เกษตรกรรม แบ่งออกเป็นกี่ประเภท

เกษตรกรรม แบ่งออกเป็นกี่ประเภท

เกษตรกรรม หมายถึง

     

เกษตรกรรม (อังกฤษ: Agriculture) หมายถึง กระบวนการผลิตอาหาร เส้นใย เชื้อเพลิง และผลิตภัณฑ์อื่นๆ โดยวิธีการเพาะปลูกพืช มีชื่อเรียกเฉพาะว่า "กสิกรรม" และวิธีการเลี้ยงสัตว์ทั้งสัตว์บก สัตว์น้ำ อย่างเป็นระบบ ผู้ที่ประกอบอาชีพเกษตรกรรมเรียกว่า เกษตรกร

     แรงงานจำนวน 42% ของทั้งโลกอยู่ในภาคเกษตรกรรม จึงถือว่าเป็นกลุ่มอาชีพที่แพร่หลายที่สุด แต่อย่างไรก็ตาม ผลผลิตทางด้านเกษตรกรรมยังคงมีปริมาณเพียงไม่ถึง 5% ของผลผลิตมวลรวมของโลก (Gross World Product: GWP)

ประเภทของเกษตรกรรม

เกษตรกรรมแบ่งได้เป็น 4 ประเภท คือ
1. กสิกรรม หมายถึง การเพาะปลูกพืช เช่น การทำนา การทำสวน การทำไร่ เป็นต้น

2. ปศุสัตว์ หมายถึง การประกอบอาชีพเลี้ยงสัตว์บนบก เช่น เลี้ยงวัว เลี้ยงหมู หรือเลี้ยงสัตว์จำพวกสัตว์ปีก เป็นต้น

3. การประมง หมายถึง การประกอบอาชีพการเกษตรทางน้ำ เช่น การเลี้ยงสัตว์น้ำ การจับสัตว์น้ำ เป็นต้น

4. ด้านป่าไม้ หมายถึง การประกอบอาชีพเกี่ยวกับป่า เช่น การปลูกป่าไม้เศรษฐกิจ การนำผลผลิตจากป่ามาแปรรูปให้เกิดประโยชน์ เป็นต้น

จุดเริ่มต้นในสมัยโบราณ

     การทำเกษตรกรรมอย่างเป็นระบบปรากฏขึ้นเป็นครั้งแรกในภูมิภาคเอเชียตะวันตกเฉียงใต้ในดินแดนแถบ Fertile Crescent โดยเฉพาะในบริเวณที่เป็นประเทศซีเรียและตอนใต้ของอิรักในปัจจุบัน เมื่อช่วงประมาณ 9,500 ปีก่อนคริสตกาล คนในสมัยนั้นเริ่มมีการคัดเลือกพืชอาหารที่มีลักษณะตามความต้องการเพื่อนำไปเพาะปลูก

     ประมาณ 7,000 ปีก่อนคริสตกาล ระบบเกษตรกรรมขนาดเล็กได้แพร่เข้าไปสู่อียิปต์ ในช่วงเวลาเดียวกัน ก็เริ่มมีการเพาะปลูกข้าวสาลีและข้าวบาร์เลย์ในอนุทวีปอินเดีย ซึ่งปรากฏหลักฐานในการขุดค้นแหล่งโบราณคดี Mehrgarh ในภูมิภาค Balochistan จนถึงเมื่อ 6,000 ปีก่อนคริสตกาล ในอียิปต์เริ่มมีการทำเกษตรกรรมขนาดกลางบนริมฝั่งแม่น้ำไนล์ และในช่วงเวลานี้ในภูมิภาคตะวันออกไกลก็มีการพัฒนาทางเกษตรกรรมในรูปแบบเฉพาะตน โดยจะเน้นเพาะปลูกข้าวเจ้าเป็นพืชผลหลักมากกว่าข้าวสาลี

* * * * *

เกษตรกรรม แบ่งออกเป็นกี่ประเภท

ที่มา : วิกิพีเดีย

เกษตรกรรม แบ่งออกเป็นกี่ประเภท


                        เกษตรกรรมมีกี่ประเภท? อะไรบ้าง


 "เกษตรกรรมแบ่งได้เป็น 4 ประเภท คือ

1. กสิกรรม หมายถึง การเพาะปลูกพืช เช่น การทำนา การทำสวน การทำไร่ เป็นต้น

เกษตรกรรม แบ่งออกเป็นกี่ประเภท

https://2.bp.blogspot.com/

เกษตรกรรม แบ่งออกเป็นกี่ประเภท

https://2.bp.blogspot.com

2. ปศุสัตว์ หมายถึง การประกอบอาชีพเลี้ยงสัตว์บนบก เช่น เลี้ยงวัว เลี้ยงหมู หรือเลี้ยงสัตว์จำพวกสัตว์ปีก เป็นต้น

