สำนักงานจังหวัดทำหน้าที่อะไรบ้าง

ประวัติสำนักงานจังหวัด

ส านักงานจังหวัดเป็นหน่วยงานบริหารราชการส่วนภูมิภาค ด าเนินการเป็น ศูนย์กลาง ในการบริหารงานของผู้ว่าราชการจังหวัด เช่นเดียวกับส านักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย ซึ่งเป็น ศูนย์กลางของการบริหาร ราชการของกระทรวงมหาดไทยในส่วนกลางส านักงานจังหวัด เป็นหน่วยงานที่ ปรากฎชื่อเป็นครั้งแรกในพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2495 ซึ่งตามมาตรา 38 ของ พระราชบัญญัติดังกล่าว ก าหนดไว้ว่า “ให้แบ่งส่วนราชการของจังหวัดดังนี้ ส านักงานจังหวัด มีหน้าที่เกี่ยวกับราชการทั่วไปของจังหวัดนั้น มีผู้ว่าราชการจังหวัดเป็น ผู้ปกครองบังคับ บัญชาและรับผิดชอบส่วนต่าง ๆ ซึ่งกระทรวง ทบวง กรม ได้ตั้งขึ้น มีหน้าที่เกี่ยวกับราชการของกระทรวง ทบวง กรม นั้น ๆ มีหัวหน้าส่วนราชการประจ าจังหวัดนั้น ๆ เป็นผู้ปกครองบังคับบัญชาและรับผิดชอบ ”

กระทรวงมหาดไทยโดยความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 28 สิงหาคม 2516 จึงได้ก าหนดให้มีอัตราก าลังเจ้าหน้าที่ เพื่อท าหน้าที่ช่วยเหลือผู้ว่าราชการจังหวัดขึ้นใน ส านักงานจังหวัด 5 จังหวัด และได้มีมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 27 พฤษภาคม 2518 ก าหนดให้ขยายการ จัดอัตราก าลังเพิ่มขึ้นในปี พ.ศ. 2518 อีกจ านวน 16 จังหวัด และในปี พ.ศ. 2519 จ านวน 49 จังหวัด ตามล าดับ ทั้งนี้ เพื่อให้ส านักงานจังหวัดเป็นหน่วยงานที่มีขีดความสามารถในการบริหารราชการส่วนภูมิภาค ด าเนินการเป็นศูนย์กลางในการบริหารงานของผู้ว่าราชการจังหวัด ได้เช่นเดียวกับส านักงานปลัดกระทรวง มหาดไทยในส่วนกลาง ส านักงานปลัดกระทรวงมหาดไทยเป็นผู้รับผิดชอบในการบริหารการวินิจฉัยสั่งการ การประสานงานร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการสนับสนุนการปฏิบัติงานของส านักงานจังหวัดให้เป็นไป ตามนโยบาย ซึ่งได้จัดให้มีเจ้าหน้าที่ขึ้นในส่วนราชการของส านักงานจังหวัดเป็นครั้งแรกในปี พ.ศ. 2517 ใน 5 จังหวัด ได้แก่ พระนครศรีอยุธยา นครสวรรค์ ชลบุรี สงขลา และยะลา ต่อมา ในปี พ.ศ. 2518 ได้ขยาย การด าเนินการเพิ่มขึ้นใน 16 จังหวัด ได้แก่ นครราชสีมา อุบลราชธานี เชียงใหม่ นครศรีธรรมราช สุราษฎร์ ธานี นราธิวาส ลพบุรี สระบุรี นนทบุรี ฉะเชิงเทรา จันทบุรี สมุทรปราการ สุโขทัย พิจิตร นครปฐม และชุมพร และในปี พ.ศ. 2519 ได้ขยายเพิ่มขึ้นจนครบทุกจังหวัด

อำนาจหน้าที่

1) แปลงยุทธศาสตร์การพัฒนาระดับชาติไปเป็นยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัดในพื้นที่

2) พัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศเพื่อการบริหาร ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์เพื่อการวางแผน และเครือข่าย สารสนเทศของจังหวัด โดยเป็นศูนย์สารสนเทศของจังหวัด เพื่อการบริหารและวางแผนพัฒนาจังหวัด

