เทคนิคการสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ มีอะไรบ้าง

การสร้างสรรค์ทางศิลปะ

หมายถึง การนำเสนอสิ่งแปลกใหม่ที่ไม่เคยมีมาก่อน ในทางศิลปะสามารถกระทำโดยการนำวิธีจัดรูปแบบองค์ประกอบศิลปะโดยใช้ทัศนะธาตุ เช่น เส้น สี น้ำหนัก พื้นผิว รูปร่าง รูปทรง เป็นสื่อในการถ่ายทอด และผ่านเทคนิคต่าง ๆ ในทางจิตรกรรมอาจใช้ ดินสอสี สีน้ำมัน สีน้ำ สีอะครายลิค สีฝุ่น หรือเทคนิคผสม เป็นต้น

กระบวนการสร้างสรรค์ สามารถแสดงออกได้หลายวิธีการดังนี้

  1. การสร้างสรรค์แบบรูปธรรม (Realistic)
  2. การสร้างสรรค์กึ่งนามธรรม (Semi Abstract)
  3. การสร้างสรรค์นามธรรม (Abstract)

เช่นในงานศิลปะในแนวImpressionism, Neo-Impressionism,และ Abstract เป็นต้น

แหล่งที่มาของความคิดสร้างสรรค์

ตัวอย่างความคิดสร้างสรรค์ทางศิลปะอาจมีที่มาจากแรงบันดาลใจ ดังนี้

  1. การเดินทางเยี่ยมชม ธรรมชาติ พิพิธภัณฑ์ทางศิลปะ งานแสดงศิลปะ ฯลฯ
  2. การอ่านหนังสือ นิตยสาร วารสาร วรรณกรรม วรรณคดี
  3. การแสดงพื้นบ้านในเทศกาลต่าง ๆ
  4. การศึกษาขนบธรรมเนียม ประเพณี และวัฒนธรรม ศาสนา
  5. การฟังดนตรี นกร้อง สัตว์ และแมลงต่าง (ศึกษาเรื่องเสียง)
  6. การศึกษาเรื่องทางวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี หลักฟิสิกส์
  7. สังเกตจากปรากฏการณ์ธรรมชาติ เช่น ฝนตก ฟ้าแลบ ฟ้าผ่า รุ้งกินน้ำ ฯลฯ ทำเป็นงานศิลปะ
  8. เดินทางทุก ๆ 1 กิโลเมตร บันทึกเป็นงานศิลปะ
  9. ผูกกล้องติดขา เดินไปข้างหน้า กดชัตเตอร์ทุก 10 ก้าว แล้วนำมาสร้างเป็นงานศิลปะ
  10. ทำงานศิลปะเกี่ยวกับเวลา
  11. ทำงานเกี่ยวกับแสง หรือบางทีอาจนำแสงและเสียงมาประกอบเข้ากันสร้างสรรค์เป็นงานศิลปะ
  12. ทำงานศิลปะที่เกี่ยวข้องกับความเป็นตรงกันข้าม เช่น ทำโดยใช้สิ่งที่ตัวเราเองเกลียดที่สุด สีที่ไม่เคยใช้ ทำสิ่งที่ทุกคนเกลียด เห็นคุณค่าในสิ่งที่ไร้คุณค่า เช่น นำวัสดุเหลือใช้ฟุ่มเฟือยมาสร้างเป็นงานศิลปะ
  13. ศึกษาเรื่องลม และความรู้สึกทุก 20 นาที แล้วนำมาสร้างสรรค์
  14. ทำงานศิลปะเกี่ยวกับที่ว่าง
  15. ทำงานศิลปะเกี่ยวกับแรงโน้มถ่วง ความสมดุลย์
  16. การล่องเรือ ดำน้ำ ว่ายน้ำ ชมปะการัง
  17. ดูภาพยนตร์ ทีวี วีดีโอ
  18. ปรากฏการณ์จากความฝันนำมาสร้างงานทางศิลปะ
  19. นั่งสมาธิ เดินจงกรมทุก 10 นาทีแล้วนำมาสร้างสรรค์
  20. สนทนาแลกเปลี่ยนความคิดกับคนหลากหลายอาชีพ แล้วนำมาสร้างงานศิลปะ
  21. ศึกษาเรื่องรสแล้วนำมาเป็นงานศิลปะ
  22. ศึกษาเรื่องกลิ่น แล้วนำมาเป็นงานศิลปะ
  23. เล่าประสบการณ์แลกเปลี่ยนกับเพื่อนศิลปินแล้วนำมาทำเป็นงานศิลปะ
  24. คิดถึงเพื่อนที่สนิทที่สุดนำมาทำเป็นงานศิลปะ

