ข้อใดเป็นมารยาทที่ดีในการเขียนจดหมาย


�Ԫ������� (���ʷ4513) �дѺ �Ѹ���֡�һշ�� 5
����ͧ ������ �ӹǹ 5 ���
�� �.�ؾ�� ���ѡ��� �ç���¹�ѹ�������
����� ���͡�ӵͺ���١��ͧ����ش

��ͷ�� 1)
���㴡�������١��ͧ����ǡѺ������
   ����������ѹ�������ҧ�ؤ�ŷ��������ѡ�ѹ
   ���͡����Ӥѭ�������ҧ�ԧ����ѡ�ҹ
   �繢�ͤ��������¹�Դ��������ҧ�����¹�Ѻ����Ѻ�µç
   �繤������§���ҧ˹�� ������ٻẺ��˹������е�ͧ�ѡ���ٻẺ������������¹�ŧ

��ͷ�� 2)
����������ѡɳз���仢ͧ������
   ��¹��ͤ������Ѵਹ
   ���������º������ҹ����
   �����Ҷ١�����������
   ���д����Ыͧ������Ǵ�����дش��

��ͷ�� 3)
�����ª�Դ���¹�Դ��͡ѹ�����ͧ����ǡѺ��ä����С���Թ
   �����¸�áԨ
   �����¡Ԩ����
   ��������ǹ���
   �������Ҫ���

��ͷ�� 4)
����������ͻ�Ժѵ�㹡�è��˹�ҫͧ
   ��¹���ͼ���Ѻ����кط����������дਹ
   �ҡ����յ��˹� ����кص��˹��٧��Ҥ����繨�ԧ
   �����¹������з������ͧ����������ͧ����
   ��¹�Ţ������ɳ���ء����

��ͷ�� 5)
�˵�㴵�ͧ�ѡ������ҷ㹡����¹������
   �����繡�õԴ���������÷��������ѡɳ��ѡ��
   ���Ш�����������ͧ����Ѵ������ԭ�ҧ����֡��
   ���Ш������繵��᷹�ͧ�ؤ�ŷ�����ع�¡ѹ
   ���Ш�����������ͧ�ʴ���������֡����ػ����¢ͧ�����¹


        ๑.กระดาษที่ใช้เขียนจดหมายและซองควรมีสีอ่อน ไม่มีลวดลายสีฉูดฉาด กระดาษมีความหนาพอสมควร ไม่ควรต่ำกว่า ๗๐ แกรม

        ๒.ไม่ควรใช้ดินสอดำ หรือปากกาหมึกแดงเขียน

        ๓.ไม่ควรขูดลบ ขีดฆ่า เขียนทับ หรือทำสำเนาไว้ใช้อีก

        ๔.ควรเขียนคำขึ้นต้น ชื่อยศ ตำแหน่ง และคำลงท้ายให้ถูกต้องเหมาะสม

        ๕.ตรวจดูตัวสะกด การันต์ ให้ถูกต้อง

        ๖.การจ่าหน้าซอง ควรเขียนชื่อ ที่อยู่ของผู้รับผู้ส่งให้ชัดเจน 

        ๗.เมื่อได้รับจดหมายจากผู้ใดแล้ว ควรรีบตอบทันที ถ้าละเลยไม่ตอบจะถือเป็นการเสียมารยาทอย่างยิ่ง

ข้อใดเป็นมารยาทที่ดีในการเขียนจดหมาย
  
ข้อใดเป็นมารยาทที่ดีในการเขียนจดหมาย
  
ข้อใดเป็นมารยาทที่ดีในการเขียนจดหมาย

ข้อใดเป็นมารยาทที่ดีในการเขียนจดหมาย

มารยาทในการเขียนจดหมาย

                  ๑. กระดาษและซอง : เป็นสีสุภาพ  สะอาด เรียบร้อยและซองมีขนาดมาตรฐานตามที่การสื่อสารแห่งประเทศไทยกำหนด

                  ๒. กลักการเขียน : เขียนด้วยหมึกสีดำหรือสีน้ำเงิน  ตัวอักษรและตัวเลขชัดเจน หากเขียนผิดควรลบให้สะอาด วางรูปแบบหน้ากระดาษเหมาะสม  สะกดชื่อ – สกุล ตำแหน่งผู้เกี่ยวข้องให้ถูกต้อง

                  ๓. การใช้ภาษา :  ใช้ภาษากะทัดรัดชัดเจน

                  ๔. คำขึ้นต้น/ลงท้าย : ถูกต้องเหมาะสมตามธรรมเนียม

ข้อสอบเรื่อง การเขียนจดหมายกิจธุระ

ข้อสอบวิชาภาษาไทยเพื่ออาชีพ รหัสวิชา ๒๐๐๐ - ๑๑๐๒ ชั้น ปวช.๒
เรื่อง การเขียนจดหมายกิจธุระ จำนวน ๑๐ ข้อ
โดย นายบุญกว้าง ศรีสุทโธ โรงเรียนห้วยแถลงพิทยาคม อำเภอห้วยแถลง จังหวัดนครราชสีมา
คำสั่ง เลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุด

