มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม มีอะไรบ้าง

มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม หรือ มรดกทางวัฒนธรรมที่จับต้องไม่ได้ (อังกฤษ: intangible cultural heritage, ย่อ: ICH) ได้รับการสนับสนุนจากยูเนสโก โดยมุ่งเน้นไปยังวัฒนธรรมส่วนที่จับต้องไม่ได้เป็นหลัก คู่กับแหล่งมรดกโลก ใน พ.ศ. 2544 ยูเนสโกออกสำรวจเพื่อพยายามตกลงนิยาม และอนุสัญญาว่าด้วยการสงวนรักษามรดกทางวัฒนธรรมที่จับต้องไม่ได้ (Convention for the Safeguarding of the Intangible Cultural Heritage) ร่างขึ้นใน พ.ศ. 2546 เพื่อการคุ้มครองและสนับสนุนวัฒนธรรมที่จับต้องไม่ได้

ปัจจุบัน (ธันวาคม 2561) ยูเนสโกขึ้นทะเบียนมรดกทางวัฒนธรรมที่จับต้องไม่ได้แล้วทั้งสิ้น 508 รายการ ใน 122 ประเทศทั่วโลก

    นิยาม

ตามอนุสัญญาว่าด้วยการสงวนรักษามรดกวัฒนธรรมที่จับต้องไม่ได้ พ.ศ. 2546 คำว่า "มรดกทางวัฒนธรรมที่จับต้องไม่ได้" นิยามดังนี้

“มรดกทางวัฒนธรรมที่จับต้องไม่ได้” หมายถึง การปฏิบัติ การเป็นตัวแทน การแสดงออก ความรู้ ทักษะ ตลอดจนเครื่องมือ วัตถุ สิ่งประดิษฐ์ และพื้นที่ทางวัฒนธรรมอันเป็นผลจากสิ่งเหล่านั้น ซึ่งชุมชน กลุ่มชน และในบางกรณีปัจเจกบุคคลยอมรับว่าเป็นส่วนหนึ่งของมรดกทางวัฒนธรรมของตน มรดกทางวัฒนธรรมที่จับต้องไม่ได้นี้ซึ่งถ่ายทอดจากคนรุ่นหนึ่งไปยังคนอีกรุ่นหนึ่งเป็นสิ่งซึ่งชุมชนและกลุ่มชนสร้างขึ้นใหม่อย่างสม่ำเสมอเพื่อตอบสนองต่อสภาพแวดล้อมของตน เป็นปฏิสัมพันธ์ของพวกเขาที่มีต่อธรรมชาติและประวัติศาสตร์ของตน และทำให้คนเหล่านั้นเกิดความรู้สึกมีอัตลักษณ์และความต่อเนื่อง ดังนั้นจึงก่อให้เกิดความเคารพต่อความหลากหลายทางวัฒนธรรมและการคิดสร้างสรรค์ของมนุษย์ เพื่อให้เป็นไปตามจุดประสงค์ของอนุสัญญาฉบับนี้ จะมีการพิจารณาเฉพาะมรดกทางวัฒนธรรมที่จับต้องไม่ได้เท่าที่สอดคล้องกับบทบัญญัติที่มีอยู่ด้านสิทธิมนุษยชนระหว่างประเทศเท่านั้น รวมทั้งข้อกำหนดให้มีการเคารพซึ่งกันและกันระหว่างชุมชนทั้งหลาย กลุ่มชน และปัจเจกบุคคล และต่อการพัฒนาที่ยั่งยืน

    ประวัติศาสตร์มุขปาฐะ

มรดกทางวัฒนธรรมที่จับต้องไม่ได้แตกต่างจากประวัติศาสตร์มุขปาฐะเล็กน้อย (ประวัติศาสตร์มุขปาฐะเป็นการบันทึก สงวนไว้ และตีความซึ่งข้อมูลทางประวัติศาสตร์โดยอยู่บนประสบการณ์ส่วนบุคคลและความคิดเห็นของผู้เล่า) มรดกทางวัฒนธรรมที่จับต้องไม่ได้มุ่งไปที่การสงวนรักษามรดกทางวัฒนธรรม 'ไว้กับ' ผู้คนหรือชุมชนโดยปกป้องกระบวนการที่ทำให้ประเพณีและความรู้ที่สืบทอดกันมาสามารถส่งทอดต่อไปได้ ในขณะที่ประวัติศาสตร์มุขปาฐะมุ่งไปที่การเก็บและรักษาข้อมูลทางประวัติศาสตร์จากปัจเจกชนหรือกลุ่มบุคคล