25.   หลับตา ลืมตาทุก 5 นาที แล้วนำมาทำเป็นงานศิลปะ

26.   นำเอาความสะเทือนใจในช่วงชีวิตมาสร้างสรรค์ เช่น ความรัก ความโกรธ ความสูญเสีย ความตาย เป็นต้น

27. การฟังธรรมะแล้วนำมาทำงานศิลปะ

28. จ้องมองท้องฟ้าดูกลุ่มก้อนเมฆที่เคลื่อนไหว พระจันทร์ ดวงอาทิตย์ ฯ

วิธีการสร้างสรรค์ผลงานศิลปะ

โดยปกติกระบวนการสร้างสรรค์ผลงานด้านศิลปะนั้น ส่วนใหญ่ศิลปินจะเริ่มจากกระบวนการคิดและปฏิบัติตามขั้นตอน ดังนี้

  1. วางกรอบแนวทางจากความคิดรวบยอด(concept)ในการสร้างสรรค์จากสิ่งที่ประทับใจ แรงบันดาลใจ(Inspiration) จากเนื้อหาดังกล่าวข้างต้น เพียง 1 ประเด็น (จากแหล่งที่มาของความคิดสร้างสรรค์)
  2. ศึกษา ค้นคว้า ทำวิจัย(research)หรือจากผลงานของศิลปินที่สร้างสรรค์ผลงานศิลปะ เกี่ยวกับเรื่องนั้น ๆ โดยเฉพาะ
  3. พยายามสรุปประเด็นทำงานออกมากเป็นลักษณะตัวเองโดยการทดลองเทคนิคที่จะใช้ในการสร้างสรรค์โดย ทำซ้ำ เปลี่ยนแปลงรูปแบบ อาจนำกล้องดิจิตอล คอมพิวเตอร์ มาช่วยในการ สะเก็ด(Sketch)จนได้ผลเป็นที่พอใจ แล้วนำไปเป็นกลวิธี( Technique)ที่พึงพอใจที่สุดไปใช้ในการสร้างสรรค์ผลงานศิลปะชิ้นนั้นๆ
  4. คัดเลือกและสร้างสรรค์ผลงานที่มีลักษณะ เฉพาะตน ตามจุดประสงค์ที่วางไว้ เช่น ชุด(Series) ละ 10 ชิ้น 20 ชิ้น และ
  5. เริ่มโครงการใหม่(New Project)ใหม่ โดยนำวิธีการสร้างสรรค์จากข้อ 1-4 มาปฏิบัติและต้องสำนึกอยู่เสมอว่าผลงานที่เกิดจากกระบวนการสร้างสรรค์นั้นจะต้องเปลี่ยนแปลงและพัฒนารูปแบบที่นำไปสู่สิ่งแปลกใหม่อยู่เสมอ

การพัฒนาการทางความคิดสร้างสรรค์จะเกิดการเปลี่ยนแปลงอยู่เสมอก็ต่อเมื่อศิลปินเปิดใจกว้างโดยยอมรับให้อิทธิพลของสิ่งเร้าจากบริบทต่าง ๆ ตลอดจนรูปแบบ (Style) ของศิลปินท่านอื่น ๆ เข้ามามีบทบาทร่วมในการแสดงออกทั้งทางด้านความคิดและแรงบันดาลใจในผลงานแต่ละชิ้นของตนเองบ้าง เพื่อให้เกิดผลในด้านพัฒนาการทางความคิดสร้างสรรค์ สิ่งสำคัญที่สุดคือการสร้างสรรค์ผลงานแต่ละครั้งนั้น ศิลปินจะต้องมีสิ่งเร้าที่เกิดขึ้นจากความต้องการภายในจิตใจของศิลปินเอง (Intrinsic Value)

