ปัจจัยใดมีผลต่อการเสื่อมอำนาจของอาณาจักรสุโขทัย

㹾.�. 1762 ��� ����繻շ������ش����Ҫ�ӹҨ�ͧ�����Ҫ�����ѹ��� 7 ����繡�ѵ����������վ�к��പҹ��Ҿ�ҡ���ͧ��˹�� �������⢷�»��Ȩҡ�ѵ���ѹ������������ͧ�����ç��Ҩж١���¡�Ѿ����һ�Һ����㹪�ǧ�����ѧ�С����ҧ���ҧ�Ҫ�ҹ�

  • ��������秢ͧ������Ф������Ѥ�բͧ����
  • ������������⢷�¹������ӷ������� �����ҭ �դ�������ö ����ըԵ�������е����ǹ����٧ ��� ��͢ع�ҧ��ҧ��� ������ͧ�ҧ�ҧ ��о�͢ع�����ͧ������ͧ�Ҵ �������ö�ѡ�ǹ��餹�¼�֡���ѧ�������Ѥ��������͡ѹ������Ѻ���â�� ����з�����Ѻ��ª������ö��С�ȵ������������ͧ����������Է�ԾŢͧ����ա����

  • ������ѡ������������բͧ��
  • �������ѡɳл�ШӪҵ����ҧ˹�觡����ѡ������������� ���ͺ����������ӹҨ������ͺ��ö١�����ѧ�Ѻ�ͧ���� �ѧ��� ����;�͢ع�ҧ��ҧ�����о�͢ع�����ͧ�չ�º�·��ТѺ���ǡ�����лŴ����¡�ا��⢷������������ �֧���Ѻ�����������ʹѺʹع�ҡ���·��������ҧ��������§

  • ��Ҿ���ŷ����
  • ���ͧ�ҡ��ا��⢷�µ������������������� ����ö�Դ��͡Ѻ���ͧ�������дǡ��駷ҧ����зҧ��� ���ҧ�ط���ʵ�������ͧ�����ç�Ѻ��ö١�Դ������С���觡��ѧ������һ�ͧ�ѹ����֡ ���ҧ���ɰ�Ԩ���繪�����ҧ��ä����С����л�١�������ö����§���ͧ�� ��觡�èоѲ�Һ�ҹ���ͧ����դ�����ԭ������ͧ ���������͡�ʻ��ʺ��������������

                    เชื่อกันว่า อาณาเขตของอาณาจักรสุโขทัยในรัชสมัยนี้ ทางทิศเหนือจดเมืองแพร่ทิศใต้จดนครสวรรค์ (พระบาง) ทิศตะวันตกจดเมืองตาก ทิศตะวันออกจดจังหวัดเพชรบูรณ์ พ่อขุนศรีอินทราทิตย์ สวรรคตในปีใดไม่ปรากฏหลักฐานแน่ชัด
            ด้วยสาเหตุทั้ง 2 ประการนี้ จึงเป็นเหตุทำให้อาณาจักรสุโขทัยอ่อนแอลง จนกระทั่งทำให้อาณาจักรอยุธยาสามารถแผ่ขยายอำนาจเข้าไปยังสุโขทัย และภายหลังสุโขทัยก็ถูกผนวกรวมเข้ากับอาณาจักรอยุธยาในสมัยพระบรมไตรโลกนาถ

                    เมื่อพระมหาธรรมราชาที่ 4  (บรมปาล)  สิ้นพระชนม์  สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 2  จึงผนวกอาณาจักรสุโขทัยเข้าไว้ในอาณาจักรอยุธยา  โดยส่งพระราเมศวร  พระราชโอรสของพระองค์  ซึ่งประสูติโดยพระนางสาขา พระราชธิดาของพระมหาธรรมราชาที่ 3  (ไสยลือไทย)  ไปครองเมืองพิษณุโลกใน พ.ศ. 1981   อาณาจักรสุโขทัยจึงกลายเป็นส่วนหนึ่งของอาณาจักรอยุธยา  นับเป็นการสิ้นสลายของอาณาจักรสุโขทัยแต่บัดนั้น

    นับตั้งแต่สิ้นรัชกาลพ่อขุนรามคำแหง อาณาจักรสุโขทัยเริ่มอ่อนแอ พระมหาธรรมราชา ที่ 1 (พญาลิไท) ทรงใช้พระพุทธศาสนาเป็นเครื่องมือช่วยเสริมสร้างเพื่อให้อาณาจักรสุโขทัยมีความมั่นคงขึ้นบ้าง ระยะต่อมาสถานการณ์ทรุดหนักลง เป็นเหตุทำให้อาณาจักรสุโขทัยเสื่อมสิ้นสุดลงโดยถูกรวมเข้ากับอาณาจักรอยุธยา ด้วยสาเหตุสำคัญดังนี้

    1. ข้อเสียเปรียบทางเศรษฐกิจ
    อาณาจักรสุโขทัยมีที่ตั้งอยู่ห่างจากทะเลมาก ทำให้ไม่มีเมืองท่าเป็นของตนเอง และไม่สามารถติดต่อค้าขายกับต่างประเทศโดยตรงได้ ต้องอาศัยผ่านเมืองมอญ และไปทางใต้ทางเมืองเพชรบุรี และนครศรีธรรมราช นอกจากนั้นอาณาจักรสุโขทัย ยังถูกอาณาจักรอยุธยาปิดกั้น โดยสิ้นเชิงด้วยการให้เมืองเหล่านั้นประกาศเอกราชหรือถูกรวมเข้ากับกรุงศรีอยุธยา ทำให้เศรษฐกิจสุโขทัยทรุดโทรม ขาดรายได้ทั้งการค้ากับต่างประเทศ และการค้าระหว่างเมืองต่างๆ เมื่อเศรษฐกิจทรุดโทรมย่อมนำมาซึ่งความเสื่อมโทรมทางการปกครองด้วย

