แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
เอกภพ เป็นระบบที่มีขนาดใหญ่ที่สุดเท่าที่มนุษย์สามารถสังเกตได้ นักเอกภพวิทยาพบว่า เอกภพ     มีเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 28000 ล้านปีแสง
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
* 1 ปีแสง คือ ระยะทางที่แสงเดินทางในอวกาศเป็นเวลานาน 1 ปี คิดเป็นระยะทาง 9.461×1015 เมตร หรือประมาณ 9.5 ล้านล้านกิโลเมตร

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
- แบบจำลองเอกภพของชาวสุเมเรียนและแบบจำลองเอกภพของชาวบาบิโลน

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
ชาวสุเมเรียนบันทึกตำแหน่งของดาวฤกษ์
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
และดาวเคราะห์
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
โดยมีโลกแบนอยู่กับที่และศูนย์กลางของการเคลื่อนที่ทั้งหมดมีการตั้งชื่อกลุ่มคาวหลายกลุ่มในท่องฟ้า และอธิบายการเคลื่อนที่ของดาวต่างๆ ตามความเชื่อที่ว่าเทพเจ้าปกครองโลก ท้องฟ้าและแหล่งน้ำบันดาลให้เป็นไป ชาวบาบิโดลนอาศัยพื้นฐานของชาวสุเมเรียนมาใช้ในการอธิบายการเคลื่อนที่ของดาวฤกษ์และการเปลี่ยนแปลงฤดูกาลบนโลกได้อย่างถูกต้อง

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่

ภาพที่ 63 แบบจำลองเอกภพของชาวสุเมเรียนและแบบจำลองเอกภพของชาวบาบิโลน
ที่มา : http://3.bp.blogspot.com/-KYr4axpBL6c/Us_PO5clZLI/AAAAAAAAARE/Lm7xtUtLzoQ/s1600/197712.jpg

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
- แบบจำลองเอกภพของกรีกชาวกรีก
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
ชาวกรีกได้ประยุกต์ความรู้ทางคณิตศาสตร์ในเรื่องจำนวนและเรขาคณิตในการพัฒนา แบบจำลองเอกภพ “อริส โตเติล” เป็นชาวกรีกคนแรกที่พบว่า โลกมีลักษณะเป็นทรงกลม นอกจากนี้ “อริส ตาร์คัส” เป็นบุคคลแรกที่ระบุว่า โลกโคจรรอบดวงอาทิตย์เป็นจุดศูนย์กลาง และโลกจะโคจรครบรอบ 1 ปี ในเวลา 1 ปี ทำให้แบบจำลองของชาวกรีกมีลักษณะที่อธิบายได้ทางเรขาคณิต

ARISTOTLE (384 – 325 ปี ก่อนคริสตศักราช)

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่

ภาพที่ 64 แบบจำลองเอกภพของอลิสโตเติล
ที่มา : http://www.physicsoftheuniverse.com/cosmological.htm

ARICTARCHUS (310–230ปี ก่อนคริสต์ศักราช)

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่

ภาพที่ 65 แบบจำลองเอกภพของอลิคทาคัท
ที่มา : http://www.atnf.csiro.au/outreach/education/senior/cosmicengine/classicalastronomy.html

C.PTOLEME ( คริสต์ศักราช 300)

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่

ภาพที่ 66 แบบจำลองเอกภพของโทเลมี
ที่มา : https://castinet.castilleja.org/users/pmckee/scientific.awakening/sci-awake2.html

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
- แบบจำลองเอกภพของเคพเลอร์
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
ไทโค บราเฮ (Tycho Brahe, ค.ศ.1546 – ค.ศ.1601) นักดาราศาสตร์ชาวฮอลแลนด์ได้ทำ การสังเกตการเคลื่อนที่ของดาวเคราะห์ต่างๆและจดบันทึกตำแหน่งอย่างละเอียดทุกวันเป็นเวลานับสิบปี   ผลจากการสังเกตของเขานี้ทำให้เขาไม่เชื่อในคำอธิบายการโคจรของดาวเคราะห์ต่างๆรอบดวงอาทิตย์ของโคเปอร์นิคัสที่ว่า ดาวเคราะห์ต่างๆเคลื่อนที่รอบๆดวงอาทิตย์ เป็นรูปวงกลมสมบูรณ์แบบ แต่ผลงานการสังเกตการณ์และสรุปผลนี้ยังไม่เป็นผลสำเร็จเขาก็ได้มาเสียชีวิตไปเสียก่อน แต่อย่างไรก็ตามเขาได้มอบบันทึกของการสังเกตนี้ให้แก่ผู้ช่วยของเขาซึ่งเป็นชาวเยอรมัน คือ โจฮันเนส เคพเลอร์ (Johannes Kepler) ดังนั้นจึงทำให้เคพเลอร์ได้ทำการสังเกตการณ์เพิ่มเติมแล้วจึงได้ตั้งแบบจำลองเอกภพที่ได้อธิบาย                 การเคลื่อนที่ของดาวเคราะห์ต่างๆเอาไว้ว่า ดวงอาทิตย์ยังคงเป็นจุดศูนย์กลางการเคลื่อนที่ของระบบโดยที่ดาวฤกษ์ต่างๆจะอยู่ในตำแหน่งประจำที่ ส่วนดาวเคราะห์ต่างๆจะโคจรรอบดวงอาทิตย์เป็นรูปวงรีไม่ใช่      วงโคจรรูปวงกลมสมบูรณ์แบบดังที่แสดงอยู่ในแบบจำลองของโคเปอร์นิคัส และดวงอาทิตย์จะตั้งอยู่ที่             จุดโฟกัสจุดหนึ่งของวงโคจรรูปวงรีนั้น

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่

ภาพที่ 67 แบบจำลองเอกภพของเคพเลอร์
ที่มา : http://www.keplerlatinoamerica.com/

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
กฎของเคปเลอร์
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
กฎข้อที่ 1:  ดาวเคราะห์โคจรรอบดวงอาทิตย์เป็นวงรี โดยมีดวงอาทิตย์อยู่ที่โฟกัสจุดหนึ่ง
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
กฎข้อที่ 2:  
เวลาที่ดาวเคราะห์ใช้โคจรรอบดวงอาทิตย์ คาบเวลาเท่ากันจะกวาดได้พื้นที่เท่ากัน 
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
กฎข้อที่ 3:  กำลังสองของคาบวงโคจรรอบดวงอาทิตย์ แปรผันตามกำลังสามของระยะห่างจากดวงอาทิตย์ (p2/a3 = k, k เป็นค่าคงที่) 

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
- แบบจำลองเอกภพของกาลิเลโอ
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
กาลิเลโอเป็นชาวอิตาลี เป็นคนแรกที่ได้ใช้กล้องโทรทัศน์ เพื่อการสังเกตการณ์ทางดาราศาสตร์ แบบจำลองของกาลิเลโอเชื่อว่า ดวงอาทิตย์เป็นศูนย์กลางของระบบสุริยะ โดยมี            ดาวเคราะห์ต่างๆ เคลื่อนที่รอบดวงอาทิตย์เป็นวงกลม แบบจำลองของเขาเป็นแบบจำลองที่มีขนาดไม่จำกัด ซึ่งเชื่อว่ายังมีวัตถุอื่นที่อยู่ไกลกว่าดาวเสาร์ ต่อมา “เซอร์ ไอแซก นิวตัน” ค้นพบว่า ลักษณะการโคจรของดาวเคราะห์เกิดจากผลของแรงโน้ม ทำให้ปัจจุบันนักดาราศาสตร์ยอมรับ                      กฎการเคลื่อนที่ดาวเคราะห์ 3 ข้อ ของเคปเลอร์

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
กำเนิดเอกภพเริ่มนับจากจุดที่เรียกว่า บิกแบง (Big Bang)
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
ซึ่งเป็นทฤษฎีที่อธิบายการระเบิดใหญ่ที่ทำให้พลังงาน   ส่วนหนึ่งเปลี่ยน  เป็นสสาร   มีวิวัฒนาการต่อเนื่องจนเกิดเป็นกาแล็กซี    เนบิวลา ดาวฤกษ์     ระบบสุริยะ
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
โลก ดวงจันทร์ มนุษย์ และสิ่งมีชีวิตต่าง ๆ

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่

ภาพที่ 68 ทฤษฎีบิกแบง (Big Bang)
ที่มา : https://sites.google.com/site/megaistoriakosmogenez/bolsoj-vzryv

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
นักวิทยาศาสตร์ได้สร้างแบบจำลองอายุของเอกภพในแต่ละขั้นตอน อธิบายตามภาพที่ 68 ได้ดังนี้

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
10-43 วินาที เอกภพมีอุณหภูมิสูงถึง 1032 K จึงยังไม่มีอนุภาคใดๆ เกิดขึ้น
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
10-10 วินาที อุณหภูมิลดลงเหลือ 1032 K กำเนิดอนุภาคขนาดเล็ก
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
1 วินาที อุณหภูมิ 1010 K กำเนิดโปรตรอนและอิเล็กตรอน
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
3 นาที อุณหภูมิ 109 K โปรตรอนและนิวตรอนรวมกันเป็นนิวเคลียส
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
300,000 ปี อุณหภูมิลดลงเหลือ 6,000 K กำเนิดอะตอม
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
1,000 ล้านปี อุณหภูมิลดลงเหลือ 18 K อะตอมรวมตัวเป็นโมเลกุล กำเนิดกาแล็กซีและ   ดาวฤกษ์
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
13,000 ล้านปี อุณหภูมิลดลงเหลือ 3 K เอกภพในสภาพปัจจุบัน

หลักฐานที่สนับสนุนทฤษฎีบิกแบง

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
1. การขยายตัวของเอกภพ
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
ในปีค.ศ.1920 เอ็นวิน พีฮับเบิล นักดาราศาสตร์ชามอเมริกัน ได้ตีพิมพ์รายงานการค้นพบเรื่อง แสงสเปกตรัมของกาแล็กซี่ที่อยู่ไกลออกไปว่า ลำแสงเปลียนความถี่ หมายความว่า ความถี่ของแสง จากกาแล็กซีที่อยู่ไกลออกไปเปลี่ยนเป็นคลื่อน มีความยาวคลื่นมากยิ่งขึ้น จากการวัดความยาวคลื่น               ที่เปลี่ยนแปลงไปแสดงให้เห็นว่า กาแล็กซีกำลังเคลื่อนตัวออกไปจากกาแล็กซีทางช้างเผือก
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
ด้วยความเร็วเป็นสัดส่วนกัยระยะทางที่อยู่ไกลออกไป คือ ความเร็วของการเคลื่อนตัวออกไปเท่ากับ ระยะทางหารด้วยปริมาณเวลา เป็นอย่างเดียวกันหมดทุกกาแล็กซี กฏนี้เรียกว่า กฏของฮับเบิล และ T ซึ่งเป็นมิติของเวลาเรียกว่า “เวลาฮับเบิล” หากกฏนี้ใช้ได้กับทุกกาแล็กซี ก็หมายความว่า กาแล็กซีทั้งหมดที่มี อยู่ใน เอกภพ จะอยู่ในตำแหน่งเดียวกันหมดเมื่อเวลาผ่านไปหลายปีมาเเล้ว

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่

ภาพที่ 69 ปรากฏการณ์ดอปเปลอร์
ที่มา : http://suphansanumnansripang.blogspot.com/p/5.html

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
นักดาราศาสตร์ศึกษาการขยายตัวของเอกภพโดยใช้ปรากฏการด็อปเปลอร์เป็นเครื่องมือ (Doppler Effect) เมื่อกาแล็กซีเคลื่อนที่ออกจากโลก รังสีที่กาแล็กซีแผ่ออกมาจะมีความยาวคลื่นมากกว่าความเป็นจริง ซึ่งเรียกว่า "การเลื่อนทางแดง" (Redshift)   การขยายตัวของเอกภพทำให้เกิดการเลื่อนทางแดงของกาแล็กซี กาแล็กซียิ่งอยู่ไกลก็ยิ่งมีค่าการเลื่อนทางแดงสูง เราสามารถคำนวณหาค่าการเลื่อนทางแดงได้โดยใช้สูตรต่อไปนี้

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
   = ความเร็วในการถอยห่างของกาแล็กซี
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
H0   = ค่าคงที่ของฮับเบิล
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
       
= 71 km/s/Mpc (กิโลเมตร/วินาที/พันพาร์เซก)
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
d    = ระยะทางจากโลกถึงกาแล็กซี

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
2. อุณหภูมิพื้นหลังของเอกภพปัจจุบันลดลงเหลือ 2.73 เควิล
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
มีการตรวจพบคลื่นรังสีความร้อนระดับไมโครเวฟ อุณหภูมิประมาณ 3 เคลวิน กระจายอยู่ทั่วไปในจักรวาลอย่างสม่ำเสมอ โดยนักวิทยาศาสตร์สองคน คือ โรเบิร์ต วิลสัน (Robert Wilson) และ อาร์โน                 เพนเซียส ( Arno Penzius ) เมื่อปี ค.ศ. 1965 ซึ่งทำให้จักรวาลมีสภาพคล้ายจมอยู่ในทะเลพลังงานความร้อนคลื่นรังสีความร้อนที่กระจายอยู่ทั่วไปในจักรวาลนี้ สอดคล้องรับกับทฤษฎีกำเนิดจักรวาลจากการระเบิดครั้งยิ่งใหญ่ได้อย่างดีว่า เป็นพลังงานของการระเบิดที่ยังหลงเหลืออยู่ถึงปัจจุบัน เพราะเมื่อคำนวณจากขนาดของพลังงานความร้อนที่เหลืออยู่ในปัจจุบัน ย้อนหลังไปสู่จุดกำเนิดที่มา ก็จะลงตัวได้อย่างค่อนข้างดี จนกระทั่งคลื่นรังสีความร้อนประมาณ 3 เคลวินนี้ ถูกเปรียบเทียบเรียกเป็น เสียงจากการระเบิดครั้งยิ่งใหญ่ที่ยังเหลืออยู่ให้ได้ยินกันในปัจจุบัน

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่

ภาพที่ 70 อุณหภูมิพื้นหลังของเอกภพ
ที่มา : https://www.nasa.gov/multimedia/imagegallery/image_fearture_1521.html