ที่มา

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ คเณศ ศีลสัตย์

จากเว็บไซต์ fa.kku.ac.th/th2/e-Learning/word/kanad01.doc

เทคนิควธิ ีการในการสรา้ งงานทัศนศิลป์ของศลิ ปนิ 1

เทคนิควธิ กี ารในการสรา้ งงานทัศนศลิ ปข์ องศิลปนิ 2

คำชี้แจงสำหรบั นักเรยี น

การเรียนรู้โดยใชเ้ อกสารประกอบการเรยี นรวู้ ชิ าศลิ ปะ ศ33102 เรอื่ ง เทคนิควธิ ีการในการสร้างงาน
ทศั นศิลปข์ องศลิ ปิน ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ่ี 6 ใช้เวลา 6 ชัว่ โมง นักเรยี นปฏบิ ัตติ ามข้ันตอนที่กาหนดไว้ ดังน้ี

1. นักเรียนทาแบบทดสอบก่อนเรียน จานวน 10 ข้อ ใช้เวลา 10 นาที ตรวจสอบความถูกต้องของ
คาตอบจากบัตรเฉลยแบบทดสอบก่อนเรียนท่ีครูแจกให้ ครูบันทึกคะแนนที่ได้ในแบบบันทึกผลการประเมิน
ด้านความรู้ เพอ่ื ทราบความรู้พืน้ ฐานของนักเรียน

2. นกั เรียนจัดแบ่งกลุ่มละ 4 คน ตามความสมัครใจ เรียกว่ากลุม่ บ้าน โดยกาหนดหมายเลขให้สมาชิก
ในกลุ่ม ต้งั แต่หมายเลข 1-4

3. สมาชกิ แต่ละหมายเลขมารวมกล่มุ กันเป็นกลมุ่ ใหม่ เรยี กว่า กลุ่มผเู้ ชยี่ วชาญ แลว้ ให้กลุม่
ผเู้ ช่ยี วชาญร่วมกนั ศกึ ษาความรูจ้ ากเอกสารประกอบการเรียนรูต้ ามหมายเลขที่ไดร้ บั มอบหมายจนเข้าใจตรงกนั
ดังน้ี

- กล่มุ หมายเลข 1 ศึกษาประวิตแิ ละผลงานของศิลปินคนที่ 1
- กลมุ่ หมายเลข 2 ศกึ ษาประวติ แิ ละผลงานของศิลปนิ คนท่ี 2
- กลุม่ หมายเลข 3 ศกึ ษาประวิตแิ ละผลงานของศลิ ปนิ คนที่ 3
- กลมุ่ หมายเลข 4 ศึกษาประวิตแิ ละผลงานของศลิ ปนิ คนที่ 4
4. เมื่อสมาชิกกลุ่มผู้เชย่ี วชาญศึกษาความรูเ้ สร็จแล้ว ใหก้ ลับเขา้ สกู่ ลุ่มบ้าน แล้วร่วมกนั อภิปราย
แลกเปล่ยี นความรูท้ ี่ไดศ้ ึกษามาใหส้ มาชกิ หมายเลขอื่นฟงั
5. นักเรียนแต่ละกลุม่ ชว่ ยกันทาใบงาน และนาเสนอหนา้ ช้ันเรียน
6. นักเรียนทาแบบทดสอบหลังเรียน จานวน 10 ข้อ ใช้เวลา 10 นาที ตรวจสอบความถูกต้อง
ของคาตอบจากบัตรเฉลยแบบทดสอบหลังเรียนที่ครูแจกให้ ครูบันทึกคะแนนที่ได้ในแบบบันทึกผล
การประเมินด้านความรู้ เพอื่ ตรวจสอบความก้าวหน้าทางการเรียน
7. เม่ือนักเรียนทากิจกรรมเสร็จเรียบร้อยแล้ว ให้เก็บเอกสารประกอบการเรียนรู้ส่งคืนครูผู้สอน เพ่ือ
ความสะดวกในการใช้งานครั้งต่อไป
8. หากนักเรียนเรียนไม่ทันหรือเรียนยังไม่ค่อยเข้าใจให้รับเอกสารประกอบการเรียนรู้ไปศึกษาเพ่ิมเติม
นอกเวลาเรียน เพือ่ ให้เข้าใจมากย่ิงขึน้