ข้อ ๑  ข้อใดคือประโยชน์ในการเขียนจดหมาย *

ใช้เป็นเอกสารสำคัญเพื่อใช้อ้างอิง

ใช้เป็นเครื่องมือแทนความคิด

ข้อ ๒ ข้อใดเป็นมารยาทที่ดีในการเขียนจดหมาย *

เนื้อความในจดหมายควรเขียนให้ละเอียด

ข้อ  ๓  จดหมายในเชิงสร้างสรรค์ คือการเขียนในลักษณะใด *

เขียนโดยให้ผู้อ่านเกิดความรู้สึกที่ดี

ข้อ ๔  คำขึ้นต้นจดหมาย “กราบเรียน” ควรใช้กับบุคคลในข้อใด *

ข้อ ๕  จดหมายส่วนตัวควรเน้นเรื่องใดมากที่สุด *

ข้อ ๖  ข้อใดเป็นคำลงท้ายจดหมายติดต่อกิจธุระทุกประเภท *

ข้อ ๗  การเขียนจดหมายรับรองที่ไม่ให้การสนับสนุนควรเขียนอย่างไร *

เขียนตามความรู้สึกของผู้รับรอง

ข้อ ๘  จดหมายชนิดใดไม่จำเป็นต้องมีการตอบรับ *

ข้อ ๙  จดหมายชนิดใดถือเป็นความลับ *

จดหมายรับรองการปฏิบัติงาน

ข้อ ๑๐ รูปแบบของจดหมายชนิดใดที่ต้องมี  “เรื่อง.....” *

ห้ามส่งรหัสผ่านใน Google ฟอร์ม

มารยาทที่ดีในการเขียนจดหมายควรเป็นข้อใด

๑. เขียนให้ผู้รับเข้าใจจุดประสงค์ของผู้เขียน ๒. เขียนให้ตรงตามจุดประสงค์ที่ต้องการเขียน ไม่เขียนนอกเรื่อง ๓. ไม่รวบรัด หรือเยิ่นเย้อจนเกินไป ๔. เรียงล าดับข้อความในจดหมายตามลาดับเหตุการณ์ไม่สับสน ๕. ใช้ภาษาสุภาพ นุ่มนวล ๖. ลายมือสวยงาม สะอาด อ่านง่าย ไม่ขีดฆ่าให้สกปรก ๗. วางรูปแบบให้ถูกต้อง สวยงาม เป็นระเบียบ ๘. คาขึ้น ...

สิ่งใดไม่ควรทำในการเขียนจดหมาย

สิ่งที่ไม่ควรทำในการเขียนจดหมายสมัครงาน.
เอาข้อมูลในเรซูเม่ทั้งหมดมาเขียนใส่ในจดหมายสมัครงานอีกครั้ง.
เขียนความสามารถมากมายจนบางครั้งกลายเป็นโอ้อวดแทนที่จะน่าสนใจ.
พูดถึงเรื่องส่วนตัวมากเกินไป และเล่าถึงบริษัทเดิมในทางที่ไม่เหมาะสม.
ไม่ควรพูดถึงเรื่องเงินเดือน ยกเว้นในกรณีที่เขาแจ้งไว้ในประกาศงานเท่านั้น.

ข้อใดผิดมารยาทในการเขียนจดหมาย

ข้อใดถือว่า ผิดมารยาทในการเขียนจดหมายมากที่สุด ใช้สรรพนามแทนผู้ส่งและผู้รับไม่เหมาะสม จ่าหน้าซองบอกยศของผู้รับสูงกว่าความเป็นจริง จ่าหน้าซองสะกดชื่อและนามสกุลผู้รับไม่ถูกต้อง

ข้อใดคือประโยชน์ในการเขียนจดหมาย

ประโยชน์ของจดหมาย.
ประโยชน์ของจดหมาย.
1. ใช้สื่อสารแทนการพูดจาเมื่ออยู่ห่างไกลกัน.
2. ใช้เพื่อบอกกล่าวข้อความบางประการที่ไม่อาจพูดจากันโดยตรงได้.
3. ใช้เป็นสื่อสัมพันธ์ระหว่างบุคคลที่ไม่รู้จักกัน เช่นการเขียนจดหมายสมัครงาน.
4. ใช้เป็นเอกสารสำคัญที่อาจอ้างเป็นหลักฐานได้.