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
กาแล็กซี่ หรือดาราจักร คือ ระบบของดาวฤกษ์จำนวนนับแสนล้านดวง อยู่รวมกันด้วยแรงโน้มถ่วงระหว่างดวงดาวกับ หลุมดำ
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
ที่มีมวลมหาศาล ซึ่งอยู่ ณ ศูนย์กลางของกาแล็กซี่ โดยมีเนบิวลาซึ่งเป็นกลุ่มแก๊สและฝุ่นละอองที่เกาะกลุ่มอยู่ในที่ว่างบางแห่งระหว่างดาวฤกษ์

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
กาแล็กซีมีรูปทรงแตกต่างกันหลายประเภท ซึ่งสามารถแบ่งเป็นประเภทใหญ่ๆ ได้ 2 ประเภทคือ กาแล็กซีปกติ (Regular galaxy) ที่มีสัณฐานรูปทรงชัดเจนสามารถแบ่งได้ตามแผนภาพส้อมเสียง (Hubble Turning Fork) และกาแล็กซีไม่มีรูปแบบ (Irregular Galaxy) ที่ไม่มีรูปทรงสัณฐานชัดเลย เช่น เมฆแมก          เจลแลนใหญ่ เมฆแมกเจลแลนเล็ก ซึ่งเป็นกาแล็กซีบริวารของทางช้างเผือก

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่

ภาพที่ 71 รูปแบบกาแลกซี่
ที่มา : http://www.lesa.biz/astronomy/galaxy/galaxies

กาแล็กซีปกติ (Regular galaxy)
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
- กาแล็กซีรูปเกลียวหรือกาแล็กซีแบบกังหัน (
Spiral Galaxies ) 
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
กาแล็กซี่ชนิดนี้จะมีรูปร่างลักษณะกลมแบนมีส่วนที่คล้ายแขนยืดออกมา ซึ่งดูแล้วจะมีลักษณะคล้ายกังหันที่กำลังหมุน  ภายในเต็มไปด้วยมวลสสารของดวงดาว และประกอบไปด้วยกระจุกดาวจำนวนมาก ดวงดาวที่มีอายุน้อยมักจะพบมากบริเวณ แขนของกาแล็กซี่แบบกังหัน ส่วนกลุ่มดาวเก่าแก่มักมีกระจุกดาวแบบทรงกลมอยู่ในบริเวณกระเปาะ ของกาแล็กซี่

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่

ภาพที่ 72 กาแล็กซีรูปเกลียวหรือกาแล็กซีแบบกังหัน ( Spiral Galaxies )
ที่มา : http://www.spacedaily.com/reports/Galex_Celebrates_Four_Years_In_Space_999.html

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
- กาแล็กซีรูปกลมรี   (
Elliptical Galaxies )
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
มีทั้งรูปร่างกลมและรี กาแล็กซี่แบบนี้มักจะประกอบไปด้วยดาวที่มีอายุมาก        บางดวงใกล้จะใกล้จะดับ ศูนย์กลางของกาแล็กซี่จะเคลื่อนที่ช้าๆ แทบจะสังเกตไม่ออกว่ามันกำลังเคลื่อนที่อยู่  รูปร่างของมันมีตั้งแต่กลมไปจนถึงรี โดยรูปร่างจะมีความสัมพันธ์กับการหมุนของมันหากหมุนช้าก็จะมีรูปร่างค่อน ข้างกลม แต่หากหมุนเร็วก็จะมีรูปร่างค่อนข้างรี

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่

ภาพที่ 73 กาแล็กซีรูปกลมรี
ที่มา : http://suphansanumnansripang.blogspot.com/p/5.html

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
- กาแล็กซีคานรูปเกลียว(
Barred Spiral  Galaxies  )
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
ลักษณะคล้ายกาแล็กซี่แบบกังหัน แต่ตรงกลางเป็นกระเปาะกลมมีแขนที่ยื่นออกมาในแนวขวางพาดผ่านกาแล็กซี่ซึ่งดูคล้ายกับคาน

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่

ภาพที่ 74 กาแล็กซีคานรูปเกลียว
ที่มา : http://gallsource.com/space-wallpaper/universo-web-recursos-de-internet-del-el-espacio-pc-wallpaper

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
ทางช้างเผือก (Milky Way)
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
กาแลกซีของเราชื่อ “ทางช้างเผือก” (The Milky Way Galaxy) ที่มีชื่อเช่นนี้เป็นเพราะ  คนไทยถือว่ากษัตริย์เป็นเทวดาซึ่งอวตารมาจากสรวงสวรรค์​ ช้างเผือกเป็นสัตว์คู่บุญบารมี              ของกษัตริย์ทางช้างเผือกจึงปรากฎอยู่บนท้องฟ้าซึ่งเป็นที่อยู่ของเทวดาและนางฟ้า
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
กาแล็กซีทางช้างเผือก เป็นกาแล็กซีแบบกังหัน มีดาวฤกษ์ประมาณแสนล้านดวง มีมวลรวมประมาณ 9 หมื่นล้านเท่าของมวลดวงอาทิตย์ แบ่งเป็น 3 ส่วน ดังนี้

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่

ภาพที่ 75 ทางช้างเผือก (Milky Way)
ที่มา : http://aomaamkim.wixsite.com/universe/about1-c1rks

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
- จาน (Disk) ประกอบด้วยแขนของกาแล็กซี มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 100,000 ปีแสง องค์ประกอบหลักเป็นฝุ่น แก๊ส และประชากรดาวประเภทหนึ่ง (Population I) ซึ่งมีสเปคตรัมของโลหะอยู่มาก
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
- ส่วนโป่ง (
Bulge) คือบริเวณใจกลางของกาแล็กซี มีขนาดประมาณ 6,000 ปีแสง               มีฝุ่นและแก๊สเพียงเล็กน้อย องค์ประกอบหลักเป็นประชากรดาวประเภทหนึ่งที่เก่าแก่ และประชากรดาวประเภทสอง (Population II) ซึ่งเป็นดาวเก่าแก่แต่มีโลหะเพียงเล็กน้อย
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
- เฮโล (
Halo) อยู่ล้อมรอบส่วนโป่งของกาแล็กซี มีองค์ประกอบหลักเป็น “กระจุกดาวทรงกลม” (Global Cluster) อยู่เป็นจำนวนมาก กระจุกดาวทรงกลมแต่ละกระจุกประกอบด้วยดาวฤกษ์นับล้านดวง ซึ่งล้วนเป็นประชากรดาวประเภทสองซึ่งมีอายุมาก นักดาราศาสตร์สันนิษฐานว่า กระจุกดาวทรงกลมเป็นโครงสร้างเก่าแก่ของกาแล็กซี โคจรขึ้นลงผ่านส่วนโป่งของกาแล็กซี

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
กาแล็กซีคล้ายเลนซ์ ( Lenticular Galaxies )
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
เป็นกาแล็กซีที่ไม่มีลักษณะก้ำกึ่งระหว่างกาแล็กซีรีและกาแล็กซีกังหัน กล่าวคือ ส่วนโป่งขนาดใหญ่และไม่มีแขนกังหัน

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่

ภาพที่ 76 กาแล็กซีคล้ายเลนซ์
ที่มา : http://patyot34850.wixsite.com/test1/4

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
กาแล็กซีไร้รูปร่าง  (
Irregular Galaxies )
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
เป็นกาแล็กซี่ที่มีรูปร่างแตกต่างกับกาแล็กซี่ในชนิดอื่นๆ ไม่มีรูปร่างที่แน่ชัด

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่

ภาพที่ 77 กาแล็กซีไร้รูปร่าง
ที่มา : https://www.mrao.cam.ac.uk/~pa/galaxy_evolution/science_ISM.html

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
เมฆแมกเจนแลนใหญ่
 (Large Magellenic Cloud)
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
เมฆแมกเจลแลนใหญ่มีขนาดประมาณ 17,000 ปีแสง อยู่ห่างจากกาแล็กซีทางช้างเผือก 160,000 ปีแสง

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่

ภาพที่ 78 เมฆแมกเจนแลนใหญ่
ที่มา : https://pics-about-space.com/large-magellanic-cloud-galaxy?p=2#img15729550264436086085

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
เมฆแมกเจนแลนเล็ก
 (Small Magellenic Cloud)
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
เมฆแมกเจลแลนเล็กมีขนาดประมาณ 7,500 ปีแสง อยู่ห่างจากกาแล็กซีทางช้างเผือก 200,000 ปีแสง

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่

ภาพที่ 79 เมฆแมกเจนแลนเล็ก
ที่มา : http://earthsky.org/clusters-nebulae-galaxies/the-small-magellanic-cloud

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
กาแล็กซีแอนโดรมีดา (
M31 Andromeda Galaxy)
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
มีขนาดใหญ่กว่ากาแล็กซีทางช้างเผือกเล็กน้อย   ซึ่งอยู่ห่างออกไป 2.9 ล้านปีแสง  สามารถมองเห็น ได้ด้วยตาเปล่า

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่

ภาพที่ 80 กาแล็กซีแอนโดรมีดา
ที่มา : http://nicktron.com/index.php/90-games/133-mtg

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
ดาวฤกษ์ คือ ก้อนแก๊สร้อนขนาดใหญ่มีองค์ประกอบส่วนใหญ่ประมาณ 99% เป็นธาตุไฮโดรเจน รองลงมาคือฮีเลียมรวมตัวอยู่ในสภาวะสมดุลระหว่างแรงโน้มถ่วงที่มีทิศทางเข้าสู่ศูนย์กลางกับแรงดันของแก๊สในทิศทางตรงกันข้าม

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
-ขั้นแรกของการเกิดดาวฤกษ์ คือ แรงโน้มถ่วงของเมฆฝุ่น และกลุ่มแก๊สขนาดใหญ่ที่เรียกว่า “เนบิวลา”
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
  ได้หดยุบตัวลง ขณะที่ยุบตัวลงเป็นก้อนกลม โมเลกุลของแก๊สเข้าใกล้กันมากขึ้น เคลื่อนตัวด้วยความเร็วสูง 
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
-ก้อนแก๊สกลายเป็นดาวที่ยังไม่คลอด หรือที่เรียกว่า “Protostar” จนกระทั่งอุณหภูมิสูงขึ้นเป็น             15 ล้านองศาเซียลเซียส จึงเกิดปฏิกิริยาเทอร์โมนิวเคลียร์ได้พลังงานมหาศาลออกมา เป็นการสร้างพลังงานของดาวฤกษ์ ทำให้ดาวเปล่งแสงคลอดออกมาเป็นดาวฤกษ์เกิดใหม่
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
-วิวัฒนาการของดาวฤกษ์ ขึ้นอยู่กับมวลว่ามีมากแค่ไหน “จุดจบของดาวฤกษ์จะช้าหรือเร็ว ขึ้นอยู่กับมวลสารของดาวฤกษ์นั้น”
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
-ในดาวฤกษ์ทุกดวง จะมีความสมดุลกันระหว่างแรงโน้มถ่วงที่พยายามทำให้ดาวแตกสลายและยุบตัวลงเข้าสู่ใจกลางของตัวเอง กับผลของความร้อนที่พยายามจะทำให้มันแยกเป็นเสี่ยงๆ ความสมดุลนี้จะอยู่ได้นานตราบเท่าที่มีไฮโดรเจนเหลืออยู่ เมื่อขาดเชื้อเพลิงความสมดุลจะหมดไปและดาวก็จะเริ่มดับลง แรงโน้มถ่วงจะเริ่มมีพลังเหนือ

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่

ภาพที่ 81 วิวัฒนาการของดาวฤกษ์
ที่มา : http://universe37421space.blogspot.com/2016/02/blog-post_17.html

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
การสิ้นอายุขัยของดาวฤกษ์มวลน้อย
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
ดาวฤกษ์ที่มีมวลน้อย จะมีขนาดเล็ก เช่น ดวงอาทิตย์ มีแสงสว่างไม่มากจะใช้เชื้อเพลิงในอัตรา        ที่น้อย จึงมีช่วงชีวิตยาว จะถึงจุดจบเมื่อเชื้อเพลิงของมันหมดลง ก่อนอื่นมันจะพ่นควันไฟออกมาจนกลายเป็น ดาวยักษ์สีแดง (Red Giant) จากนั้นก็กลืนดาวพุธและดาวศุกร์เข้าไปแล้วระเบิดส่วนเปลือกนอกออกสู่อวกาศแล้วยุบตัวลงเป็นวัตถุขนาดเล็กที่เรียกว่า ดาวแคระขาว (White Dwarf) ในที่สุดสีของมันจะจางลงและกลายเป็น ดาวแคระดำ (Black Dwarf) ในที่สุด

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
การสิ้นอายุขัยของดาวฤกษ์มวลปานกลาง
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
ดาวฤกษ์ระดับปานกลาง (มวลมากกว่า 2 เท่า แต่น้อยกว่า 8 เท่าของมวลดวงอาทิตย์) จะมีจุดจบใน
ลักษณะเดียวกับมวลน้อย คือ จบชีวิตลงอย่างสงบและกลายเป็นดาวแคระขาวที่ห้อมล้อมไปด้วยเนบิวลา   ดาวเคราะห์ สิ่งที่แตกต่างเป็นเพียงผลเนื่องมาจากมวลที่มากกว่าเท่านั้น คือ
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
(1) กิจกรรมในทุกช่วงของชีวิตและทุกขั้นตอนของการสิ้นอายุขัยจะดำเนินไปอย่างรวดเร็วกว่าดาวมวลน้อยอย่างมาก
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
(2) มวลที่มากขึ้นส่งผลให้ความร้อนและความดันที่แกนกลางมากขึ้นไปด้วย ดาวฤกษ์มวลปานกลางจึงมีมวลพอที่จะกดดันให้แกนกลางมีอุณหภูมิ 600 ล้านเคลวิน เพียงพอสำหรับจุด    ฟิวชันหลอมรวมคาร์บอนให้เป็นออกซิเจนและนีออนได้

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
การสิ้นอายุขัยของดาวฤกษ์มวลมาก
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
ดาวฤกษ์ที่มีขนาดใหญ่ มีมวลมาก สว่างมากจะใช้เชื้อเพลิงอย่างสิ้นเปลืองในอัตราที่สูงมาก                         จึงมีช่วงชีวิตที่สั้นกว่า ดาวฤกษ์ที่มีขนาดใหญ่กว่าจะขยายตัวกลายเป็นดาวยักษ์สีแดง เมื่อเชื้อเพลิงหมดใจกลางของมันจะยุบลงส่วนเปลือกนอกจะระเบิดออกกลายเป็น ซุปเปอร์โนวา (Supernova) ซึ่งจะปล่อยพลังงานอย่างมากมายมหาศาล