เทคนิควธิ ีการในการสรา้ งงานทศั นศลิ ปข์ องศลิ ปนิ 3

มำตรฐำนกำรเรยี นรู้/ตัวช้ีวดั /สำระกำรเรียนรู/้ จุดประสงคก์ ำรเรยี นรู้

1. มำตรฐำนกำรเรยี นรู้
มำตรฐำน ศ 1.1 สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ตามจินตนาการ และความคิดสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์

วิจารณ์คุณค่างานทัศนศิลป์ ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดต่องานศิลปะอย่างอิสระ ชื่นชม และประยุกต์ใช้ใน
ชีวิตประจาวัน

2. ตัวชี้วัด ศ 1.1 ม.4-6/3 วิเคราะห์การเลือกใช้วัสดุ อุปกรณ์ และเทคนิคของศิลปินในการแสดงออกทาง
ทศั นศิลป์

3. สำระกำรเรียนรู้
3.1 เทคนิค วิธกี ารของศลิ ปินในการสรา้ งงานทัศนศิลป์ประเภทจิตรกรรม
3.2 เทคนคิ วธิ ีการของศิลปินในการสร้างงานทศั นศิลป์ประเภทประติมากรรม
3.3 เทคนคิ วิธกี ารของศลิ ปนิ ในการสรา้ งงานทศั นศิลป์ประเภทสอื่ ผสม

4. จุดประสงค์
4.1 บรรยายเทคนิคและวิธีการของศิลปนิ ในการสร้างงานทัศนศิลปป์ ระเภทจิตรกรรมได้
4.1 บรรยายเทคนิคและวธิ ีการของศิลปินในการสร้างงานทัศนศลิ ปป์ ระเภทจติ รกรรมได้
4.1 บรรยายเทคนคิ และวธิ กี ารของศลิ ปินในการสร้างงานทัศนศิลปป์ ระเภทจิตรกรรมได้

5. ดำ้ นคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์
3.1 มีวนิ ยั
3.2 ใฝ่เรยี นรู้
3.3 มงุ่ ม่ันในการทางาน

6. ดำ้ นสมรรถนะสำคญั ของผู้เรียน
6.1 ความสามารถในการคิด
6.2 ความสามารถในการส่ือสาร
6.3 ความสามารถในการใชท้ ักษะชีวิต

เทคนคิ วธิ กี ารในการสรา้ งงานทศั นศลิ ป์ของศลิ ปิน 4

แบบทดสอบกอ่ นเรียน

เรอื่ ง เทคนคิ วธิ ีกำรในกำรสรำ้ งงำนทัศนศิลปข์ องศิลปนิ
วิชำศิลปะ ศ33102 ชั้นมธั ยมศกึ ษำปีท่ี 6

คำช้ีแจง
1. แบบทดสอบน้ีเปน็ แบบเลือกตอบ 4 ตัวเลอื ก จานวน 10 ขอ้ คะแนนเตม็ 10 คะแนน

ใช้เวลา 10 นาที ในการทาแบบทดสอบ
2. ใหน้ ักเรียนทาเครือ่ งหมายกากบาท (X) ลงในชอ่ งสี่เหล่ียม () ให้ตรงกับตัวอักษร

ก, ข, ค หรือ ง ท่ีเป็นคาตอบที่ถูกต้องท่สี ดุ เพียงคาตอบเดียว

1. ข้อใดคือ บุคคลท่ีได้รับการยกย่องให้เป็นศิลปินเอก
สาขาจิตรกรรม
ก. ฟินเซนต์ ฟาน ก็อก
ข. ชิต เหรียญประชา
ค. มาร์เซล ดูชอง
ง. โอกูสต์ โรแดง

2. เทคนิคพิเศษของฟินเซนต์ ฟาน ก็อก คืออะไร
ก. เน้นความกลมกลืน
ข. การระบายสีเป็นแผ่นๆ
ค. เขียนสีนา้ มันบนผืนผ้าใบ
ง. การระบายสีแบบเรียบง่าย