3) จัดท าแผนพัฒนาจังหวัด ด าเนินการตามแผน ก ากับและติดตามผลการด าเนินงานตามยุทธศาสตร์ นโยบาย และแผนพัฒนาจังหวัด รวมทั้งประสานการจัดท าแผนพัฒนากลุ่มจังหวัด

4) จัดท าแผนปฏิบัติราชการประจ าปีของจังหวัดหรือค าของบประมาณของจังหวัด และประสานการจัดท า แผนปฏิบัติราชการประจ าปีของกลุ่มจังหวัดหรือค าของบประมาณของกลุ่มจังหวัด

5) ด าเนินการด้านการบริหารทรัพยากรบุคคลและการพัฒนาระบบราชการของจังหวัด

6) อ านวยการ ประสาน ปฏิบัติงาน และสนับสนุนงานอันเป็นอ านาจหน้าที่ของผู้ว่าราชการจังหวัด

7) ปฏิบัติงานร่วมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นทีเกี่ยวข้อง

ผังโครงสร้าง

สำนักงานจังหวัดทำหน้าที่อะไรบ้าง

ชื่อสำนักงานจังหวัดปรากฎขึ้นเป็นครั้งแรกในพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พุทธศักราช 2495 ในส่วนที่ว่าด้วยการแบ่งส่วนราชการของจังหวัด ตามมาตรา 38 ได้บัญญัติให้แบ่งส่วนราชการของจังหวัด ดังนี้

- สำนักงานจังหวัด มีหน้าที่เกี่ยวกับราชการทั่วไปของจังหวัด และมีผู้ว่าราชการจังหวัดเป็นผู้ปกครองบังคับบัญชาและรับผิดชอบ

- ส่วนราชการต่าง ๆ ซึ่งกระทรวง ทบวง กรม ได้จัดตั้งขึ้น มีหน้าที่เกี่ยวกับราชการของกระทรวง ทบวง กรมนั้นๆ

แม้ว่ากฎหมายฉบับดังกล่าวได้กำหนดให้มีสำนักงาน เป็นศูนย์กลางในการบริหารราชการอำนวยการและประสานราชการจังหวัด ตั้งแต่พุทธศักราช 2495 ก็ตามแต่ก็ยังมิได้มีการจัดตั้งสำนักงานจังหวัด จนกระทั่งพุทธศักราช 2516 คณะรัฐมนตรีได้มีมติเมื่อวันที่ 28 สิงหาคม พุทธศักราช 2516 เห็นชอบให้มีอัตรากำลังเจ้าหน้าที่ของสำนักงานจังหวัดในปีพุทธศักราช 2519

ต่อมาภายหลังได้ยกฐานะสำนักงานจังหวัดเป็นส่วนราชการสังกัด สำนักงานปลัดกระทรวงมหาดไทยโดยมีหัวหน้าสำนักงานจังหวัดเป็นผู้บังคับบัญชา และมีภารกิจหน้าที่อยู่ 2 ประการ ได้แก่ การปฏิบัติหน้าที่ในฐานะสำนักงานเลขานุการผู้ว่าราชการจังหวัด และรับผิดชอบในการจัดทำแผนพัฒนาจังหวัด

เนื่องจากสำนักงานจังหวัดเป็นหน่วยงานราชการ จึงมีการจัดโครงสร้างและการบริหารจัดการในรูปแบบขององค์การระบบราชการ (Ideal Type Bureaucracy) ที่แบ่งงานกันตามความถนัดเฉพาะด้าน (Specialization) ยึดหลักสายการบังคับบัญชาตามลำดับชั้น (Hierachy) ยึดกฎหมายและระเบียบเป็นหลักในการปฏิบัติงาน (Procedures and regulations) เน้นความสัมพันธ์ที่ไม่เป็นส่วนตัว ไม่ยึดติดในตัวบุคคลแต่ยึดตำแหน่งเป็นหลัก (Impersonallity) มีรับบุคลากรเข้าทำงานและเลื่อนตำแหน่งหรือให้ผลตอบแทน ตามความสามารถ (Competency) และมีความมั่นคงในอาชีพการงาน (tenure)