     การสงวนรักษา

ก่อนที่จะมีอนุสัญญาของยูเนสโก ได้มีความพยายามของประเทศต่างๆ ในการสงวนรักษามรดกทางวัฒนธรรมให้คงอยู่ต่อไป ญี่ปุ่นเป็นประเทศแรกในโลกที่ออกกฎหมายในการคุ้มครองสมบัติทางวัฒนธรรมเมื่อ พ.ศ. 2493 ซึ่งคุ้มครองมรดกทางวัฒนธรรมทั้งประเภทที่จับต้องได้และจับต้องไม่ได้ ประเทศอื่นๆ อาทิ เกาหลีใต้ ฟิลิปปินส์ สหรัฐอเมริกา ไทย ฝรั่งเศส โรมาเนีย สาธารณรัฐเช็ก และโปแลนด์ต่างก็มีโครงการคล้ายกันในเวลาต่อมา

อนุสัญญาที่ยูเนสโกประกาศเมื่อปี พ.ศ. 2546 (มีผลเมื่อวันที่ 20 เมษายน พ.ศ. 2549) กำหนดให้ประเทศภาคีจัดทำรายชื่อมรดกทางวัฒนธรรมที่จับต้องไม่ได้ และดำเนินการเพื่อให้มรดกทางวัฒนธรรมที่จับต้องไม่ได้ สามารถดำรงสืบทอดอยู่ต่อไปได้ นอกจากนี้ยังเปิดช่องให้ระดมเงินบริจาคระหว่างประเทศสมาชิกยูเนสโกมาใช้เพื่อการทำนุบำรุงมรดกที่ขึ้นทะเบียนแล้วอีกด้วย ยูเนสโกยังมีโครงการอื่นเกี่ยวกับวัฒนธรรมที่จับต้องไม่ได้ เช่น โครงการขึ้นทะเบียน "Proclamation of Masterpieces of the Oral and Intangible Heritage of Humanity" ซึ่งเริ่มต้นด้วย 19 รายการเมื่อปี พ.ศ. 2544 เพิ่มเติมเป็น 28 รายการเมื่อปี พ.ศ. 2546 และเป็น 43 รายการในปี พ.ศ. 2548 เหล่านี้ดูเหมือนว่าจะเป็นการแก้ไขความไม่สมดุลในโครงการขึ้นทะเบียนแหล่งมรดกโลก (World Heritage Sites) ที่ซีกโลกใต้เองมักจะเสียเปรียบเพราะมีอนุสาวรีย์หรือสิ่งก่อสร้างที่สำคัญจำนวนไม่มากเท่าซีกโลกเหนือ และท้ายที่สุดโครงการนี้ได้รับการทดแทนโดยการจัด "มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม" หรือ "มรดกทางวัฒนธรรมที่จับต้องไม่ได้" โดยองค์การยูเนสโก (UNESCO Intangible Cultural Heritage Lists) ในปี พ.ศ. 2551