    2. ความแตกแยกทางการเมือง
    อันเป็นปัญหาสืบเนื่องจากการขาดความสามัคคีภายในอาณาจักรมีการแย่งชิงราชสมบัติ ระหว่างเจ้านายภายในราชวงศ์สุโขทัยด้วยกันเอง เช่นก่อนที่พระมหาธรรมราชาที่ 1 (พญาลิไท) ขึ้นครองราชสมบัติความห่างเหินระหว่างผู้ปกครองกับผู้อยู่ใต้ปกครองมีมากขึ้น เนื่องจากการมีประชากรมากขึ้น ความใกล้ชิดของกษัตริย์ต่อราษฎรได้ลดลงไป ประกอบกับแนวความคิดการปกครองจากพ่อปกครองลูกได้แปรเปลี่ยนเป็นธรรมราชา เนื่องจากสภาพแวดล้อมทางการเมืองนอกจากนั้นวัฒนธรรมอินเดียได้เข้ามามีอิทธิพล ทำให้เกิดความห่างเหินมีมากยิ่งขึ้น จนกลายเป็นแยกกันอยู่คนละส่วน อำนาจในการตัดสินเหตุการณ์ต่าง ๆ ขึ้นอยู่กับพระมหากษัตริย์เพียงผู้เดียว

    3. การปกครองแบบกระจายอำนาจ
    อาณาจักรสุโขทัยเสื่อมอำนาจอย่างรวดเร็ว มาจากจุดอ่อนรูปแบบการปกครองที่มีโครงสร้างค่อนข้างเป็นการกระจายอำนาจที่หละหลวม เจ้าเมืองต่างๆ มีอำนาจในการบริหารและการควบคุมกำลังคนภายในเมืองของตนเกือบจะเต็มที่ ราชธานีไม่สามารถควบคุมหัวเมืองได้อย่างรัดกุม จึงเปิดโอกาสให้หัวเมืองเหล่านั้นแยกตัวเป็นอิสระได้โดยง่าย

    4. ปัญหาทางการเมืองภายนอก
    บริเวณลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยาตอนล่างได้มีการก่อตั้งอาณาจักรอยุธยาและทางตอนเหนือได้มีอาณาจักรล้านนาที่นับว่ามีแต่ความเก่าแก่ บีบอยู่ถึง 2 ด้านโดยเฉพาะอาณาจักรอยุธยาได้เข้ามารุกรานชายแดนสุโขทัยหลายครั้ง นับตั้งแต่ปี พ.ศ. 1914 เป็นต้นมา จนถึงสมัยของ พระมหาธรรมราชาที่ 2 แห่งอาณาจักรสุโขทัย ต้องออกมาอ่อนน้อมยินยอมเป็นเมืองประเทศราชของอาณาจักรอยุธยา
    ในปี พ.ศ.1921 เมื่ออาณาจักรสุโขทัยตกเป็นเมืองประเทศราชของอาณาจักรอยุธยา พระมหากษัตริย์ของอาณาจักรสุโขทัย เสด็จมาประทับที่เมืองสองแคว จนถึงปีพ.ศ.1962 พระมหาธรรมราชาที่ 3 เสด็จสวรรคตที่เมืองสองแคว ได้เกิดจราจลแย่งชิงราชสมบัติระหว่าง พญาบานเมืองกับพญารามคำแหง โดยสมเด็จพระนครินทราธิราชแห่งอาณาจักรอยุธยา
    ได้เสด็จขึ้นมาระงับเหตุการณ์ ทั้งสองพระองค์ต้องออกมาถวายบังคม จึงโปรดเกล้าฯ
    ให้พญาบานเมืองเป็นพระมหาธรรมราชาที่ 4 ครองเมืองสองแคว เมื่อสิ้นรัชกาลนี้แล้วไม่ปรากฏผู้จะปกครองต่อไป อาณาจักรสุโขทัยมีเมืองหลวงอยู่ที่ เมืองสองแคว จึงรวมเข้ากับอาณาจักรอยุธยาในปี พ.ศ. 1981 โดยมีสมเด็จพระราเมศวร (พระบรมไตรโลกนาถ) ขึ้นมาปกครองดูแล อาณาจักรสุโขทัยจึงนับว่าได้สิ้นสุดลง

    สรุปได้ว่า การที่อาณาจักรสุโขทัยเสื่อมอำนาจอย่างรวดเร็ว มีสาเหตุมาจากจุดอ่อน ในรูปแบบการปกครองที่มีโครงสร้างแบบกระจายอำนาจ วิธีการควบคุมกำลังคนไม่กระชับรัดกุม ทำเลอาณาจักรไม่เหมาะสม เศรษฐกิจไม่มั่งคั่ง ตลอดจนการเป็นรัฐกันชนระหว่างอาณาจักรล้านนาและกรุงศรีอยุธยา จึงทำให้อาณาจักรสุโขทัยสิ้นสุดลง