สำนักงานจังหวัดทำหน้าที่อะไรบ้าง

Kanchanaburi history can date back to the pre-historical era. There is the discovery of many archaeological evidence such as stone tools from Neolithic Age and Metal Age, human skeletons, clay pottery and body accessories, coloured paintings in caves around cliffs, along Khwae Noi River and Khwae Yai River, and around Mae Klong River Basin.
In Ayutthaya Era, Kanchanaburi was an important city because it was in the frontline whenever there was a war with Burma (Myanmar). The enemies approached Ayutthaya through Chedi Sam Ong (Three Pagoda) Pass. Sometimes, Kanchanaburi was a battlefield as well. During Thonburi Era, Thailand has around 10 wars with Burma.
In Rattankosin Era, there was Song Khram Kao Thap (the 9 Troop-War) at Lat Ya Field. After that war, the city was moved from Lat Ya to the current Park Phraek Sub-district. In A.D. 1831, His Majesty King Rama II ordered the permanent city wall and forts to be built.
Kanchanaburi City had been located in Pak Phraek from A.D. 1831 to A.D. 1955 before all the governmental offices and the City Hall were moved to the current location or Ban Bo Village, Saeng Chuto Road, Pak Phraek Sub-district, which is around 3 kilometers away from the previous City Hall.
Physical Characteristics
Location and Borders
Location: Kanchanaburi Province is located in the west and around 129 kilometers away from Bangkok on Nakhon Pathom - Ban Pong Route. Kanchanaburi has a border that is adjacent to the Republic of the Union of Myanmar, which is around 371 kilometers long and consists of around 43 natural passes.

Territory
The northern border is adjacent to Tak Province and Uthai Thani Province.
The southern border is adjacent to Ratchaburi Province.
The eastern border is adjacent to Suphan Buri Province and Nakhon Pathom Province.
The western border is adjacent to the Republic of the Union of Myanmar.

สำนักงานจังหวัดทำหน้าที่อะไรบ้าง

--- อยู่ระหว่างปรับปรุงข้อมูล---

สํานักงานจังหวัดคืออะไร

สำนักงานจังหวัดเป็นหน่วยงานที่มีขีดความสามารถในการบริหารราชการส่วนภูมิภาคดำเนินการเป็นศูนย์กลางในการบริหารงานของผู้ว่าราชการจังหวัด ได้เช่นเดียวกับสำนักงานปลัดกระทรวงมหาดไทยในส่วนกลาง สำนักงานปลัดกระทรวงมหาดไทยเป็นผู้รับผิดชอบในการบริหาร การวินิจฉัยสั่งการ การประสานงานร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการสนับสนุน

สำนักงานจังหวัด กรมอะไร

ต่อมาภายหลังได้ยกฐานะสำนักงานจังหวัดเป็นส่วนราชการสังกัด สำนักงานปลัดกระทรวงมหาดไทยโดยมีหัวหน้าสำนักงานจังหวัดเป็นผู้บังคับบัญชา และมีภารกิจหน้าที่อยู่ 2 ประการ ได้แก่ การปฏิบัติหน้าที่ในฐานะสำนักงานเลขานุการผู้ว่าราชการจังหวัด และรับผิดชอบในการจัดทำแผนพัฒนาจังหวัด

ผู้ว่าราชการจังหวัดมีหน้าที่ทำอะไรบ้าง

ผู้ว่าราชการจังหวัดมีอ านาจและหน้าที่ตามที่ก าหนดไว้ใน พ.ร.บ.ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ดังนี้ 1. บริหารราชการตามกฎหมาย ระเบียบแบบแผนของทางราชการ และตามแผนพัฒนาจังหวัด 2. บริหารราชการตามที่คณะรัฐมนตรี กระทรวง ทบวง กรม มอบหมาย หรือตามที่นายกรัฐมนตรี สั่งการในฐานะหัวหน้ารัฐบาล

ผู้ว่าการจังหวัด ทำงานที่ไหน

ประวัติสำนักงานจังหวัด สำนักงานจังหวัดเป็นหน่วยงานบริหารราชการส่วนภูมิภาค ดำเนินการเป็นศูนย์กลาง ในการบริหารงานของผู้ว่าราชการจังหวัด เช่นเดียวกับสำนักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย ซึ่งเป็นศูนย์กลางของการบริหาร ราชการของกระทรวงมหาดไทยในส่วนกลางสำนักงานจังหวัด เป็นหน่วยงานที่ปรากฎชื่อเป็นครั้งแรกในพระราชบัญญัติระเบียบบริหาร ...