          หากมองในมิติคุณค่าของมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม สิ่งเหล่านี้เป็นรากเหง้าและสิ่งสะท้อนตัวตนของผู้คนแต่ละชาตพันธุ์ เป็นบ่อเกิดความความเจริญรุ่งเรืองในปัจจุบัน รวมทั้งการอธิบายความสัมพันธ์ที่มีต่อกันระหว่างมนุษย์กับธรรมชาติ มนุษย์กับมนุษย์ด้วยกันซึ่งเป็นพัฒนาการที่ยาวนานของสังคมมนุษย์ และหากจะมองในมิติเชิงมูลค่าทางเศรษฐกิจ มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมเหล่านี้เป็นทรัพยากรที่สามารถนำมาต่อยอดให้เกิดการสร้างเศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์และการพัฒนาอย่างยั่งยืนได้ ดังนั้นคงจะสรุปได้ว่า มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม คือ ทรัพย์สมบัติจากบรรพชน ที่รอการนำกลับมาใช้ ซึ่งยิ่งนานวันยิ่งมีคุณค่ามีมูลค่าเพิ่มขึ้น และยิ่งใช้ยิ่งเกิดประโยชน์ แต่ต้องอยู่ภายใต้เงื่อนไขของความเหมาะสมกับบริบทของสังคมใหม่และการนำมาใช้อย่างยั่งยืน

กรุงเทพมหานครจัดกิจกรรม “เทศกาลภาพยนตร์กรุงเทพมหานคร ประจำปี 2566” ณ หอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานคร ระหว่างวันที่ 20-22 มกราคม 2566 เพื่อส่งเสริมศิลปวัฒนธรรมโดยนำต้นทุนทางวัฒนธรรมมาสร้างสรรค์ เพื่อปลุกกระแสให้ประชาชนมีความสนใจและมีโอกาสแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านศิลปวัฒนธรรมในกรุงเทพมหานครมากยิ่งขึ้น โดยเฉพาะเพื่อส่งเสริมและขับเคลื่อนอุตสาหกรรมภาพยนตร์ไทยให้ยั่งยืนยิ่งขึ้น และกระตุ้นเศรษฐกิจการค้าในพื้นที่โดยรอบกรุงเทพมหานคร รวมถึงการสร้างความสุข ความบันเทิงใจให้กับประชาชนผ่านเทศกาลในครั้งนี้

กิจกรรมดังกล่าวสืบเนื่องจากผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร มอบนโยบายด้านเศรษฐกิจดีและสร้างสรรค์ดี เพื่อขับเคลื่อนและยกระดับมหานครให้เป็นเมืองยั่งยืนน่าอยู่สำหรับทุกคน แล้วนำนโยบายมาพัฒนาต่อด้วยการจัดโครงการ เทศกาล หรือกิจกรรมสร้างสรรค์ที่ผสมผสานศาสตร์ศิลปะและวัฒนธรรมเป็นเครื่องมือผลักดันพื้นที่เทศกาลสร้างสรรค์ให้เกิดกิจกรรมทุกรูปแบบที่เกิดเม็ดเงินหมุนเวียนกระตุ้นเศรษฐกิจ เป็นการเปิดโอกาสการประกอบธุรกิจใหม่ ๆ ให้กับคนกรุงเทพฯ การริเริ่มจัด 12 เดือน 12 เทศกาล ตลอดปีทั่วกรุงเทพมหานคร รวมถึง “Colorful Bangkok” ซึ่งเป็นการส่งเสริมให้ประชาชนสามารถเข้าถึงงานศิลปะ เช่น การเรียนรู้ประวัติศาสตร์ ของเมืองผ่านการชมภาพยนตร์ในพื้นที่สาธารณะ (Public space) ที่มีเนื้อหาเกี่ยวข้องกับสถานที่ต่าง ๆ และสร้างความบันเทิงให้กับคนกรุงเทพมหานคร เป็นต้น

  • เปิดสเป็ก “รีโว่ อีวี” กระบะไฟฟ้า 100% สวย เฉียบ คม ราคาโดน
  • สีเสื้อมงคล 2566/2023 วันอะไรใส่สีไหน ดวงปัง เงินเข้าไม่หยุด
  • ปีใหม่ 2566 แบงก์แจ้งปิด-เปิดสาขา ธนาคารไหน วันไหนบ้าง เช็กที่นี่!