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
ดวงอาทิตย์เป็นดาวฤกษ์ที่มีมวลน้อยถึงปานกลางและอยู่ใกล้โลกที่สุดจึงเป็นดาวฤกษ์                           ที่นักดาราศาสตร์ศึกษามากที่สุด ดวงอาทิตย์เกิด จากการยุบรวมตัวของเนบิวลาเมื่อประมาณ 5,000 ล้านปีมาแล้ว

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่

ภาพที่ 82 ดวงอาทิตย์
ที่มา : http://www.inmeteo.net/blog/astronomia/

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
การยุบตัวของเนบิวลา เกิดจากแรงโน้มถ่วงของเนบิวลาเอง เมื่อแก๊สยุบตัวลง ความดันของแก๊ส     จะสูงขึ้น ผลที่ตามมาคือ อุณหภูมิของแก๊สจะสูงขึ้น กลายเป็นProtosun

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่

ภาพที่ 83 https://www.linkedin.com/pulse/introduction-black-holes-no-nonsense-usman-kayani

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
เมื่อแรงโน้มถ่วงดึงให้แก๊สยุบตัวลงไปอีก ความดัน ณ แก่นกลางสูงขึ้น และอุณหภูมิก็สูงขึ้นเป็น    15 ล้านเคลวิน เป็นอุณหภูมิสูงมากพอที่จะเกิดปฏิกิริยาเทอร์โมนิวเคลียร์ (thermonuclear reaction)

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
พลังงานของดวงอาทิตย์เกิดที่แก่นกลาง ซึ่งเป็นชั้นในที่สุดของดวงอาทิตย์ เป็นบริเวณที่มีอุณหภูมิและความดันสูงมากทำให้เกิดปฏิกิริยาเทอร์โมนิวเคลียร์ ที่แก่นกลาง ของดวงอาทิตย์ นักวิทยาศาสตร์คาดคะเนว่า ในอนาคตเมื่อธาตุไฮโดรเจนที่ใช้เป็นเชื้อเพลิงเหลือน้อย แรงโน้มถ่วงเนื่องจากมวลของดาวฤกษ์สูงกว่าแรงดัน ทำให้ดาวยุบตัวลง ส่งผลให้แก่นกลางของดาวฤกษ์มีอุณหภูมิสูงขึ้นมากกว่าเดิมเป็น     100 ล้านเคลวิน ขณะเดียวกันไฮโดรเจนที่อยู่รอบนอกแกนฮีเลียม จะมีอุณหภูมิสูงขึ้นตามไปด้วย เมื่ออุณหภูมิสูงถึง 15 ล้านเคลวิน จะเกิดปฏิกิริยาเทอร์โมนิวเคลียร์หลอมไฮโดรเจนเป็นฮีเลียมครั้งใหม่ ผลก็คือ ได้พลังงานออกมาอย่างมหาศาล ทำให้ดวงอาทิตย์มีขนาดใหญ่ขึ้นเป็น 100 เท่า ของขนาดปัจจุบัน เมื่อผิวด้านนอกขยายตัว อุณหภูมิผิวจะลดลง สีจะเปลี่ยนจากเหลืองเป็นแดง ดวงอาทิตย์จึงกลายเป็นดาวฤกษ์สีแดงขนาดใหญ่มาก เรียกว่า ดาวยักษ์แดง (redgiant)

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่

ภาพที่ 84 ดาวยักษ์แดง (redgiant)
ที่มา : https://pics-about-space.com/what-would-look-like-a-red-giant?p=1#img12221107940613993565

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
ดาวฤกษ์ที่เรามองเห็นด้วยตาเปล่าเป็นรูปกลุ่มดาว อยู่ห่างจากโลกประมาณ 4 - 1500 ปีแสง นักดาราศาสตร์ทำการศึกษาดาวฤกษ์ได้โดยการวิเคราะห์คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่ดาวแผ่ออกมา เพื่อให้ได้ทราบสมบัติ ดังนี้
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
- ระยะห่างของดาว
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
- โชติมาตร
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
- กำลังส่องสว่าง
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
- สเปกตรัม
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
- องค์ประกอบทางเคมี
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
- ทิศทางการเคลื่อนที่และความเร็วเชิงเรเดียน
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
- อุณหภูมิ
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
- รัศมีของดาว
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
- มวลของดาว

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
แพรัลแลกซ์ (Parallax) เป็นการวัดระยะห่างระหว่างดวงอาทิตย์กับดาวฤกษ์โดยใช้หลักการของ สามเหลี่ยมคล้าย โดยกำหนดให้รัศมีวงโคจรโลก รอบดวงอาทิตย์เท่ากับ 1 หน่วยดาราศาสตร์ หรือ  1 astronomy unit (AU)

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่

ภาพที่ 85 แพรัลแลกซ์
ที่มา : http://www.lesa.biz/astronomy/star-properties/parallax

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
สูตร การหาระยะทางด้วยมุมแพรัลแลกซ์

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
d =  ระยะทางถึงดวงดาว (distance) หน่วยเป็นพาร์เสค (pc) 
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
p
=  มุมแพรัลแลกซ์ (parallax angle) หน่วยเป็นฟิลิบดา (arc second)
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
โดยที่ 1 องศา = 60 ลิบดา (arc minute), 1 ลิบดา = 60 ฟิลิบดา (arc second)

ตัวอย่างที่ 3.1 ดาวหัวใจสิงห์ (Regulus) ในกลุ่มดาวสิงโต มีมุมแพรัลแลกซ์ 0.04 ฟิลิบดา  มีระยะทางห่างจากโลกเท่าไร

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
วิธีคิด
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
d  = 1/p = 1/(0.04) ฟิลิบดา     
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
    = 25 พาร์เซก
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
    = 25 x 3.26 = 81.5 ปีแสง

ตัวอย่างที่ 3.2 ดาวโจรเป็นดาวฤกษ์ที่สว่างที่สุดบนท้องฟ้าห่างจากโลก 2.6 พาร์เซก เมื่อนักดาราศาสตร์ถ่ายภาพห่างกัน 6 เดือน ภาพของดาวดวงนี้จะขยับไปจากเดิมเมื่อเทียบกับดาวที่อยู่ด้านหลังเป็นมุมเท่าใด

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
วิธีคิด

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
2.6 pc = 1/
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
  = 1/2.6 = 0.38
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
2
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
= 0. 76 หรือ ประมาณ 0.77

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
เป็นพลังงานที่ดาวฤกษ์ปลดปล่อยออกมาต่อหน่วยเวลา มีหน่วยเป็นวัตต์/ตารางเมตร แต่เนื่องจากดวงตาของมนุษย์ไม่มีความละเอียดพอที่จะจำแนกพลังงานในระดับนี้ได้ นักดาราศาสตร์จึงกำหนดค่าเปรียบเทียบอันดับความสว่างของดาวซึ่งเรียกว่า "โชติมาตร" (Magnitude) เมื่อเรากล่าวถึงโชติมาตรโดยทั่วไปเราหมายถึง  "โชติมาตรปรากฏ" (Apparent magnitude) ซึ่งหมายถึงการจัดอันดับความสว่างของดาวบนท้องฟ้าซึ่งมองเห็นจากโลก

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่

ภาพที่ 86 ค่าโชติมาตรปรากฏ

ความสัมพันธ์ระหว่างโชติมาตรปรากฎ และความสว่างปรากฏ

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
นักดาราศาสตร์กำหนดให้ ดาวโชติมาตร 1 สว่างเป็น 100 เท่า ของดาวโชติมาตร 6  ดังนั้นความสว่างของแต่ละโชติมาตรจะแตกต่างกัน 2.512 เท่า  ทั้งนี้สามารถคำนวณความแตกต่างระหว่างโชติมาตร โดยใช้สูตรเปรียบเทียบความส่องสว่างดังนี้

m2 – m1  = 2.5 log (b1/b2)

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
โดยที่    m1, m2   = โชติมาตรปรากฏของดาวดวงที่ 1  และดวงที่ 2 
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
b1, b2     = อัตราส่วนของความสว่างปรากฏความสว่างปรากฏของดาวดวงที่ 1 และดวงที่ 2

ตัวอย่างที่ 3.3  ดาวศุกร์เป็นดาวเคราะห์ที่สว่างที่สุดบนท้องฟ้ามีโชติมาตร -4 ขณะที่ดาวที่สว่างน้อยที่สุด      ที่มองเห็นได้ด้วยตาเปล่ามีโชติมาตร 6 ดาวทั้งสองมีความสว่างต่างกันเท่าไหร่

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่

ภาพที่ 87 ความสัมพันธ์ระหว่างโชติมาตรปรากฎ และความสว่างปรากฏ

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
เราเรียกค่าความแตกต่างระหว่างโชติมาตรปรากฏและโชติมาตรสัมบูรณ์ (m - M) ว่า Distance modulus ถ้าเราทราบโชติมาตรปรากฏ และระยะทางของดาว เราก็จะทราบโชติมาตรสัมบูรณ์

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
โดยที่
                m = โชติมาตรปรากฏ
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
M = โชติมาตรสัมบูรณ์
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
(m-M) = Distance modulus หาได้จากระยะทางของดาว (d)

ตัวอย่างที่ 3.4 ดาวหัวใจสิงห์ (Regulus) อยู่ห่างจากโลก 25 พาร์เซก มีโชติมาตรปรากฏ 1.36 จะมีโชติมาตรสัมบูรณ์เท่าใด

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
     m – M  = 5 log d – 5 
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
1.36 – M  = 5 (log 25) – 5  
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
   
= 5 (1.4) – 5 
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
   
= 2
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
M = 1.36 – 2 = - 0.64

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่

ภาพที่ 88 ความสัมพันธ์ระหว่างแมกนิจูดปรากฎ ความสว่างสัมบูรณ์ และระยะทาง

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่

ตัวอย่างที่ 3.5 ดาวฮาดาร์ (Beta Centauri) ในกลุ่มดาวคนครึ่งสัตว์ อยู่ห่างจากโลก  100 พาร์เซก มีโชติมาตรปรากฏ 0.6  จะมีโชติมาตรสัมบูรณ์เท่าใด

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
จากภาพที่ 88 ระยะทาง d = 100 พาร์เซค, m - M = 5                           
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
    0.6 - M = 5 
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
ดังนั้น M = -5 + 0.6
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
          โชติมาตรสัมบูรณ์ = -4.6

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
กำลังส่องสว่าง (Luminosity)  หมายถึง พลังงานที่ดาวฤกษ์ปลดปล่อยออกมา/หน่วยเวลา ซึ่งเป็นสมบัติเฉพาะตัวของดาวแต่ละดวง ไม่ขึ้นอยู่กับระยะห่างของผู้สังเกตการณ์

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่

ภาพที่ 89 กำลังส่องสว่าง (Luminosity)
ที่มา : http://www.universeadventure.org/fundamentals/light-magnitude.htm

การคำนวณหากำลังส่องสว่าง  จาก ระยะห่าง และความสว่างปรากฏ

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
โดยที่  
b = ความสว่างปรากฏของดาว (Apparent Brightness)                 
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
มีหน่วยเป็น วัตต์/ตารางเมตร
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
L = กำลังส่องสว่างของดาว (Luminosity) มีหน่วยเป็น วัตต์
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
d = ระยะทางถึงดาว (distance) มีหน่วยเป็น เมตร

ตัวอย่างที่ 3.6 ดวงอาทิตย์อยู่ห่างจากโลก 1 au หรือ 149,600,000 km  ความสว่างปรากฏของดวงอาทิตย์มีค่าเท่ากับ               1,370 W/m2  จงคำนวณหาว่า ดวงอาทิตย์จะมีกำลังส่องสว่างกี่วัตต์

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
L =  4
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
d2 b
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
L = 4
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
(1.496 × 1011m)2 (1370 W/m2)
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
L = 3.9 × 1026 วัตต์

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
นอกจากนั้นเรายังคำนวณหาระยะทางของดาวฤกษ์ โดยการนำค่ากำลังส่องสว่าง (L) ระยะทาง (d) และความสว่างปรากฏของดาว (b) มาเปรียบเทียบกับดวงอาทิตย์ ตามสูตร

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
โดยที่
    L/LSun    =  อัตราส่วนกำลังส่องสว่างของดาว เปรียบเทียบกับดวงอาทิตย์
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
d/dSun     =  อัตราส่วนระยะทางของดาว เปรียบเทียบกับดวงอาทิตย์
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
b/bSun     =  อัตราส่วนความสว่างของดาว เปรียบเทียบกับดวงอาทิตย์

ตัวอย่างที่ 3.7 ดาวหัวใจสิงห์ (Regulus) มีกำลังส่องสว่าง 140 เท่าของดวงอาทิตย์   ความสว่างปรากฏ              5.2 x 10-12  เท่าของดวงอาทิตย์ มีระยะห่างจากโลกเท่าไร

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
ทั้งนี้ ระยะทางมีหน่วยเป็น au เนื่องจากค่า d/dSun ที่ได้เป็นการเปรียบเทียบกับ ระยะทางระหว่างโลกกับดวงอาทิตย์ เนื่องจาก 1 พาร์เซก
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
= 206,265 au 
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
= (5.2 x 106 au) / (206,265 au) 
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
= 25 พาร์เซก

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
นักดาราศาสตร์ศึกษาดาวฤกษ์โดยการสังเกตจากสเปกตรัมของดาวว่า "สเปกโตรสโคปี" (Spectroscopy)

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่

ภาพที่ 90 สเปกตรัมของดาวฤกษ์
ที่มา : http://opticalengineering.spiedigitallibrary.org/article.aspx?articleid=1076935

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
สเปกตรัมบอกสมบัติของดาว 3 ประการคือ
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
-
อุณหภูมิพื้นผิว
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
-
องค์ประกอบทางเคมีของบรรยากาศ
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
-
ทิศทางการเคลื่อนที่ของดาวซึ่งสัมพันธ์กับโลก