3. ข้อใด คือ จุดเด่นของผลงาน ฟินเซนต์ ฟาน ก็อก
ก. ศิลปะแบบนามธรรม
ข. ภาพจากคนเหมือน
ค. เป็นภาพถ่ายทอดธรรมชาติ
ง. สะท้อนให้เห็นชีวิตของผู้ยากไร้

เทคนิควิธกี ารในการสร้างงานทศั นศลิ ปข์ องศลิ ปิน 5

4. ใครคือผู้นาการวาดภาพแบบนามธรรม โดยใช้รูปทรงเรขาค ณิต
ก. ถวัลย์ ดัชนี
ข. พีต มอนดรีอัน
ค. ชิต เหรียญประชา
ง. ประเทือง เอมเจริญ

5. เทคนิคที่สาคัญของ พีต มอนดรีอัน คือข้อใด
ก. ระบายสีไล่น้าหนักแนวเฉียง
ข. ระบายสีเป็นแผ่นๆ ในแนวตั้ง
ค. ระบายสีเป็นแผ่นๆ ในแนวนอน
ง. ระบายสีเป็นแผ่นๆ ในแนวนอนและแนวต้ัง

6. ประเทือง เอมเจริญ เน้นเทคนิคใดเป็นสาคัญ
ก. องค์ประกอบของทัศนธาตุที่เป็นรูปร่าง รูปทรง
ข. องค์ประกอบของทัศนธาตุที่เป็นสี
ค. การจัดองค์ประกอบของภาพ
ง. การจัดองค์ประกอบศิลป์

7. ข้อใดคือ เทคนิคของพิชัย นิรันต์
ก. เขียนสีน้ามันบนพื้นผ้าใบ
ข. เขียนสีน้ามันกับติดทองคาเปลว
ค. เขียนสีโปสเตอร์แล้วติดทองคาเปลว
ง. เขียนสีน้ามันบนพื้นผ้าใบสลับสีซ้าย-ขวา

8. มีเกลันเจโล บูโอนาร์โรตี ใช้วัสดุในข้อใดสร้างสรรค์ผลงาน
ก. หินทราย
ข. หินอ่อน
ค. หินอ่อนเนื้อสีขาว
ง. ไม้มะฮอกกานี

9. เพราะเหตุใด ธนะ เลาหกัยกุล ใช้เทคนิคการปั้น
ก่อนจะหล่อด้วยโลหะ
ก. ให้ความสาคัญกับรายละเอียดของงาน
ข. เพื่อให้ได้รูปร่าง รูปทรงที่เหมาะสม
ค. เพ่ือใช้เป็นต้นแบบในการหล่อ
ง. เพื่อสร้างงานที่ซับซ้อน

เทคนิควิธกี ารในการสรา้ งงานทัศนศลิ ปข์ องศลิ ปนิ 6

10. มณเฑียร บุญมา ใช้วัสดุใดสร้างสรรค์ผลงานสื่อผสม
ก. โลหะและหินทราย
ข. หินอ่อนและไม้
ค. ผ้า ทองแดง
ง. โลหะและสมุนไพร

เทคนิควิธีการในการสรา้ งงานทัศนศลิ ป์ของศลิ ปนิ 7

บัตรคำตอบแบบทดสอบกอ่ นเรียน

เรอ่ื ง เทคนิควธิ ีกำรในกำรสรำ้ งงำนทศั นศิลป์ของศลิ ปนิ
วิชำศลิ ปะ ศ33102 ช้นั มัธยมศึกษำปีที่ 6

ช่อื ................................................................เลขท่ี ............ช้นั ...............