‘ศานนท์ หวังสร้างบุญ’ รองผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร ร่วมงานแถลงข่าวและเผยความรู้สึกถึงการจัดงานเทศกาลภาพยนตร์กรุงเทพมหานครที่กำลังเกิดขึ้นในเดือนมกราคม 2566 เพื่อมีส่วนรวมในการส่งเสริมอุตสาหกรรมภาพยนตร์ไทย และกระตุ้นเศรษฐกิจการค้าในกรุงเทพมหานคร

“ผมรู้สึกยินดีและเป็นเกียรติอย่างยิ่งที่ได้มาส่วนส่งเสริมศิลปวัฒนธรรมโดยนำต้นทุนทางวัฒนธรรมมาสร้างสรรค์ เพื่อปลุกกระแสให้ประชาชนมีความสนใจและมีโอกาสแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านศิลปวัฒนธรรมในกรุงเทพมหานครมากยิ่งขึ้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งกิจกรรมเพื่อส่งเสริมและขับเคลื่อนอุตสาหกรรมภาพยนตร์ไทยให้ยั่งยืนยิ่งขึ้น และกระตุ้นเศรษฐกิจการค้าในพื้นที่โดยรอบกรุงเทพมหานคร รวมถึงการสร้างความสุขให้กับประชาชนคนไทยและนักท่องเที่ยวผ่านเทศกาลภาพยนตร์กรุงเทพมหานครครั้งนี้” ศานนท์ กล่าว

มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม มีอะไรบ้าง

โดยในงานแถลงข่าวครั้งนี้ มีแขกผู้มีเกียรติจากคณะผู้บริหารกรุงเทพมหาคร คุณสมบูรณ์ หอมนาน ผู้อำนวยการสำนักวัฒนธรรม กีฬา และการท่องเที่ยว, คุณเยาวลักษณ์ พิมพะนิตย์ ผู้อำนวยการสำนักงานวัฒนธรรม และการท่องเที่ยว รวมถึงแขกรับเชิญจากวงภาพยนตร์มาร่วมงานอย่าง คุณดรสะรณ โกวิทวณิชชา ผู้อำนวยการเทศกาลภาพยนตร์โลกแห่งกรุงเทพ, คุณฐา ฐาปณี หลูสุวรรณ ผู้กำกับหญิงภาพยนตร์ไทยกำลังมาแรง เรื่อง Blue Again พร้อมกับ โปรดิวเซอร์ Blue Again คุณชลสิทธิ์ อุปนิกขิต ซึ่งภาพยนตร์ไทยเรื่อง Blue Again เคยนำไปฉายและเข้าชิงในงาน Busan International Film Festival ประเทศเกาหลีใต้ และงาน World Film Festival of Bangkok กรุงเทพฯ และคุณอดิศักดิ์ ลิมปรุ่งพัฒนกิจ ที่ปรึกษา เนชั่นกรุ๊ป

ทั้งนี้ในงาน “เทศกาลภาพยนตร์กรุงเทพมหานคร 2566” ระหว่างวันที่ 20-22 มกราคม 2566 กรุงเทพมหานครจัดกิจกรรมเพื่อส่งเสริมและขับเคลื่อนอุตสาหกรรมภาพยนตร์ไทยให้ยั่งยืนยิ่งขึ้น การจัดกิจกรรมเสวนาด้านภาพยนตร์ ภายใต้แนวคิด “กรุงเทพ มีดี The Creative City” รวมถึงกิจกรรมเวิร์คช็อปเทคนิคพิเศษทางด้านภาพยนตร์ เช่น เทคนิคการตัดต่อ, เทคนิคการถ่ายทำ หรือ การเขียนบทภาพยนตร์ โดยวิทยากรผู้เชี่ยวชาญ ผู้กำกับภาพยนตร์, นักแสดง หรือ นักวิชาการที่มีความรู้ด้านภาพยนตร์

มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม มีอะไรบ้าง

นอกจากนั้น ยังมีการจัดกิจกรรมประกวดภาพยนตร์สารคดีสั้นกรุงเทพมหานคร ความยาว 10-15 นาที เปิดโอกาสให้นักศึกษาและประชาชนทั่วไป อายุไม่เกิน 28 ปี ส่งผลงานในหัวข้อ “Connecting Bangkok 2030” หรือ “เชื่อมโยงกรุงเทพมหานคร 2030” โดยแนวคิดของหัวข้อนี้สะท้อนให้เห็นวิสัยทัศน์ของผู้สร้างสรรค์ผลงานภาพยนตร์สารคดีสั้นว่า มีมุมมองต่อกรุงเทพมหานครในฐานะ “Smart City” ในอนาคตอย่างไร โดยการประกวดครั้งนี้เพื่อชิงเงินรางวัลรวมทั้งหมด 200,000 บาท (รางวัลชนะเลิศ มูลค่า 65,000 บาท, รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 1 มูลค่า 45,000 บาท, รางวัลรองชนะเลิศรองอันดับ 2 มูลค่า 30,000 บาท, ชมเชย 4 รางวัลๆละ 15,000 บาท รวมมูลค่า 60,000 บาท) ซึ่งภาพยนตร์สารคดีสั้นกรุงเทพที่ชนะการประกวด จะนำมาฉายในเทศกาลที่จะเกิดขึ้นในวันที่ 20-22 มกราคม 2566 ผู้ที่สนใจสามารถส่งผลงานตั้งแต่วันนี้ ถึง 15 มกราคม 2566 ส่วนรายละเอียดการประกวดเพิ่มเติม ติดตามได้ทาง www.pr-bangkok.com และ Facebook Page: กรุงเทพมหานคร รวมทั้งยังเปิดพื้นที่สาธารณะลานหน้าหอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานคร จัดฉายหนังกลางแปลง วันละ 1 เรื่อง ซึ่งภาพยนตร์ที่ฉายเกี่ยวกับเป็นภาพยนตร์ไทยร่วมสมัยที่ประสบความสำเร็จ และยังเป็นกรณีศึกษาของวงการภาพยนตร์ไทยสู่ระดับนานาชาติ รวมถึงการแสดงวงดนตรีเยาวชนอีกด้วย

มรดกทางวัฒนธรรมมีด้านใดบ้าง

องค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (UNESCO) ได้แบ่ง มรดกทางวัฒนธรรมออกเป็นสองประเภท คือ มรดกทางวัฒนธรรมที่จับต้องได้หรือ (Tangible Cultural Heritage) และมรดกทางวัฒนธรรมที่จับต้องไม่ได้ หรือ (Intangible Cultural Heritage) โดยมีสาระส าคัญดังนี้

มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมมีความหมายว่าอย่างไร

มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม” หมายความว่า ความรู้ การแสดงออก การประพฤติปฏิบัติ หรือ ทักษะทางวัฒนธรรมที่แสดงออกผ่านบุคคล เครื่องมือ หรือวัตถุซึ่งบุคคล กลุ่มบุคคล หรือชุมชนยอมรับและรู้สึก เป็นเจ้าของร่วมกัน และมีการสืบทอดกันมาจากคนรุ่นหนึ่งไปยังคนอีกรุ่นหนึ่ง โดยอาจมีการเปลี่ยนแปลงเพื่อ ตอบสนองต่อสภาพแวดล้อมของตน ซึ่ง “ ...

มรดกทางวัฒนธรรมต่างๆเรียกว่าอะไร

ดังนั้น “มรดกทางวัฒนธรรม” จึงหมายถึง ผลงานที่เกิดจากการสร้างสรรค์ การประดิษฐ์ การคิดค้นในสิ่งที่ดีงามทั้งในรูปแบบที่จับต้องได้ (สัมผัสได้) และจับต้องไม่ได้ (สัมผัสไม่ได้) แล้วเรียนรู้สืบทอด ต่อกันมา รวมถึงสิ่งที่ยังคงเหลือเป็นหลักฐานให้เห็นในปัจจุบัน ได้แก่ งานสถาปัตยกรรมและงานศิลปกรรมต่าง ๆ เป็นต้น

ประเพณีใดได้ขึ้นทะเบียนเป็นมรดกทางภูมิปัญญาด้านวัฒนธรรมของชาติ

ประเพณีบุญบั้งไฟ ได้รับการขึ้นบัญชีมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจำปี พ.ศ. ๒๕๕๖ เอกสารอ้างอิง กรมส่งเสริมวัฒนธรรม. (๒๕๖๐).