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่

ภาพที่ 91 อุณหภูมิพื้นผิวของดาวฤกษ์

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่

ภาพที่ 92 องค์ประกอบทางเคมีของดาวฤกษ์

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
ทิศทางการเคลื่อนที่ของดาวฤกษ์
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
นักดาราศาสตร์ศึกษาทิศทางการเคลื่อนที่ของดาวฤกษ์ที่สัมพันธ์กับโลก โดยอาศัยปรากฎการณ์  ดอปเปลอร์ได้ 2 แบบ ดังนี้
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
- สเปกตรัมของดาวฤกษ์ในสภาวะปกติแสดงอยู่ตรงกลาง มีเส้นดูดกลืนรังสีซึ่งเกิดจากการยกตัวของอิเล็กตรอนวงโคจรของอิเล็กตรอนในอะตอมของธาตุไฮโดรเจน จากชั้นที่ 2 ไปยังชั้นที่ 6, 5, 4, 3 ทำให้เกิดเส้นสเปกตรัมที่ความยาวคลื่น 410 nm (H-delta), 434 nm (H-gamma), 486nm                     (H-beta), 656 nm (H-alpha) ตามลำดับ เรียกว่า บาลเมอร์ซีรีส์ 
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
- การเลื่อนทางน้ำเงิน (Blueshift) ซึ่งแสดงในแถบล่าง เกิดขึ้นเมื่องดาวเคลื่อนที่ในทิศทางเข้าหาโลก ทำให้เราสังเกตเห็นความยาวคลื่นสั้นกว่าความเป็นจริง เส้นดูดกลืนรังสีทั้งสี่เส้นจึงเคลื่อนที่ไปทางด้านสีม่วง 
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
- การเลื่อนทางแดง (Redshift) ซึ่งแสดงในแถบบน เกิดขึ้นเมื่องดาวเคลื่อนที่ในทิศทางออกห่างจากโลก ทำให้เราสังเกตเห็นความยาวคลื่นมากกว่าความเป็นจริง เส้นดูดกลืนรังสีทั้งสี่เส้นจึงเคลื่อนที่ไปทางด้านสีแดง

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่

ภาพที่ 93 การเคลื่อนที่ของเส้นดูดกลืนในแถบสเปกตรัม
ที่มา : http://www.lesa.biz/astronomy/star-properties/stellar-spectrum

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
เราไม่สามารถวัดขนาดของดาวฤกษ์ด้วยวิธีตรง นักดาราศาสตร์คำนวณขนาดรัศมีของดาวฤกษ์ โดยการนำกำลังส่องสว่างและอุณหภูมิพื้นผิวของดาวมาเปรียบเทียบกับดวงอาทิตย์  ในขั้นตอนแรกนัก     ดาราศาสตร์จะใช้ CCD  บันทึกภาพและตรวจนับโฟตอนที่มากับแสงดาว   จากนั้นจะหาค่าความยาวคลื่นเข้มที่สุดที่ดาวแผ่รังสีออกมา เพื่อคำนวณหาค่าอุณหภูมิพื้นผิวของดาวด้วยกฎของวีน

การคำนวณหารัศมีของดาว จากกำลังส่องสว่าง และอุณหภูมิของผิวดาว
เมื่อนำค่ารัศมี กำลังส่องสว่าง และอุณหภูมิผิวของดาว มาเปรียบเทียบกับดวงอาทิตย์ จะได้สูตร

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
โดยที่  
R/RSun  รัศมีของดาว เปรียบเทียบกับดวงอาทิตย์
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
T
/TSun    =  อุณหภูมิของดาว เปรียบเทียบกับดวงอาทิตย์
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
L/LSun    =  อัตราส่วนกำลังส่องสว่างของดาว เปรียบเทียบกับดวงอาทิตย์

ตัวอย่างที่ 3.9 ดาวหัวใจสิงห์ มีค่าความสว่าง L = 140 LSun มีอุณหภูมิพื้นผิว T = 16,000 K   รัศมีมีขนาดกี่เท่าของดวงอาทิตย์

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่

รัศมีของดาวหัวใจสิงห์มีขนาด 1.55 เท่า ของดวงอาทิตย์

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
ดาวเกิดจากการรวมตัวของแก๊สและฝุ่นในอวกาศ (Interstellar medium)  เมื่อมีมวล มวลมีแรงดึงดูดซึ่งกันและกันตามกฎความโน้มถ่วงแห่งเอกภพ (The Law of Universal) ของนิวตันที่มีสูตรว่า                                  F = G (m1m2/r2) แรงดึงดูดแปรผันตามมวล มวลยิ่งมากแรงดึงดูดยิ่งมาก เราเรียกกลุ่มแก๊สและฝุ่นซึ่งรวมตัวกันในอวกาศว่า “เนบิวลา” (Nebula) หรือ “หมอกเพลิง” เนบิวลาเป็นกลุ่มแก๊สที่ขนาดใหญ่หลายปีแสง แต่เบาบางมีความหนาแน่น      ต่ำมาก องค์ประกอบหลักของเนบิวลาคือแก๊สไฮโดรเจน เนื่องจากไฮโดรเจนเป็นธาตุ  ที่มีโครงสร้างพื้นฐาน ซึ่งเป็นธาตุตั้งต้นของทุกสรรพสิ่งในจักรวาล

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
เนบิวลาเป็นกลุ่มแก๊สที่ขนาดใหญ่หลายปีแสง แต่เบาบางมีความหนาแน่นต่ำมาก องค์ประกอบหลักของเนบิวลาคือแก๊สไฮโดรเจน เนื่องจากไฮโดรเจนเป็นธาตุที่มีโครงสร้างพื้นฐาน ซึ่งเป็นธาตุตั้งต้นของทุกสรรพสิ่งในจักรวาล เนบิวลามีอุณหภูมิต่ำ เนื่องจากไม่มีแหล่งกำเนิดความร้อน ในบริเวณที่แก๊สมีความหนาแน่นสูง อะตอมจะยึดติดกันเป็นโมเลกุล ทำให้เกิดแรงโน้มถ่วงดึงดูดแก๊สจากบริเวณโดยรอบมารวมกันอีก ทำให้มีความหนาแน่นและมวลเพิ่มขึ้น จนกระทั่งอุณหภูมิภายในสูงประมาณ 10 เคลวิน   มวลที่เพิ่มขึ้นทำให้พลังงานศักย์โน้มถ่วงของแต่ละโมเลกุลที่ตกเข้ามายังศูนย์กลางของกลุ่มแก๊ส เปลี่ยนรูปเป็นพลังงานความร้อน และแผ่รังสีอินฟราเรดออกมา ต่อมาเมื่อกลุ่มแก๊สมีความหนาแน่นสูงขึ้นจนความร้อนภายในไม่สามารถแผ่ออกมาได้ อุณหภูมิภายในแกนกลางจึงสูงขึ้นอย่างรวดเร็ว  มวลของแก๊สมีแรงโน้มถ่วงสูงจนเอาชนะแรงดันซึ่งเกิดจากการขยายตัวของแก๊สร้อน กลุ่มแก๊สจึงยุบตัวเข้าสู่ศูนย์กลางจนมีอุณหภูมิสูงถึง         10 ล้านเคลวิน  จุดปฏิกิริยานิวเคลียร์ฟิวชันทำให้อะตอมของไฮโดรเจนหลอมรวมกันเป็นธาตุใหม่คือ ฮีเลียม

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่

ภาพที่ 94  เนบิวลาสว่างใหญ่ในกลุ่มดาวนายพราน
ที่มา : https://pics-about-space.com/m42-orion-nebula?p=3#img4848584365801585036

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
ดาวฤกษ์ที่เกิดขึ้นใหม่มีอุณหภูมิสูงประมาณ 25,000 K เป็นดาวสเปกตรัมประเภท O   แผ่รังสีเข้มสุดในช่วงอัลตราไวโอเล็ต  เนบิวลาที่ห่อหุ้มดาวดูดกลืนพลังงานจากรังสีอัลตราไวโอเล็ต และแผ่รังสีเข้มสุดในช่วง H-alpha ซึ่งมีความยาวคลื่น 656 nm ออกมาทำให้เรามองเห็นเป็น “เนบิวลาสว่าง” (Diffuse Nebula) สีแดง เนื่องจากเนบิวลามีแก๊สและฝุ่นอยู่หนาแน่น บางครั้งอนุภาคขนาดใหญ่เป็นอุปสรรคขวางกั้นการแผ่รังสี จึงเกิดการกระเจิงของแสง (Scattering) ทำให้มองเห็นเป็นเนบิวลาสีฟ้า เช่นเดียวกับที่การกระเจิงของแสงอาทิตย์ในบรรยากาศโลกที่ทำให้ท้องฟ้าเป็นสีฟ้า เราเรียกเนบิวลาประเภทนี้ว่า “เนบิวลาสะท้อนแสง” (Reflection Nebula) บางส่วนของเนบิวลาเป็นกลุ่มแก๊สที่มีอุณหภูมิต่ำอยู่อย่างหนาแน่น กลุ่มแก๊สเหล่านี้เหล่านี้บดบังแสงสว่างจากดาวฤกษ์เกิดใหม่หรือเนบิวลาสว่างซึ่งอยู่ด้านหลัง เราจึงมองเห็นเป็น            “เนบิวลามืด” (Dark Nebula)

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่

ภาพที่ 95 เนบิวลามืด
ที่มา : http://ircamera.as.arizona.edu/NatSci102/NatSci102/lectures/ism.html

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
เนบิวลาเป็นกลุ่มแก๊สที่มีความหนาแน่นและอุณหภูมิต่างๆ กัน  แสดงส่วนขยายของเนบิวลานกอินทรี (M 16 Eagle Nebula) จากภาพซ้ายมือด้านบนเรียงลำดับจากซ้ายไปขวา และจากบนลงล่าง จนถึงภาพขวามือด้านล่าง  บริเวณที่ปรากฏให้เห็นเป็นจะงอยสีดำ คือ กลุ่มแก๊สความหนาแน่นสูงที่กำลังจะยุบตัวกำเนิดเป็นดาวฤกษ์
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
เมื่อกลุ่มแก๊สในเนบิวลาสะสมตัวกันมากขึ้น จนกระทั่งแรงโน้มถ่วงสามารถเอาชนะแรงดันซึ่งเกิดจากการขยายตัวของแก๊ส กลุ่มแก๊สจะยุบตัวลงอย่างต่อเนื่องและหมุนรอบตัวตามกฎอนุรักษ์โมเมนตัมเชิงมุม (Angular Momentum) เป็นจานรวมมวล  แกนกลางของกลุ่มแก๊สเรียกว่า “โปรโตสตาร์”(Protostar)

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่

ภาพที่ 96 โปรโตสตาร์
ที่มา : http://messier.seds.org/more/m016_hst.html

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
เมื่อกลุ่มแก๊สในเนบิวลาสะสมตัวกันมากขึ้น จนกระทั่งแรงโน้มถ่วงสามารถเอาชนะแรงดันซึ่งเกิดจากการขยายตัวของแก๊ส กลุ่มแก๊สจะยุบตัวลงอย่างต่อเนื่องและหมุนรอบตัวตามกฎอนุรักษ์โมเมนตัมเชิงมุม (Angular Momentum) เป็นจานรวมมวล  แกนกลางของกลุ่มแก๊สเรียกว่า “โปรโตสตาร์” (Protostar)  เมื่อโปรโตสตาร์มีอุณหภูมิสูงถึงระดับล้านเคลวิน จะปล่อยอนุภาคพลังงานสูงที่มีลักษณะคล้ายลมสุริยะเรียกว่า “Protostellar Wind” ออกมา เมื่อโปรโตสตาร์ยุบตัวต่อไป กระแสอนุภาคพลังงานสูงจะมีความรุนแรงมาก จนปรากฏเป็นลำพุ่งขึ้นจากขั้วของดาวตามแกนหมุนรอบตัวเองของโปรโตสตาร์                 
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
การยุบตัวของโปรโตสตาร์ดำเนินต่อไป จนกระทั่งแกนของโปรโตสตาร์มีอุณหภูมิสูงถึง 10 ล้านเคลวิน จุดปฏิกิริยานิวเคลียร์ฟิวชัน (Nuclear Fusion) ทำให้อะตอมไฮโดรเจนหลอมรวมกันกลายเป็นธาตุ            ที่หนักกว่าคือฮีเลียม ขณะนั้นแก๊สที่แก่นกลางจะมีอุณหภูมิสูงมากและมีความดันสูงพอที่จะต้านทานแรงโน้มถ่วงของดาว การยุบตัวของดาวจึงยุติลง สมดุลระหว่างแรงโน้มถ่วงและแรงดันของแก๊สร้อนรักษาขนาดของดาวให้คงที่เป็นรูปทรงกลม ณ จุดนี้ถือว่า ดาวฤกษ์ได้ถือกำเนิดขี้นแล้ว (The star is born) โปรโตสตาร์ทุกดวงไม่จำเป็นต้องประสบความสำเร็จในการพัฒนาเป็นดาวฤกษ์เสมอไป  หากกลุ่มแก๊ส               มีมวลตั้งต้นน้อยกว่าดวงอาทิตย์ 0.08 เท่า มวลไม่มากพอที่จะสร้างแรงกดดันให้เกิดอุณหภูมิสูงพอที่จะจุดนิวเคลียร์ฟิวชัน  โปรโตสตาร์จึงยุบตัวลงกลายเป็นดาวแคระน้ำตาล (Brown Dwarf)

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่

ภาพที่ 97 โปรโตสตาร์
ที่มา : https://www.emaze.com/@AQRWOQIC/The-amazing-cycle-of

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
หลังจากที่โปรโตสตาร์จุดปฏิกิริยานิวเคลียร์ฟิวชันกลายเป็นดาวฤกษ์ที่มีอุณหภูมิสูงมากจนแผ่รังสี       อัลตราไวโอเล็ตและลมดาราวาต (Stellar Winds) ซึ่งเป็นกระแสอนุภาคพลังงานสูงที่มีลักษณะ                              เช่นเดียวกับลมสุริยะของดวงอาทิตย์ พัดกวาดแก๊สในเนบิวลาให้สลายตัวไป เห็นดาวฤกษ์เกิดใหม่นับร้อยดวงซึ่งซ่อนตัวภายในเรียกว่า “กระจุกดาวเปิด ” (Open Cluster)

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่

ภาพที่ 98 การเกิดกระจุกดาวเปิด
ที่มา : http://imgur.com/gallery/ANdUo

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
ระบบกลไกนี้ช่วยรักษาสมดุลของดาวฤกษ์ ให้มีอัตราการเกิดปฏิกิริยาฟิวชันคงที่สม่ำเสมอเกือบตลอดทั้งชีวิตของดาว อายุขัยของดาวในช่วงเวลานี้เราเรียกว่า “ดาวลำดับหลัก” (Main sequence stars)
เมื่อพิจารณาเปรียบเทียบสเปกตรัมของดาวแต่ละประเภทจะพบองค์ประกอบดังนี้

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่

ภาพที่ 99 สเปกตรัมของดาวประเภทต่างๆ
ที่มา : http://www.lesa.biz/astronomy/star/main-sequence