คำช้ีแจง ใหน้ กั เรยี นทาเคร่ืองหมายกากบาท (X) ลงในช่องส่เี หลย่ี ม () ให้ตรงกับตัวอักษร
ก, ข, ค หรือ ง ทีเ่ ปน็ คาตอบท่ีถูกต้องที่สดุ เพียงคาตอบเดียว
ขอ้ ก ข ค ง
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10

คะแนนท่ไี ด้
ผตู้ รวจ

เทคนคิ วิธกี ารในการสร้างงานทศั นศลิ ป์ของศิลปนิ 8

เฉลยแบบทดสอบก่อนเรยี น

เรอื่ ง เทคนิควธิ กี ำรในกำรสรำ้ งงำนทัศนศิลป์ของศิลปนิ
วชิ ำศิลปะ ศ33102 ชั้นมัธยมศึกษำปที ่ี 6

ข้อ เฉลย
1ก
2ค
3ง
4ข
5ง
6ข
7ข
8ค
9ก
10 ง

เทคนคิ วิธกี ารในการสร้างงานทศั นศิลปข์ องศลิ ปิน 9

ศลิ ปนิ ทัศนศลิ ป์สำขำจิตรกรรม

Vincent Willem van Gogh (วนิ เซนต์ วิลเลียม แวน โกะห์)

ภาพจากhttps://whatsrightintheworldtoday.wordpress.com

Vincent Willem van Gogh (ภาษาดัตช์ออกเสียงว่า ‘ฟัน โคค’) เกิดที่หมู่บ้านเล็กๆ ในเมืองบรา
บันต์ ตาบลซันเดิร์ต ประเทศเนเธอร์แลนด์ในครอบครัวของบาทหลวง สมัยเด็กเขามีบุคลิกขี้อาย อ่อนไหว
เงอะงะ และเก็บตัว เม่ืออายุได้ 16 ปี เขาเร่ิมต้นอาชีพการงานด้วยการเป็นลูกจ้างในแกลเลอรีค้างานศิลปะ
ของคุณลุง แต่ด้วยความซื่อและเถรตรง เขาจึงเบื่อหน่ายเม่ือแกลเลอรีมักจะเอางานชั้นเลวมาหลอกขายให้
ลูกค้าที่ไม่รู้จักงานศิลปะ หลายต่อหลายครั้งเขาถึงกับบอกให้ลูกค้าไม่ซ้ือภาพวาดเหล่าน้ันจนทาให้ถูกไล่ออก
จากงานในที่สดุ

จากนั้น เขาหันไปศึกษาศาสนาอย่างจริงจังและย้ายไปอาศัยในเหมืองถ่านหินในเมืองกันดารเพื่อ
เทศนาส่ังสอนช่วยเหลือคนทุกข์ยากในเหมืองโดยไม่รู้จักเหน็ดเหนื่อย ด้วยความต้ังใจใฝ่ฝันท่ีจะเป็นนักเทศน์
แต่กป็ ระสบความล้มเหลว ในชว่ งนเ้ี องที่เขาเริม่ สเกตซ์และวาดภาพคนในเหมืองเอาไว้

หลังจากกลับมาอยู่บ้านกับพ่อแม่ แวน โกะห์ หวนกลับมาวาดรูปอีกครั้ง เริ่มต้นจากการวาดภาพคน
และทิวทศั นด์ ว้ ยการศกึ ษาเทคนิคการวาดภาพจากหนงั สือกายวภิ าคและทัศนียภาพ รวมถงึ หนงั สอื ศลิ ปะต่างๆ
เขาวาดภาพชาวนาและทิวทัศน์ในละแวกบ้านด้วยปากกาและสีน้า ในช่วงแรกเขาได้แรงบันดาลใจจากศิลปิน
ช้ันครูอย่าง Jean-François Millet, Honoré Daumie และ Rembrandt ซ่ึงว่ากันว่าการเซ็นชื่อศิลปินด้วย
ชือ่ ต้นอยา่ ง Vincent แทนทีจ่ ะเปน็ ช่อื สกลุ กไ็ ด้แรงบนั ดาลใจมาจากเรมบรนั ดตน์ นั่ เอง

