจอธิปไตยเป็นของปวงชนชาว ไทย พระมหากษัตริย์ผู้ทรงเป็นประมุขทรงใช้อํานาจนั้นทางรัฐสภา คณะรัฐมนตรี และศาล ตามบทบัญญัติ แห่งรัฐธรรมนูญนี้ ซึ่งหมายความว่า ในทางการเมืองประชาชนมีอํานาจสูงสุด แต่การใช้อํานาจทางกฎหมาย ต้องใช้ผ่านสถาบันรัฐสภา คณะรัฐมนตรี และศาลที่พิพากษา ...

ฐานะและพระราชอํานาจของพระมหากษัตริย์ มีอะไรบ้าง

พระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขแห่งรัฐ ทรงใช้อำนาจอธิปไตยผ่านคณะรัฐมนตรี รัฐสภา และศาล ทรงเป็นจอมทัพไทย พุทธมามกะ และอัครศาสนูปถัมภก มีพระราชอำนาจสถาปนาและพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์กับฐานันดรศักดิ์ พระราชทานอภัยโทษ ประกาศสงครามและสงบศึก รวมตลอดถึงพระราชอำนาจอื่น ๆ ซึ่งจะทรงใช้ได้ก็แต่โดยหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่ ...

ข้อใดเป็นพระราชฐานะและพระราชอํานาจของพระมหากษัตริย์ที่บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญ

บทบัญญัติในรัฐธรรมนูญได้บัญญัติถึงพระราชอำนาจของพระมหากษัตริย์โดยเฉพาะในการเลือกและแต่งตั้งผู้ทรงคุณวุฒิมาดำรงตำแหน่งประธานองคมนตรีและองคมนตรี ข้าราชการในพระองค์ และสมุหราชองครักษ์ ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ และพระรัชทายาทเพื่อสืบราชสันตติวงศ์ตามพระราชอัธยาศัย ตามมาตรา ๑๒ ๑๗ ๑๘ และ ๒๒ ตามลำดับ