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
- ดาวสเปกตรัม O อุณหภูมิมากกว่า 25,000​ K มีเส้นดูดกลืนของไฮโดรเจนอยู่อย่างเบาบาง เนื่องจากดาวมีอุณหภูมิสูงมากกว่าสามหมื่นเคลวิน ประจุไม่สามารถเกาะตัวเป็นอะตอม จึงอยู่ในสถานะ          ไอโอไนเซชัน(Ionization)
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
- ดาวสเปกตรัม B มีอุณหภูมิพื้นผิว 25,000 - 10,000​ K มีเส้นดูดกลืนของไฮโดรเจนและฮีเลียม เนื่องจากดาวมีอุณหภูมิต่ำลงพอที่ประจุจะจับตัวกันเป็นอะตอมได้แล้ว
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
- ดาวสเปกตรัม A มีอุณหภูมิพื้นผิว 10,000 - 8,000​ K อุณหภูมิประมาณ​10,000 - 25,000​ K มีเส้นดูดกลืนของไฮโดรเจนชัดเจนยิ่งขึ้น เนื่องจากดาวมีอุณหภูมิต่ำกว่าสเปกตรัม B
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
- ดาวสเปกตรัม F มีอุณหภูมิพื้นผิว 8,000 - 6,000​ K ยังคงมีเส้นดูดกลืนของไฮโดรเจน และเริ่มมีเส้นดูดกลืนอะตอมของธาตุหนักหลายชนิด เช่น แคลเซียม
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
- ดาวสเปกตรัม G มีอุณหภูมิพื้นผิว 6,000 - 5,000​ K เช่น ดวงอาทิตย์ มีเส้นดูดกลืนของทั้งธาตุหนักและธาตุเบาหลายชนิด เช่น ไฮโดรเจน แคลเซียม และเหล็ก เป็นต้น
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
- ดาวสเปกตรัม K  มีอุณหภูมิพื้นผิว 5,000 - 4,000​ K มีเส้นดูดกลืนของทั้งธาตุหนักและธาตุเบา    หลายชนิด เช่น ไฮโดรเจน แคลเซียม และเหล็ก เป็นต้น
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
- ดาวสเปกตรัม M มีอุณหภูมิพื้นผิว 4,000 - 3,000​ K มีเส้นดูดกลืนของโมเลกุล เช่น ไททาเนียมออกไซด์ (TiO) และไฮโดรคาร์บอน (CH) เนื่องจากที่อุณหภูมิประมาณ 3,000 เคลวิน อะตอมสามารถเกาะตัวกันเป็นโมเลกุล

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
ระบบดาวฤกษ์  คือ ดาวฤกษ์กลุ่มเล็กๆ จำนวนหนึ่งที่โคจรอยู่รอบกันและกันโดยมีแรงดึงดูดระหว่างกันทำให้จับกลุ่มกันไว้ เช่น ดาวซีรีอัส ซึ่งเป็นดาวคู่ เป็นระบบดาวฤกษ์ 2 ดวง เคลื่อนรอบซึ่งกันและกันด้วยแรงโน้มถ่วง ดาวแอลฟาเซน-เทารี เป็นระบบดาวฤกษ์ 3 ดวง ระบบดาวฤกษ์ที่มีดาวฤกษ์เป็นจำนวนมาก เราเรียกว่า กระจุกดาว เช่น กระจุกดาวลูกไก่ ซึ่งมีดาวฤกษ์มากกว่าร้อยดวง กระจุกดาวทรงกลมเอ็ม 13 มีดาวฤกษ์มากกว่าแสนดวง สาเหตุที่เกิดดาวฤกษ์เป็นระบบต่างๆกัน เพราะเนบิวลาเนบิวลาต้นกำเนิดมีปริมาณและขนาดต่างๆกัน

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่

ภาพที่ 100 ระบบดาวฤกษ์
ที่มา : http://clavedosul.blogspot.com.br/2014/03/com-13-anos-ekaterina-trusheva-projeta.html

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
มวลของดาวฤกษ์แต่ละดวงจะแตกต่างกัน เพราะเนบิวลาที่ก่อกำเนิดเป็นดาวฤกษ์มีมวลไม่เท่ากัน มวลจึงเป็นสมบัติที่แตกต่างกันของดาวฤกษ์ นักดาราศาสตร์สามารถหามวลของดาวฤกษ์ได้หลายวิธี           เช่น การใช้กฎเคพเลอร์ในการหามวลของดวงอาทิตย์ หรือ จากการสังเกตแสงจากดาว นักดาราศาสตร์      แบ่งมวลของดาวฤกษ์เป็น 3 ระดับโดยเทียบจากดวงอาทิตย์ได้ดังนี้
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
- ดาวฤกษ์มวลน้อย
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
- ดาวฤกษ์มวลปานกลาง
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
- ดาวฤกษ์มวลมาก

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
เป็นดาวฤกษ์ที่มีขนาดเล็กและมีมวลน้อย ประมาณมวลของดวงอาทิตย์หรือน้อยกว่า          ในแผนภาพเฮิทซ์ปรุง – รัสเซล ดาวฤกษ์มวลต่ำจะมีตำแหน่งอยู่บริเวณด้านขวาล่างของแถบกระบวนหลัก (Main Sequence) แสดงให้เห็นว่าดาวฤกษ์มวลต่ำมีความสว่างน้อยและมีอุณหภูมิผิวต่ำ มีสีเหลือง ส้ม หรือแดง

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
ดาวฤกษ์มวลปานกลาง ดาวฤกษ์ระดับปานกลาง มีมวลมากกว่า 2 เท่า แต่น้อยกว่า 8 เท่า               ของมวลดวงอาทิตย์

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่

ภาพที่ 101 Sirius White Dwarf Star
ที่มา : https://pics-about-space.com/white-dwarf-sirius-b?p=2#img5869006610509607406

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
ดาวฤกษ์มวลมาก มีมวล 8 เท่าของดวงอาทิตย์จะมีแรงดันและอุณหภูมิที่บริเวณใจกลางของดาว       สูงมากทำให้ปฏิกิริยานิวเคลียร์ที่แกนกลางเป็นไปอย่างรวดเร็ว

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่

ภาพที่ 102 ดาวนิวตรอน
ที่มา : https://www.eso.org/public/chile/images/eso0831a/

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
เนื่องจากดาวมีขนาดใหญ่มาก เราจึงไม่สามารถทำการหามวลของดาวด้วยวิธีชั่งตวงวัด นักดาราศาสตร์ไม่สามารถคำนวณหาขนาดมวลของดาวดวงเดียวโดดๆ ได้ แต่จะคำนวณหามวลของระบบดาวคู่ซึ่งโคจรรอบกันและกัน โดยอาศัยความสัมพันธ์​ระหว่างคาบวงโคจรและระยะห่างระหว่างดาวทั้งสอง  ตามกฎของเคปเลอร์-นิวตัน ตามสูตร

M1, M2  = มวลของดาวทั้งสองในระบบดาวคู่ มีหน่วยเป็นจำนวนเท่าของดวงอาทิตย์

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
a = ความยาวของเส้นผ่านครึ่งวงโคจรตามแกนยาว (Semimajor axis)  ของดาวดวงใดดวงหนึ่งมีหน่วยเป็น AU                
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
p
= คาบการโคจร หน่วยเป็นปี

ตัวอย่างที่ 3.10  ระบบดาวคู่ 70 Ophiuchi ในกลุ่มดาวคนแบกงู  มีขนาดเส้นผ่านครึ่งวงโคจรตามแกนยาว (Semimajor axis) 22.3 AU มีคาบวงโคจร 87.7 ปี ตามภาพที่ 1  จะมีมวลเท่าไร

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
M1 + M2 = a3 / p2
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
     = (22.3 AU)3 / (87.7 ปี)2
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
     = 1.44 เท่าของดวงอาทิตย์

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
ระบบสุริยะเกิดจากกลุ่มฝุ่นและแก๊สในอวกาศซึ่งเรียกว่า “โซลาร์เนบิวลา”  (Solar Nebula)
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
รวมตัวกันเมื่อประมาณ 4,600 ล้านปีเมื่อสสารมากขึ้นแรงโน้มถ่วงระหว่างมวลสารมากขึ้นตามไปด้วย กลุ่มฝุ่นและแก๊สยุบตัวหมุนเป็นรูปจานตามหลักอนุรักษ์โมเมนตัมเชิงมุม แรงโน้มถ่วงที่เพิ่มขึ้นสร้างแรงกดดันที่ใจกลางจนอุณหภูมิสูงถึง 15 ล้านเคลวิน จุดปฏิกิริยานิวเคลียร์ฟิวชัน หลอมรวมอะตอมของไฮโดรเจนให้เป็นฮีเลียม ดวงอาทิตย์กำเนิดเป็นดาวฤกษ์

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่

ภาพที่ 103 การกำเนิดระบบสุริยะ
ที่มา : (A) https://i0.wp.com/www.trueplookpanya.com/data/product/media/KNOWLEDGE/picknowledge/solar_birth.jpg?zoom=2
(B) http://www.derekscope.co.uk/wp-content/uploads/2014/11/

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
วัสดุรอบๆ ดวงอาทิตย์ (Planetisimal) ยังคงหมุนวนและโคจรรอบดวงอาทิตย์ด้วยโมเมนตัมที่มีอยู่เดิม  มวลสารในวงโคจรแต่ละชั้นรวมตัวกันเป็นดาวเคราะห์  อิทธิพลจากแรงโน้มถ่วงทำให้วัสดุที่อยู่รอบๆ พุ่งเข้าหาดาวเคราะห์จากทุกทิศทาง ถ้าทิศทางของการเคลื่อนที่มีมุมลึกก็จะพุ่งชนดาวเคราะห์ ทำให้ดาวเคราะห์นั้นมีขนาดใหญ่และมีมวลเพิ่มขึ้น ถ้ามุมของการพุ่งชนตื้นเกินไปก็อาจจะทำให้แฉลบเข้าสู่วงโคจร และเกิดการรวมตัวกลายเป็นดวงจันทร์บริวาร

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
หลักฐานที่ยืนยันทฤษฏีกำเนิดระบบสุริยะก็คือ ถ้ามองจากด้านบนของระบบสุริยะ (Top view) จะสังเกตได้ว่า ทั้งดวงอาทิตย์ ดาวเคราะห์ และดวงจันทร์บริวารเกือบทุกดวง หมุนรอบตัวเองในทิศทวนเข็มนาฬิกา และโคจรรอบดวงทิตย์ในทิศทวนเข็มนาฬิกา หากมองจากด้านข้างของระบบสุริยะ (Side view) ก็จะสังเกตได้ว่า ดาวเคราะห์และดวงจันทร์บริวารเกือบทุกดวง มีระนาบวงโคจรใกล้เคียงกับระนาบสุริยวิถี (Ecliptic plane)

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่

ภาพที่ 104 ระบบสุริยะ (Top view)
ที่มา : http://www.go-astronomy.com/

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่

ภาพที่ 105 ระบบสุริยะ (side view)
ที่มา : https://astrobob.areavoices.com/2010/06/20/this-comet-was-far-out-man/

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
1. ดวงอาทิตย์ (The Sun)
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
เป็นดาวฤกษ์ซึ่งมีมวลร้อยละ 99 ของระบบสุริยะ จึงทำให้อวกาศโค้งเกิดเป็นศูนย์กลางของแรงโน้มถ่วง โดยมีดาวเคราะห์และบริวารทั้งหลายโคจรล้อมรอบดวงอาทิตย์มีองค์ประกอบหลักเป็นไฮโดรเจนซึ่งเป็นอยู่ในสถานะพลาสมา (แก๊สที่มีอุณหภูมิสูงมากจนประจุหลุดออกมา)

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
2. ดาวเคราะห์ (Planets)
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
คือบริวารขนาดใหญ่ของดวงอาทิตย์ 8 ดวง เรียงลำดับจากใกล้ไปไกล ได้แก่ พุธ ศุกร์ โลก อังคาร พฤหัสบดี เสาร์ ยูเรนัส และเนปจูน ดาวเคราะห์ทั้งแปดโคจรรอบดวงอาทิตย์ โดยมีระนาบใกล้เคียงกับระนาบสุริยวิถี

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่

ภาพที่ 106 ดาวเคราะห์ในระบบสุริยะ
ที่มา : http://www.wallpapers13.com/planets-and-solar-system-hd-wallpaper-9877/

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
3. ดวงจันทร์บริวาร (
Moons หรือ Satellites)
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
เป็นดาวที่เป็นบริวารโคจรรอบดาวเคราะห์อีกที่หนึ่ง มิได้โคจรรอบดวงอาทิตย์โดยตรง

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่

ภาพที่ 107 ดวงจันทร์บริวาลของดาวพฤหัสบดี
ที่มา : http://solarviews.com/eng/jupiter.htm

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
4. ดาวเคราะห์แคระ (Dwarf Planets)
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
วัตถุขนาดเล็กที่มีรูปร่างคล้ายทรงกลม  ที่มีวงโคจรเป็นรอบดวงอาทิตย์ ซ้อนทับกับดาวเคราะห์ดวงอื่น และไม่อยู่ในระนาบของสุริยวิถี

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
5. ดาวเคราะห์น้อย (Asteroids)
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
วัตถุที่ไม่สามารถรวมตัวกันเป็นดาวเคราะห์ได้ เนื่องจากถูกรบกวนจากแรงโน้มถ่วงของดาวเคราะห์ขนาดใหญ่ เช่น ดาวพฤหัสบดี และดาวเสาร์ ทำให้แรงไทดัลที่เกิดขึ้นมีกำลังมากกว่าแรงยึดเหนี่ยวระหว่างสสารภายในดาว ดาวเคราะห์น้อยส่วนใหญ่มีองค์ประกอบหลักเป็นหิน แต่บางดวงมีโลหะปนอยู่ ดาวเคราะห์น้อยส่วนใหญ่อยู่ที่ "แถบดาวเคราะห์น้อย" (Asteroid belt) ซึ่งอยู่ระหว่างวงโคจรของดาวอังคารและดาวพฤหัสบดี ดาวเคราะห์น้อยมีรูปทรงเหมือนอุกกาบาต เนื่องจากมวลน้อยจึงมีแรงโน้มถ่วงน้อยไม่สามารถยุบรวมเนื้อดาวให้มีรูปร่างทรงกลม วงโคจรของดาวเคราะห์น้อยมีความรีมากกว่าวงโคจรของดาวเคราะห์ ในปัจจุบันได้มีการค้นพบดาวเคราะห์น้อยมากกว่า 3 แสนดวง เนื่องจากดาวเคราะห์น้อยไม่สามารถรวมตัวเป็นดาวเคราะห์ได้ มันจึงไม่มีการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างภายในมาหลายพันล้านปีแล้ว นักดาราศาสตร์จึงเปรียบว่า ดาวเคราะห์น้อยเป็นเสมือนฟอสซิลของระบบสุริยะ