เทคนิควิธีการในการสรา้ งงานทศั นศลิ ป์ของศลิ ปิน 10

ในชว่ งปี 1881 เขาได้เข้าเรียนศลิ ปะกับ Anton Mauve จิตรกรเหมือนจรงิ ชนั้ ครูแห่งสถาบัน Hague
School ในกรุงเฮกทไ่ี มเ่ พียงสอนพน้ื ฐานการวาดภาพ การใช้สนี า้ และสีนา้ มนั หากแต่ยงั ขยายขอบเขตพ้ืนฐาน
การแสดงออกในฐานะศิลปินให้เขาด้วย ในช่วงน้ี
เองท่ีเขาวาดภาพหุ่นนิ่งรปู กะหล่าปลีและรองเทา้
ไม้ หรือ Still Life with Cabbage and Clogs
(1881) ด้วยการใช้สีเอิร์ธโทนมืดหม่นสไตล์ดัตช์
ผสมผสานกับการใช้แสงสว่างสดใสซึ่งกลายเป็น
สไตล์อันเป็นเอกลักษณ์เฉพาะตัวของเขาใน
ภายหลัง

Still Life with Cabbage and Clogs (1881)
ภาพจากhttps://commons.wikimedia.org

ปี 1882 เขาวาดภาพทวิ ทศั นส์ นี ้ามัน
ภาพแรกๆ ของตัวเองอย่าง View of
the Sea at Scheveningen (1882)
นาเสนอทิวทัศน์ท้องทะเลใกล้กับ
กรุงเฮกในรูปแบบเหมือนจริงผสม
กับการใช้ฝีแปรงอันหนาหนักแบบ
Impasto ซึ่งคล้ายคลึงกับงานศิลปะ
อิมเพรสชั่นนิสม์ท่ีกาลังเฟื่องฟูในยุค
น้ัน นอกจากนี้เขายงั ไดร้ บั การว่าจ้าง
ใหว้ าดภาพลายเสน้ ทวิ ทัศน์เมืองของ
กรุงเฮกจากลงุ ของเขาอกี ด้วย

View of the Sea at Scheveningen (1882) ภาพจากhttps:// en.wikipedia.org

ถงึ อยา่ งนั้น ชวี ติ ของแวน โกะห์ กลบั ไม่สดใสอยา่ งภาพเพราะหลังจากนน้ั เขาประสบกบั มรสุมชวี ิต ทง้ั
จากการเสยี ชวี ติ ของพ่อและความผิดหวังในความรกั ปลายปี 1883-1885 แวน โกะห์ ใช้เวลาอยูใ่ นหมู่บา้ นทาง
เหนือของเมืองนูนเอิน และมุ่งเน้นบันทึกภาพชีวิตของชาวไร่ ชาวนา และช่างทอผ้า ในช่วงนี้นี่เองท่ีเขาวาด
The Potato Eaters (1885) ที่นาเสนอภาพชีวิตของครอบครัวชาวนาล้อมวงกินอาหารม้ือค่าอย่างสมถะ
แสดงใหเ้ ห็นแสงเงาอนั จดั จ้านทีเ่ ขาได้รับอทิ ธิพลมาจากเรมบรันดต์

เทคนคิ วิธีการในการสรา้ งงานทัศนศลิ ปข์ องศิลปิน 11

The Potato Eaters (1885) / commons.wikimedia.org
ช่วงปี 1886 แวน โกะห์ เข้าเรียนในสถาบัน Antwerp Academy เป็นช่วงสั้นๆ ก่อนที่จะย้ายไปอยู่
อาศัยในปารีสกับ Theo น้องชายของเขาซ่ึงเป็นนายหน้าค้างานศิลปะผู้มีชอ่ื เสียง ที่น่ัน ธีโอแนะนาให้เขารู้จัก
กั บ ผ ล ง า น ข อ ง ศิ ล ปิ น อิ ม เ พ ร ส ช่ั น นิ ส ม์ ช่ื อ ดั ง ใ น ยุ ค น้ั น อ ย่ า ง
Claude Monet, Pierre-Auguste Renoir แ ล ะ Georges
Seurat ซง่ึ ส่งอิทธพิ ลต่อการทางานของเขาอยา่ งมาก แวน โกะห์
ได้ทาความรู้จักและสนิทสนมกับศิลปินหนุ่มอีกคนอย่าง Paul
Gauguin ในช่วงเวลาด้วย
ช่วงปี 1887 แวน โกะห์ เริ่มทดลองใช้เทคนิคการแต้ม
จุดสี (pointillist) ท่ีได้รับอิทธิพลจากเซอราในการวาดใบหน้า
ของตัวเองหลายภาพ อาทิ ภาพ Self-Portrait with Grey Felt
Hat (1887) ท่ีใช้ปื้นสีเล็กๆ จานวนนับไม่ถ้วนผสานตัวกันเป็น
รูปเป็นร่างเม่ือมองในระยะไกล และเพื่อสร้างอารมณ์ความรู้สึก
ของความเคล่อื นไหวแห่งสสี ันในภาพ