เกษตรกรรม แบ่งออกเป็นกี่ประเภท
    

https://1.bp.blogspot.com

เกษตรกรรม แบ่งออกเป็นกี่ประเภท
 

https://2.bp.blogspot.com

3. การประมง หมายถึง การประกอบอาชีพการเกษตรทางน้ำ เช่น การเลี้ยงสัตว์น้ำ การจับสัตว์น้ำ เป็นต้น

เกษตรกรรม แบ่งออกเป็นกี่ประเภท

https://2.bp.blogspot.com

4.  การเกษตรผสมผสาน เป็นการจัดระบบกิจกรรมการเกษตรได้แก่ ปลูกพืชเลี้ยงสัตว์ ประมง ให้มีการผสมผสานและเกื้อกูลในการผลิตซึ่งกันและกัน โดยใช้ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างเหมาะสมให้เกิดประโยชน์สูงสุด

เกษตรกรรม แบ่งออกเป็นกี่ประเภท

https://2.bp.blogspot.com

แหล่งที่มา http://www.trueplookpanya.com/new/asktrueplookpanya/questiondetail/673

การเพาะปลูกมีกี่ประเภท

วิธีการขยายพันธุ์พืชโดยใช้เมล็ด ในการขยายพันธุ์พืช หรือปลูกพืชโดยใช้เมล็ด โดยทั่วไปมักจัดทำกันอยู่ ๓ แบบ คือ ๑. เพาะเมล็ดในแปลงเพาะ หรือในภาชนะเพาะ ๒. เพาะหรือปลูกเมล็ดในแปลงปลูกโดยตรง ๓. เพาะหรือปลูกเมล็ดในภาชนะเดี่ยว

เกษตรกรรมเป็นอย่างไร

เกษตรกรรม หมายถึง กระบวนการผลิตอาหารเส้นใยเชือเพลิง และผลิตภัณฑ์อืนๆ โดยวิธีการเพาะปลูกพืช มีชือเรียกเฉพาะว่า “ กสิกรรม” และ วิธีการเลียงสัตว์ทังสัตว์บก และสัตว์นํา อย่างเป็นระบบผู้ทีประกอบอาชีพเกษตรกรรมเรียกว่า เกษตรกร แรงงานจํานวน 42% ของทังโลกอยู่ในภาค เกษตรกรรม จึงถือว่าเป็นกลุ่มอาชีพทีแพร่หลายทีสุด แต่อย่างไร

เกษตรกรเป็นอาชีพประเภทใด

เกษตรกร เป็นอาชีพหนึ่งที่ทำงานเกี่ยวกับเกษตรกรรม รวมทั้งการเลี้ยงสัตว์และการประมง เพื่อผลิตเป็นอาหาร เส้นใยธรรมชาติ ผลิตเชื้อเพลิงต่าง ๆและผลิตผลอื่น ๆ ที่สามารถนำไปใช้ได้ทั้งการอุปโภคและบริโภค เป็นอาชีพอิสระที่ไม่จำเป็นต้องขึ้นตรงกับหน่วยงานใด สามารถบริหารจัดการเวลาและวางแผนการทำงานได้เอง ในปัจจุบันพบว่า

การเกษตรแบบยังชีพ มีอะไรบ้าง

การเกษตรแบบยังชีพ คือ การเพาะปลูกพอยังชีพซึ่งหมายถึงการเพาะปลูกแบบ ดั้งเดิมแบบหนึ่งโดยการปลูกพืชใช้กินเป็นอาหารภายในครอบครัวไม่ได้ปลูกมากเหลือใช้พอที่จะ ส่งไปขายนอกท้องถิ่นได้ การเกษตรธรรมชาติ การเกษตรแบบนี้เป็นการเกษตรแบบที่กลับไปหา ธรรมชาติหรือการเกษตรแบบฟื้นฟูธรรมชาติให้กลับมาดั้งเดิมนั่นเอง