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่

ภาพที่ 108 แถบดาวเคราะห์น้อย
ที่มา : https://pics-about-space.com/asteroid-belts-awesome?p=1#img957652148959780795

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
6. วัตถุในแถบคอยเปอร์ (Kuiper Belt Objects)
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
- เมฆออร์ต (
Oort Cloud)
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
มีองค์ประกอบหลักเป็นหินปนน้ำแข็ง มีวงโคจรรอบดวงอาทิตย์อยู่ถัดจากดาวเนปจูนออกไป  วงโคจรของวัตถุในแถบคอยเปอร์เอียงทำมุมกับระนาบสุริยวิถีเล็กน้อย  โดยมีระยะห่างจากดวงอาทิตย์ 40 – 500 AU ดาวพลูโตและดาวเคราะห์แคระซึ่งถูกค้นพบใหม่เป็นวัตถุในแถบคอยเปอร์ นักดาราศาสตร์ชาวเนเธอร์แลนด์ชื่อ แจน ออร์ต (Jan Oort) ตั้งทฤษฏีว่า บริเวณขอบนอกของระบบสุริยะเป็นทรงกลม ซึ่งมีขนาดรัศมีประมาณ 50,000 AU จากดวงอาทิตย์  ห่อหุ้มด้วยวัสดุจำพวกน้ำแข็ง  หากมีแรงโน้มถ่วงจากภายนอกมากระทบกระเทือน น้ำแข็งเหล่านี้จะหลุดเข้าสู่วงโคจรรอบดวงอาทิตย์ กลายเป็นดาวหาง

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
- ดาวหาง (Comets)
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
เมื่อดาวหางเคลื่อนที่เข้าหาดวงอาทิตย์ พลังงานจากดวงอาทิตย์ทำให้มวลของดาวหางระเหิดกลายเป็นแก๊ส   ลมสุริยะเป่าให้แก๊สเหล่านี้ให้พุ่งไปในทิศทางตรงข้ามกับดวงอาทิตย์ ปรากฏเป็นหางยาวหลายล้านกิโลเมตร

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่

ภาพที่ 109 วัตถุในแถบคอยเปอร์
ที่มา : http://earthsky.org/space/hubble-moon-dwarf-planet-2007-or103

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
นักดาราศาสตร์แบ่งเขตพื้นที่ของระบบสุริยะออกเป็น 4 เขต โดยใช้ลักษณะการก่อตัวของบริวารของดวงอาทิตย์เป็นเกณฑ์ ดังนี้

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
เป็นดาวเคราะห์ที่มีพื้นผิวแข็งหรือเป็นหินเหมือนโลก บางครั้งจึงเรียกว่า ดาวเคราะห์แบบโลก ดาวเคราะห์ชั้นในเกิดจากมวลสารของเนบิวลาที่อยู่ถัดออกมาจากบริเวณใจกลาง ที่ไม่ได้เคลื่อนที่ไปรวมกับมวลสารที่เกิดดวงอาทิตย์ แต่เคลื่อนที่รอบดวงอาทิตย์และมีอุณหภูมิพอเหมาะที่จะเกิดเป็นก้อนหินขนาดต่างๆ กันจำนวนมาก ได้แก่
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
ดาวพุธ (Mercury)
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
- ดาวเคราะห์ที่อยู่ใกล้ดวงอาทิตย์มากที่สุด
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
- ดาวเคราะห์ที่อยู่ใกล้ดวงอาทิตย์มากที่สุด
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
- ดาวเคราะห์ที่เล็กที่สุดในระบบสุริยะ

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่

ภาพที่ 110 ดาวพุธ
ที่มา : https://www.space.com/4839-enduring-mysteries-mercury.html

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
ดาวพุธมีชั้นบรรยากาศเบาบางและมีสเถียรภาพต่ำอันเกิดจากการที่ดาวพุธมีขนาดเล็ก จนไม่มีแรงดึงดูดเพียงพอในการกักเก็บอะตอมของก๊าซเอาไว้  ชั้นบรรยากาศของดาวพุธประกอบไปด้วยไฮโดรเจน, ฮีเลียม, ออกซิเจน, โซเดียม, แคลเซียม, โพแทสเซียม และ น้ำ ดาวพุธมีหลุมอุกกาบาตจำนวนมากจนดูคล้ายดวงจันทร์    ภูมิลักษณ์ที่เด่นที่สุดบนดาวพุธ คือ แอ่งแคลอริส  หลุมอุกกาบาตที่มีเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ    1,350 กิโลเมตร

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่

ภาพที่ 111 พื้นผิวดาวพุธ
ที่มา : http://www.bbc.co.uk/news/science-environment-10650039

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
ภูมิประเทศของดาวพุธมีผาชัน  อยู่ทั่วไป ซึ่งก่อตัวขึ้นเมื่อหลายพันล้านปีที่แล้ว  ขณะที่ใจกลาง          ดาวพุธเย็นลงพร้อมกับหดตัว จนทำให้เปลือกดาวพุธย่นยับและประกอบด้วยเหล็กในสัดส่วนที่สูง                              เป็นโลหะประมาณ 70% ที่เหลืออีก 30% เป็นซิลิเกต

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่

ภาพที่ 112 โครงสร้างดาวพุธ
ที่มา : https://commons.wikimedia.org/wiki/File:Mercury_Internal_Structure.svg

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
ยานอวกาศที่เข้าไปเฉียดใกล้ๆ  ดาวพุธและนำภาพมาต่อกันจนได้ภาพพื้นผิวดาวพุธเป็นครั้งแรกคือ                     ยานอวกาศมารีเนอร์ 10 ของสหรัฐอเมริกาเมื่อ พ.ศ. 2517

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่

ภาพที่ 113 ยานอวกาศมารีเนอร์
ที่มา : https://s-media-cache-ak0.pinimg.com/736x/33/83/dc/3383dc396366ce4fed08554a0055e9bd
--space-probe-space-program.jpg

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
ดาวศุกร์ (Venus)
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
เป็นดาวเคราะห์ที่อยู่ห่างจากดวงอาทิตย์เป็นลำดับที่ 2 ดาวศุกร์เป็นดาวเคราะห์หิน มีขนาดใกล้เคียงกับโลก

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่

ภาพที่ 114 ดาวศุกร์ vs ดาวเสาร์
ที่มา : http://www.garanuug.com/abwaan/waxaraxir/

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
สำหรับวัตถุในธรรมชาติ ดาวศุกร์เป็นวัตถุท้องฟ้าที่สว่างที่สุดเป็นลำดับที่ 3 รองจากดวงอาทิตย์และดวงจันทร์   มองเห็นได้เฉพาะในเวลาเช้ามืดหรือหัวค่ำเท่านั้น ขณะปรากฏในท้องฟ้าเวลาหัวค่ำทางทิศตะวันตก เรียกว่า  "ดาวประจำเมือง"   และเมื่อปรากฏในท้องฟ้าเวลาเช้ามืดทางทิศตะวันออก เรียกว่า "ดาวประกายพรึก" หรือ   "ดาวรุ่ง"   บรรยากาศของดาวศุกร์ ประกอบด้วยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ 97% ไนโตรเจน 3.5% ซัลเฟอร์ไดออกไซด์   และอาร์กอน 0.5%  มีชั้นเมฆคาร์บอนไดออกไซด์ที่หนาทึบมาก        ปกคลุมดาวศุกร์ทั้งดวงทำให้สะท้อนแสงอาทิตย์ได้ดี จึงเห็นดาวศุกร์เป็นดาวเคราะห์ที่สว่างสุกใสมาก อุณหภูมิของดาวศุกร์ ด้วยชั้นเมฆหนาของดาวศุกร์ทำให้เกิดสภาวะเรือนกระจก อุณหภูมิบนดาวศุกร์สูงมาก ประมาณ 500 องศาเซลเซียส ตลอดทั้งกลางวันและกลางคืน ดาวศุกร์หมุนรอบตัวเอง 1 รอบใช้เวลานานกว่าการเคลื่อนที่รอบดวงอาทิตย์ 1 รอบ และถ้าเราอยู่บนดาวศุกร์เวลา 1 วัน จะไม่ยาวเท่ากับเวลาที่ดาวศุกร์หมุนรอบตัวเอง 1 รอบ

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่

ภาพที่ 115 วงโคจรดาวศุกร์
ที่มา : http://www.geekygags.com/did-you-know-these-facts-about-our-solar-system/category/all

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
ยานอวกาศที่สำรวจดาวศุกร์ มีด้วยกันหลายลำ ได้แก่
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
- มาริเนอร์ 2 เมื่อ 14 ธันวาคม พ.ศ. 2505
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
- เวเนรา 4 เมื่อ 18 ตุลาคม พ.ศ. 2510
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
- เวเนรา 7 เมื่อ 15 ธันวาคม พ.ศ. 2513
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
- มาริเนอร์ 10 เมื่อ 5 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2517
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
- เวเนรา 9 เมื่อ 23 ตุลาคม พ.ศ. 2518
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
- เวเนรา 15 เมื่อ 10 ตุลาคม พ.ศ. 2526
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
- ไพโอเนียร์-วีนัส 2 เมื่อ 9 ธันวาคม พ.ศ. 2521
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
- แมกเจลแลน เมื่อ 10 สิงหาคม พ.ศ. 2533

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
โลก (EARTH)
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
โลก (The Earth) เป็นดาวเคราะห์ดวงเดียวในระบบสุริยะที่มีสภาวะแวดล้อมเอื้ออำนวย
ต่อการดำรงชีวิตของสิ่งมีชีวิต โลกอยู่ห่างจากดวงอาทิตย์เป็นลำดับที่ 3 และมีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 5 โลกมีสัณฐานเป็นทรงกลมแป้นมีรัศมีเฉลี่ย 6,371 กิโลเมตร โครงสร้างภายในของโลกประกอบไปด้วยแก่นชั้นในที่เป็นเหล็ก มีรัศมีประมาณ 1,200 กิโลเมตร ห่อหุ้มด้วยแก่นชั้นนอกที่เป็นของเหลว (Liquid) ประกอบด้วยเหล็กและนิเกิล มีความหนาประมาณ 2,200 กิโลเมตร ถัดขึ้นมาเป็นชั้นแมนเทิลซึ่งเป็นของแข็งเนื้ออ่อนที่ยืดหยุ่นได้ (Plastic) ประกอบไปด้วย เหล็ก แมกนีเซียม ซิลิกอน และธาตุอื่นๆ มีความหนาประมาณ 3,000 กิโลเมตร เปลือกโลกเป็นของแข็ง (Solid)           มีองค์ประกอบส่วนใหญ่เป็นเฟลด์สปาร์ และควอตช์ (ซิลิกอนไดออกไซด์)  
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
บรรยากาศของโลกประกอบด้วยไนโตรเจน 77 % ออกซิเจน 21% ที่เหลือเป็นอาร์กอน คาร์บอนไดออกไซด์ และน้ำ  คาร์บอนไดออกไซด์ช่วยในการกักเก็บความร้อนไว้ภายใต้ชั้นบรรยากาศโดยอาศัยภาวะเรือนกระจก ทำให้โลกมีความอบอุ่น ไม่หนาวเย็นจนเกินไปสำหรับสิ่งมีชีวิต อย่างไรก็ตามถ้าปริมาณคาร์บอนไดออกไซด์เพิ่มขึ้นมากขึ้นก็จะทำให้เกิดสภาวะโลกร้อน ซึ่งอาจส่งผลให้สิ่งมีชีวิตไม่สามารถดำรงอยู่ได้   นอกจากนี้โลกยังมีสนามแม่เหล็กซึ่งเกิดจากการเคลื่อนที่ของแก่นชั้นนอกซึ่งเป็นเหล็กเหลว ถึงแม้ว่าสนามแม่เหล็กโลกจะมีความเข้มไม่มาก  แต่ก็ช่วยปกป้องไม่ให้อนุภาคที่มีพลังงานสูงจากดวงอาทิตย์ (Solar wind) เดินทางผ่านมาที่ผิวโลกได้ โดยสนามแม่เหล็กจะกักให้อนุภาคเดินทางไปตามเส้นแรงแม่เหล็ก และเข้าสู่ชั้นบรรยากาศได้เพียงที่ขั้วโลกเหนือและขั้วโลกใต้เท่านั้น  เมื่ออนุภาคพลังงานสูงปะทะกับโมเลกุลของแก๊สในชั้นบรรยากาศ ทำให้เกิดแสงสีสวยงาม สังเกตเห็นบนท้องฟ้ายามค่ำคืน เรียกว่า "แสงเหนือแสงใต้" (Aurora)

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่

ภาพที่ 116 แกนแม่เหล็กโลก
ที่มา : http://www.atom.rmutphysics.com/charud/oldnews/117/earth_cores.gif

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
สนามแม่เหล็กโลก
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
แก่นโลกมีองค์ประกอบหลักเป็นเหล็ก  แก่นโลกชั้นใน (Inner core) มีความกดดันสูงจึงมีสถานะเป็นของแข็ง ส่วนแก่นชั้นนอก (Outer core) มีความกดดันน้อยกว่าจึงมีสถานะเป็นของเหลวหนืด               แก่นชั้นในมีอุณหภูมิสูงกว่าแก่นชั้นนอก พลังงานความร้อนจากแก่นชั้นใน จึงถ่ายเทขึ้นสู่แก่นชั้นนอกด้วยการพาความร้อน (Convection) เหล็กหลอมละลายเคลื่อนที่หมุนวนอย่างช้าๆ ทำให้เกิดการเคลื่อนที่ของกระแสไฟฟ้า และเหนี่ยวนำให้เกิดสนามแม่เหล็กโลก (The Earth’s magnetic field) อย่างไรก็ตามแกนแม่เหล็กโลกและแกนหมุนของโลกมิใช่แกนเดียวกัน แกนแม่เหล็กโลกมีขั้วเหนืออยู่ทางด้านใต้ และมีแกนใต้อยู่ทางด้านเหนือ แกนแม่เหล็กโลกเอียงทำมุมกับแกนเหนือ-ใต้ทางภูมิศาสตร์ (แกนหมุนของโลก)                 12 องศา

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่

ภาพที่ 117 สนามแม่เหล็กโลก
ที่มา : http://www.lesa.biz/earth/lithosphere/earth-structure/magnetosphere

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
สนามแม่เหล็กโลกเป็นรูปทรงรีไม่สมมาตร อิทธิพลของลมสุริยะทำให้ด้านที่อยู่ใกล้ดวงอาทิตย์       มีความกว้างน้อยกว่าด้านตรงข้ามดวงอาทิตย์  สนามแม่เหล็กโลกไม่ใช่สิ่งคงที่ แต่มีการเปลี่ยนแปลง                ความเข้มและสลับขั้วเหนือ-ใต้ ทุกๆ หนึ่งหมื่นปี  ในปัจจุบันสนามแม่เหล็กโลกอยู่ในช่วงที่มีกำลังอ่อน  สนามแม่เหล็กโลกเป็นสิ่งที่จำเป็นที่เอื้ออำนวยในการดำรงชีวิต  หากปราศจากสนามแม่เหล็กโลกแล้ว  อนุภาคพลังงานสูงจากดวงอาทิตย์และอวกาศ จะพุ่งชนพื้นผิวโลก ทำให้สิ่งมีชีวิตไม่สามารถดำรงอยู่ได้

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
ดวงจันทร์ (The Moon)
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
ดวงจันทร์เป็นบริวารดวงเดียวของโลก มีพื้นผิวที่เป็นของแข็ง เต็มไปด้วยหลุมอุกกาบาตมากมาย แสงจันทร์ที่เรามองเห็นนั้นเป็นแสงอาทิตย์ที่สะท้อนจากพื้นผิวดวงจันทร์ สำหรับปัจจุบันนักวิทยาศาสตร์เชื่อว่า ดวงจันทร์กำเนิดขึ้นมาเนื่องจาก การชนระหว่างวัตถุที่มีมวลประมาณดาวอังคารกับโลก เมื่อประมาณ 4,500 ล้านปีมาแล้ว แต่แรงระเบิดจากการชน ก็โยนสาดมวลสารจากเปลือกโลกออกไปวนฟุ้งกระจายรอบๆ โลก นานๆ เข้า ก็จับตัวเกาะกันเข้ามามีมวลเพิ่มขึ้น เมื่อมวลเพิ่มขึ้นก็ยิ่งมีแรงดึงดูดมากขึ้น จึงดึงดูดและ             เก็บกวาดเศษมวลสารจากการสาดกระจายทั้งหมด รวมเข้าเป็นตัวดาวบริวารของโลก คือ ดวงจันทร์นั่นเอง

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
ปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้องกับดวงจันทร์

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
น้ำขึ้นน้ำลง (tide) 
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
เกิดขึ้นเนื่องจากอิทธิพลดึงดูดระหว่างโลกกับดวงจันทร์และดวงอาทิตย์ 

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่

ภาพที่ 118 น้ำขึ้นน้ำลง
ที่มา : https://image.3bmeteo.com/images/newarticles/w_663/maree-sizigie-e-di-quadratura-3bmeteo-61030.jpg

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
ข้างขึ้น – ข้างแรม

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่

ภาพที่ 119 ข้างขึ้น – ข้างแรม
ที่มา : http://www.lesa.biz/astronomy/astro-events/moon-phases

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
จันทรุปราคา (lunar eclipse)

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่

ภาพที่ 120 จันทรุปราคา (lunar eclipse)
ที่มา : http://www.lesa.biz/astronomy/astroevents/lunareclipse?tmpl=%2Fsystem%2Fapp% 2Ftemplates%2Fprint%2F&showPrintDialog=1

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
สุริยุปราคา (Solar Eclipse)

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่

ภาพที่ 121 สุริยุปราคา (Solar Eclipse)
ที่มา : http://endecor.us/when-is-the-next-solar-eclipse-in-charlotte/

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
ดาวอังคาร (MARS) ดาวอังคาร เป็นดาวเคราะห์ ในระบบสุริยะที่อยู่ห่างจากดวงอาทิตย์เป็นลำดับที่ 4                  ดาวอังคารปรากฏเป็นสีแดงคล้ายสีโลหิต บางครั้งจึงเรียกว่า "ดาวแดง"   หรือ "Red Planet"                      ดาวอังคารมีดาวบริวารหรือดวงจันทร์ขนาดเล็ก 2 ดวง คือ โฟบอสและไดมอส   โดยทั้งสองดวง                  มีรูปร่างบิดเบี้ยวไม่เป็นรูปกลม ซึ่งคาดกันว่าอาจเป็นดาวเคราะห์น้อยที่หลงเข้ามาแล้วดาวอังคารคว้าดึงเอาไว้ให้อยู่ในเขตแรงดึงดูดของตน

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่

ภาพที่ 122 ดาวอังคาร
ที่มา : http://3.bp.blogspot.com/-RUJSgJNJ36M/VE0BAUk5BOI/AAAAAAAAAJY/Gzdz84jvjDQ/s1600/mars.jpg

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
ดาวอังคารเป็นดาวเคราะห์หิน (terrestrial planet) มีชั้นบรรยากาศเบาบาง  สีของดาวที่เห็นเป็นสีส้ม-แดงนั้น เกิดจาก ไอร์ออน(II) ออกไซด์ ซึ่งเป็นที่รู้กันคือ แร่เหล็ก หรือสนิมเหล็กนั่นเอง พื้นผิวมีลักษณะคล้ายคลึงทั้งหลุมอุกกาบาตบนดวงจันทร์ และภูเขาไฟ หุบเขา   ทะเลทราย และบริเวณน้ำแข็งขั้วโลก บนโลก ดาวอังคารมีภูเขา  ที่สูงที่สุดในระบบสุริยะคือ ภูเขาไฟโอลิมปัส (OlympusMons)  และหุบเขาลึกที่มีชื่อว่า  มาริเนริส (Marineris) ที่ใหญ่ที่สุดในระบบสุริยะ

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
ยานอวกาศที่สำรวจดาวอังคาร มีด้วยกันหลายลำได้แก่
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
- มาริเนอร์ 4
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
- มาริเนอร์ 9
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
- มาร์ส 3
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
- ไวกิ้ง
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
- มาร์สพาทไฟเดอร์

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
เป็นมวลสารที่อยู่ระหว่างวงโคจรของดาวอังคารและดาวพฤหัสบดี คาดว่ามี การก่อตัวเช่นเดียวกับวัตถุที่ก่อกำเนิดเป็นดาวเคราะห์ชั้นใน

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่

ภาพที่ 123 เขตดาวเคราะห์น้อย (Asteroid)
ที่มา : https://www.haikudeck.com/kjs-solar-system-uncategorized-presentation-V4rV7jiHUi

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
เศษที่เหลือของการสร้างดาวเคราะห์หินถูกแรงรบกวนของดาวพฤหัสบดีที่มีขนาดใหญ่และเกิดพร้อมดวงอาทิตย์  ทำให้มวลสารในบริเวณแถบดาวเคราะห์น้อยจับตัวเป็นก้อนขนาดใหญ่ไม่ได้ จึงกลายเป็นดาวเคราะห์น้อยที่มีขนาดเล็กจำนวนมาก นักดาราศาสตร์ทำการศึกษา                   ดาวเคราะห์น้อยเพื่อศึกษาวิวัฒนาการของระบบสุริยะ โดยจำแนกดาวเคราะห์น้อยออกเป็น 3 แบบ ตามองค์ประกอบทางเคมี ดังนี้
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
1 C-type (Common) เป็นดาวเคราะห์น้อยที่พบเห็นประมาณร้อยละ 75  มีองค์ประกอบเป็นคาร์บอน มีสีเข้มเพราะพื้นผิวสะท้อนแสงได้ไม่ดี

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่

ภาพที่ 124C-Type Asteroid
ที่มา : https://en.wikipedia.org/wiki/C-type_asteroid#/media/File:(253)_mathilde.jpg

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
2 S-type (Stone)
เป็นดาวเคราะห์น้อยที่มีอยู่ประมาณร้อยละ 17 มีองค์ประกอบหลักเป็น       หินซิลิเกตมีเหล็กและนิเกิลปนอยู่เล็กน้อย

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่

ภาพที่ 125 S-Type Asteroid
ที่มา : https://en.wikipedia.org/wiki/S-type_asteroid#/media/File:Eros_-_PIA02923_(color).jpg

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
3 M-type (Metal)
เป็นดาวเคราะห์น้อยที่สว่างมาก เนื่องจากมีองค์ประกอบเป็นโลหะเหล็กและนิเกิล สะท้อนแสงอาทิตย์ได้ดี

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่

ภาพที่ 126 M-Type Asteroid
ที่มา : http://www.astronomysource.com/tag/m-type-asteroids/

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
เกิดจากมวลสารของเนบิวลาที่อยู่ถัดออกมาจากดาวเคราะห์หิน ดาวเคราะห์ยักษ์เกิดจากการสะสมของแก๊สและสารที่ระเหยง่าย เช่น น้ำ เข้าไว้เป็นก้อนใหญ่

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
ดาวพฤหัสบดี (
JUPITER)
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
ดาวพฤหัสบดี เป็นดาวเคราะห์ที่อยู่ห่างจากดวงอาทิตย์เป็นลำดับที่ 5                        และเป็นดาวเคราะห์ที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในระบบสุริยะ  ดาวพฤหัสบดีหนักว่าโลก 318 เท่า เส้นผ่านศูนย์กลาง ยาวกว่าโลก 11 เท่า และมีปริมาตรคิดเป็น 1,300 เท่าของโลก   เชื่อกันว่าหากดาวพฤหัสบดีมีมวลมากกว่านี้สัก 60-70 เท่า  อาจเพียงพอที่จะให้เกิดปฏิกิริยานิวเคลียร์จนกลายเป็นดาวฤกษ์ได้

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่

ภาพที่ 127 ดาวพฤหัสบดี
ที่มา : http://dreamicus.com/jupiter.html

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
ดาวพฤหัสบดีหมุนรอบตัวเองด้วยอัตราเร็วสูงที่สุด เมื่อเทียบกับดาวเคราะห์       ดวงอื่นในระบบสุริยะ ทำให้มีรูปร่างแป้นเมื่อดูผ่านกล้องโทรทรรศน์ นอกจากชั้นเมฆที่ห่อหุ้มดาวพฤหัสบดี ร่องรอยที่เด่นชัดที่สุดบนดาวพฤหัสบดี คือ จุดแดงใหญ่ ซึ่งเป็นพายุหมุนที่มีขนาดใหญ่กว่าโลก  ดาวพฤหัสบดีมีวงแหวนเช่นเดียวกับดาวเสาร์ แต่มีความเลือนลางและขนาดเล็กกว่า  สามารถเห็นได้ในรังสีใต้แดงทั้งจากกล้องโทรทรรศน์  ที่พื้นโลกและจากยานกาลิเลโ

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
ดาวเสาร์ (SATURN)
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
เป็นดาวเคราะห์ที่อยู่ห่างจากดวงอาทิตย์เป็นลำดับที่ 6 จัดเป็นดาวเคราะห์แก๊ส  มีขนาดใหญ่ที่สุดเป็นอันดับสองในระบบสุริยะรองจากดาวพฤหัสบดี ดาวเสาร์มีรูปร่างป่องออกตามแนวเส้นศูนย์สูตร ที่เรียกว่าทรงกลมแป้น (oblate spheroid)  เส้นผ่านศูนย์กลางตามแนวขั้วสั้นกว่าตามแนวเส้นศูนย์สูตรเกือบ 10%   เป็นผลจากการหมุนรอบตัวเองอย่างรวดเร็ว

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่

ภาพที่ 128 ดาวเสาร์
ที่มา : https://www.haikudeck.com/saturn-science-and-technology-presentation-EODxQzrEg8

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
ดาวเสาร์เป็นดาวเคราะห์ที่มีระบบวงแหวนดาวเคราะห์  ขนาดใหญ่มากกว่าดาวเคราะห์อื่นในระบบสุริยะ วงแหวนของดาวเสาร์ประกอบด้วยอนุภาคขนาดเล็กจำนวนมากนับไม่ถ้วน กระจุกตัวรวมกันอยู่และโคจรไปรอบๆดาวเสาร์   อนุภาคในวงแหวนส่วนใหญ่เป็นน้ำแข็งมีบางส่วนที่เป็นฝุ่นและสสารอื่น

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่

ภาพที่ 129 วงแหวนดาวเสาร์ตัดผ่านฉากหลังที่มีดวงจันทร์ไททัน (รูปเสี้ยวขอบสีขาว) และดวงจันทร์เอนเซลาดัส (ขวาล่างสีดำ) ปรากฏอยู่
ที่มา : http://www.pillartopost.org/2012/10/one-picture-worth-1000-words-saturns.html

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่

ภาพที่ 130 ดวงจันทร์ของดาวเสาร์
ที่มา : http://www.seasky.org/solar-system/saturn-menu.html

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
ดาวยูเรนัส (URENUS)
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
เป็นดาวเคราะห์ที่อยู่ห่างจากดวงอาทิตย์เป็นลำดับที่ 7 ในระบบสุริยะจัดเป็นดาวเคราะห์แก๊ส มีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 3 บรรยากาศชั้นนอก ประกอบด้วยไฮโดรเจนและฮีเลียมเป็นส่วนใหญ่ แต่ลึกลงไป                   มีส่วนประกอบของ แอมโมเนีย มีเทนผสมอยู่ด้วย ดาวยูเรนัสแผ่ความร้อนออกจากตัวดาวน้อยมาก                  ดาวยูเรนัสโคจรรอบดวงอาทิตย์ใช้เวลา 84 ปี แกนของดาวทำมุมกับระนาบระบบสุริยะถึง 98 องศา ทำให้ฤดูกาลบนดาวยาวนานมาก คือ ด้านหนึ่งจะมีฤดูหนาว 42 ปี และอีกด้านจะร้อนนาน 42 ปี

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่

ภาพที่ 131 ดาวยูเรนัส
ที่มา : http://s3.amazonaws.com/kidzworld_photo/images/201562/b96379d2-a7f2-4f01-a2d2-83712931c25e/uranus.jpg

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
ดาวยูเรนัส เป็นดาวเคราะห์แก๊สขนาดยักษ์ในระบบสุริยะ มีดวงจันทร์ที่รู้จักแล้ว 27 ดวง ดวงจันทร์ของดาวยูเรนัสถูกแบ่งออกเป็น 3 กลุ่ม ได้แก่
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
1. กลุ่มดวงจันทร์รอบในสิบสามดวง (thirteen inner moons)
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
2. กลุ่มดวงจันทร์ขนาดใหญ่ห้าดวง   (five major moons)
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
3. กลุ่มดวงจันทร์ทรงแปลกเก้าดวง (nine irregular moons)

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่

ภาพที่ 132 ดวงจันทร์ของดาวยูเรนัส
ที่มา : https://s-media-cache-ak0.pinimg.com/736x/61/02/09/61020970451ef667fae14b04f7132931--solar-system-exploration-space-exploration.jpg

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
ดาวเนปจูน (NEPTUNE)
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
เป็นดาวเคราะห์ที่อยู่ห่างจากดวงอาทิตย์เป็นลำดับที่ 9 ในระบบสุริยะ มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางใหญ่เป็นอันดับที่ 4 รองจากดาวพฤหัส ดาวเสาร์ ดาวยูเรนัส  ดาวเนปจูน            มีสีน้ำเงิน เนื่องจากองค์ประกอบหลักของบรรยากาศผิวนอกเป็น ไฮโดรเจน ฮีเลียม และมีเทน บรรยากาศของดาวเนปจูน มีกระแสลมที่รุนแรง (2500 กม/ชม.) อุณหภูมิพื้นผิวอยู่ที่ประมาณ  -220℃  (- 364 °F) ซึ่งหนาวเย็นมาก

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่

ภาพที่ 133 ดาวเนปจูน
ที่มา : http://www.trbimg.com/img-51955bc6/turbine/la-sci-sn-neptune-uranus-windy-atmosphere-ice--001/600/600x591

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่

ภาพที่ 134 ยานวอยเอเจอร์ 2 ยานสำรวจดาวเนปจูนเพียงลำเดียว
ที่มา : http://upload.wikimedia.org/wikipedia/commons/thumb/d/d2/Voyager.jpg/240px-Voyager.jpg

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
ดาวพลูโต (PLUTO)
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
- สีของดาวพลูโต
- สีแดง/ส้มแดง
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
- ชั้นบรรยากาศ
- จะประกอบด้วย ไนโตรเจน และ มีเทน 

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่

ภาพที่ 135 ดาวเคราะห์แคระ (ดาวพลูโต)
ที่มา : http://theconversation.com/in-focus-new-horizons-crisp-images-shed-new-light-on-the-origins-of-pluto-and-its-moons-44451

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
อยู่บริเวณขอบนอกของระบบสุริยะ ดาวหางเกิดจากเศษที่เหลือจากการสร้าง                              ดาวเคราะห์ยักษ์ ดาวหางเป็นวัตถุท้องฟ้าที่ประกอบด้วยน้ำและแก๊สที่เย็นจัด รวมตัวกันเป็นก้อนน้ำแข็ง โดยมีฝุ่นและแร่ธาตุต่างๆ มารวมตัวกัน เมื่อดาวหางโคจรมาใกล้ดวงอาทิตย์ จะดูดพลังงานจากดวงอาทิตย์ในรูปของพลังงานความร้อนและรังสี ทำให้ก้อนน้ำแข็งกลายเป็นไอกระจายออกไป

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่

ภาพที่ 136 โครงสร้างของดาวหาง
ที่มา : http://www.lesa.biz/astronomy/solar-system/small-bodies/comet

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
ดาวหางคาบสั้น (Short-period comets) เป็นดาวหางที่มีคาบการโคจรรอบดวงอาทิตย์น้อยกว่า 200 ปี โดยทั่วไปมักมีระนาบวงโคจรใกล้เคียงกับระนาบสุริยวิถี และเคลื่อนที่ไปในทิศทางเดียวกับดาวเคราะห์
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
ดาวหางคาบยาว (Long-period comets)
มีความรีของวงโคจรมากกว่า และมีคาบโคจรตั้งแต่ 200 ปีขึ้นไปจนถึงหลายพันหรือหลายล้านปี (ตามนิยามแล้ว ดาวหางเหล่านี้จะต้องยังคงอยู่ภายใต้แรงโน้มถ่วงของดวงอาทิตย์

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่

ภาพที่ 137 วงโคจรของดาวหาง
ที่มา : https://i.kinja-img.com/gawker-media/ima

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
ดวงอาทิตย์เป็นดาวฤกษ์ที่มีมวลน้อยถึงปานกลางและอยู่ใกล้โลกที่สุด จงเป็นดาวฤกษ์ที่                         นักดาราศาสตร์ศึกษามากที่สุด ดวงอาทิตย์เกิด จากการยุบรวมตัวของเนบิวลาเมื่อประมาณ 5,000 ล้านปีมาแล้ว การยุบตัวของเนบิวลา เกิดจากแรงโน้มถ่วงของเนบิวลาเอง เมื่อแก๊สยุบตัวลง ความดันของแก๊สจะสูงขึ้น ผลที่ตามมาคือ อุณหภูมิของแก๊สจะสูงขึ้นกลายเป็น PROTOSUN

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่

ภาพที่ 138 PROTOSUN
ที่มา : http://www.kcvs.ca/martin/astro/kingsu/unit7/161/chp16_1_files/fig4.jpg

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
เมื่อแรงโน้มถ่วงดึงให้แก๊สยุบตัวลงไปอีก ความดัน ณ แก่นกลางสูงขึ้น และอุณหภูมิก็สูงขึ้นเป็น     15 ล้านเคลวิน เป็นอุณหภูมิสูงมากพอที่จะเกิดปฏิกิริยาเทอร์โมนิวเคลียร์ (thermonuclear reaction) พลังงานของดวงอาทิตย์เกิดที่แก่นกลาง ซึ่งเป็นชั้นในที่สุดของดวงอาทิตย์ เป็นบริเวณที่มีอุณหภูมิและความดันสูงมาก  ทำให้เกิดปฏิกิริยาเทอร์โมนิวเคลียร์ ที่แก่นกลางของดวงอาทิตย์ นักวิทยาศาสตร์คาดคะเนว่าในอนาคตเมื่อธาตุไฮโดรเจนที่ใช้เป็นเชื้อเพลิงเหลือน้อย แรงโน้มถ่วงเนื่องจากมวลของดาวฤกษ์สูงกว่าแรงดัน ทำให้ดาวยุบตัวลง ส่งผลให้แก่นกลางของดาวฤกษ์มีอุณหภูมิสูงขึ้นมากกว่าเดิมเป็น 100 ล้านเคลวินขณะเดียวกันไฮโดรเจนที่อยู่รอบนอกแกนฮีเลียม จะมีอุณหภูมิสูงขึ้นตามไปด้วย เมื่ออุณหภูมิสูงถึง 15 ล้านเคลวิน  จะเกิดปฏิกิริยาเทอร์โมนิวเคลียร์หลอมไฮโดรเจนเป็นฮีเลียมครั้งใหม่     ผลก็คือ ได้พลังงานออกมาอย่างมหาศาล ทำให้ดวงอาทิตย์มีขนาดใหญ่ขึ้นเป็น 100 เท่า ของขนาดปัจจุบัน  เมื่อผิวด้านนอกขยายตัว อุณหภูมิผิวจะลดลง สีจะเปลี่ยนจากเหลืองเป็นแดง ดวงอาทิตย์จึงกลายเป็นดาวฤกษ์สีแดงขนาดใหญ่มาก เรียกว่า ดาวยักษ์แดง (redgiant)

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่

ภาพที่ 139 ดาวยักษ์แดง
ที่มา : http://saypeople.com/2011/12/11/inner-core-of-the-red-giant-stars-rotate-ten-times-faster/

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
ดวงอาทิตย์มีความหนาแน่นมากที่สุดบริเวณแกน ซึ่งเป็นแหล่งผลิตพลังงาน และมีค่าน้อยลงเกือบเป็นรูปเอ็กโพเนนเชียลตามระยะทางที่ห่างออกมาจากแกน และแม้ว่าภายในดวงอาทิตย์นั้นจะไม่สามารถมองเห็นได้ แต่นักวิทยาศาสตร์ก็สามารถศึกษาภายในได้ผ่านทางการใช้คลื่นสะเทือนในดวงอาทิตย์ โครงสร้างของดวงอาทิตย์แบ่งได้ดังนี้

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่

ภาพที่ 140 โครงสร้างของดวงอาทิตย์
ที่มา : http://www.lesa.biz/astronomy/solar-system/sun

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
แก่นปฏิกรณ์นิวเคลียร์ (Fusion core)​
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
ส่วนแกนของดวงอาทิตย์สันนิษฐานว่ามีรัศมีเป็น 0.2 เท่าของรัศมีดวงอาทิตย์ ความหนาแน่นประมาณ 150,000 กิโลกรัมต่อลูกบาศก์เมตร หรือ 150 เท่าของความหนาแน่น                ของน้ำบนโลก อุณหภูมิประมาณ 13,600,000 เคลวิน แก่นปฏิกรณ์นิวเคลียร์อยู่ที่ใจกลางของ              ดวงอาทิตย์ถึงระยะ 25% ของรัศมี แรงโน้มถ่วงของดวงอาทิตย์ทำให้มวลสารของดาวกดทับกันจนอุณหภูมิที่ใจกลางสูงถึง 15 ล้านเคลวิน จุดปฏิกิริยานิวเคลียร์ฟิวชันหลอมอะตอมของไฮโดรเจนให้กลายเป็นฮีเลียม และปลดปล่อยพลังงานออกมา

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
โซนการแผ่รังสี (Radiative zone)
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
อยู่ที่ระยะ 25 - 70% ของรัศมี พลังงานที่เกิดขึ้นจากแก่นปฏิกรณ์นิวเคลียร์ถูกนำขึ้นสู่              ชั้นบนโดยการ แผ่รังสีด้วยอนุภาคโฟตอน

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
โซนการพาความร้อน (Convection zone)
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
อยู่ที่ระยะ 70 - 100% ของรัศมี พลังงานที่เกิดขึ้นไม่สามารถแผ่สู่อวกาศได้โดยตรง เนื่องจากมวลของดวงอาทิตย์เต็มไปด้วยแก๊สไฮโดรเจนซึ่งเคลื่อนที่หมุนวนด้วยกระบวนการ                 พาความร้อน  พลังงานจากภายในจึงถูกพาออกสู่พื้นผิวด้วยการหมุนวนของแก๊สร้อน

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
โฟโตสเฟียร์ (Photosphere)
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
โฟโตสเฟียร์ (Photosphere) คือบรรยากาศชั้นล่างสุดของดวงอาทิตย์ ซึ่งเรามองเห็นเมื่อมองดูจากโลก  ใต้ชั้นโฟโตสเฟียร์ลงไปแก๊สร้อนอัดตัวกันแน่น จนแสงไม่สามารถทะลุขึ้นมาได้ แสงอาทิตย์ที่เรามองเห็นมาจากชั้นโฟโตสเฟียร์ ซึ่งมีความหนาเพียง 400 กิโลเมตร มีอุณหภูมิประมาณ 5,800 เคลวิน โฟโตสเฟียร์ประกอบด้วย "แกรนูล" (Granule) ซึ่งเป็นเซลล์ของแก๊สร้อนหมุนวนด้วยการพาความร้อน (Convection cell) จากเบื้องล่างขึ้นมาเมื่อเย็นแล้วตัวจมลง พื้นผิวของโฟโตสเฟียร์มีจุดสีคล้ำเรียกว่า "จุดดวงอาทิตย์" (Sunspots) ซึ่งมีขนาดและจำนวนเปลี่ยนแปลงไปในแต่ละวัน จุดขนาดใหญ่อาจปรากฏให้เห็นนานหลายวัน แต่จุดเล็กๆ อาจมีอายุเพียงวันเดียว    จุดดวงอาทิตย์เกิดจากการที่สนามแม่เหล็กของดวงอาทิตย์เบี่ยงเบน เนื่องจากดวงอาทิตย์มีสถานะเป็นแก๊ส แต่ละส่วนของดวงอาทิตย์หมุนรอบตัวเองด้วยความเร็วไม่เท่ากัน (Differential rotation)                  ความแตกต่างเช่นนี้มีผลทำให้สนามแม่เหล็กเบี่ยงเบน

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่

ภาพที่ 141 จุดดำบนดวงอาทิตย์
ที่มา : https://www.haikudeck.com/sun-science-and-technology-presentation-u1mAHEgzME

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
โคโมสเฟียร์ (Chromosphere)
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
เป็นบรรยากาศชั้นกลางของดวงอาทิตย์ โคโมสเฟียร์แปลว่า “ทรงกลมสี” เพราะเราสามารถมองเห็นมันได้เป็นสีแดงตามขอบของดวงอาทิตย์ ขณะที่เกิดสุริยุปราคาเต็มดวง หรือมองดูด้วยกล้องโทรทรรศน์ติดตั้งแผ่นกรองแสงไฮโดรเจน-อัลฟา โครโมสเฟียร์มีความหนาประมาณ 2,000 กิโลเมตร และมีอุณหภูมิเกือบ 25,000 เคลวิน

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
คอโรนา (Corona)
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
คอโรนา (Corona) เป็นบรรยากาศชั้นบนสุด สามารถมองเห็นได้เป็นแสงสีขาว เฉพาะเวลาที่เกิดสุริยุปราคาเต็มดวงมาก โดยมีรูปทรงสอดคล้องกับสนามแม่เหล็กของดวงอาทิตย์ คอโรนา        มีอุณหภูมิสูงกว่า 1 ล้านเคลวิน

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
พวยก๊าซ และการประทุจ้า
แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่
ก๊าซร้อนบนดวงอาทิตย์พุ่งตัวสูงเหนือชั้นโฟโตสเฟียร์ขึ้นมาหลายหมื่นกิโลเมตร เรียกว่า “พวยก๊าซ” (Prominences) ในบางครั้งมีการระเบิดใหญ่กว่าเรียกว่า “การประทุจ้า” (Solar flare)       ทำให้เกิดประจุ (ion) พลังงานสูง แผ่รังสีเอ็กซ์ และอุลตราไวโอเล็ต ซึ่งเรียกว่า “พายุสุริยะ”

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่

ภาพที่ 142 บรรยากาศชั้นคอโรนา (Corona)
ที่มา : http://astroschool.science.cmu.ac.th/dara/sites/default/files/pictures/lesson7_pic9.gif

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่

แรงในข้อใดที่ทำให้กลุ่มของดาวฤกษ์อยู่รวมกันจนเป็นกาแล็กซี่