Self-Portrait with Grey Felt Hat (1887)
ภาพจากhttps:// vincentvangogh.org

ในช่วงน้ันเองที่แวน โกะห์ เร่ิมสนใจงานศิลปะญ่ีปุ่นที่เรียกว่า Ukiyo-e อันเต็มไปด้วยสีสันสดใส
ฉูดฉาดบาดตา เขาและศิลปินในยุคสมัยน้ันอย่าง โมเนต์ และ Edgar Degas ต่างสะสมภาพเหล่าน้ีและได้รับ
อิทธิพลของการใช้องค์ประกอบและสีสันมากันถ้วนหน้า เป็นส่วนหน่ึงของกระแสความนิยมที่เรียกขานว่า
Japonisme นนั่ เอง

เทคนคิ วธิ ีการในการสร้างงานทศั นศลิ ปข์ องศลิ ปิน 12

ด้วยอิทธิพลนี้ แวน โกะห์ คัดลอกและดัดแปลงภาพนางโลมของศิลปินอุกิโยเอะชาวญ่ีปุ่น Keisai
Eisen ออกมาเป็นแบบฉบับของเขาเองในภาพ Courtesan after Eisen (1887) แต่เปล่ียนฉากหลังจากดอก
ซากรุ ะในภาพต้นฉบบั ให้เปน็ ดอกบัวในสระแทน

Courtesan after Eisen (1887) / art-vangogh.com
ปี 1888 แวน โกะห์ ย้ายออกจากบ้านของธีโอในปารีสไปอยู่ในเมืองอาร์ลส์ ทางตอนใต้ของฝรั่งเศส
โดยไปเชา่ บา้ นทมี่ ชี ื่อเรียกว่า ‘บ้านสีเหลอื ง’ และวาดภาพทิวทัศน์ท้องทงุ่ ดอกไม้ ท้องทะเล ทวิ ทัศน์เมือง และ
บุคคล ไม่ว่าจะเป็นภาพ The Yellow House (The street) (1888), The Bedroom (1888) และผลงานท่ี
เพ่งิ ถูกคน้ พบล่าสดุ เมอ่ื ปี 2013 อย่าง Sunset at Montmajour (1888)
ที่น่ี เขายังทางานต่อเนื่องจากช่วงที่อยู่กับน้องชายท่ี
ปารีส เป็นชุดภาพวาดดอกทานตะวันดอกใหญ่สีเหลืองอร่าม
ทา่ มกลางฉากหลากสไตล์ ภาพอนั สดใสชุดน้กี ลายเปน็ ทีร่ ักของ
บรรดาผู้เช่ียวชาญ นักวิจารณ์ และคนรักศิลปะท่ัวโลกจากการ
ใช้ค่าสีเหลืองหลากหลายเฉดกับฝีแปรงหนาหนักจนกลีบและ
เกสรดอกไม้มีความนูนดูเป็นสามมิติ ผสมผสานความเรียบง่าย
ซ่ือตรงเข้ากับรายละเอียดอันรุ่มรวยเป่ียมอารมณ์ ตามแบบ
ฉบบั เฉพาะตัว

The Yellow House (The street) (1888)
ภาพจากhttps://art-vangogh.com

เทคนิควิธกี ารในการสรา้ งงานทัศนศิลปข์ องศลิ ปนิ 13

Sunflower / en.wikipedia.org

หลังจากนี้ แวน โกะห์ เผชญิ หนา้ กับความทุกข์ทรมานจากอาการเจ็บป่วยทางจิต เขาเขา้ รกั ษาตัวที่ใน
โรงพยาบาลจิตเวช Saint Paul ในเมืองแซ็ง-เรมี-เดอ-พรอว็องส์ แต่ถึงจะเป็นแบบน้ัน เขาก็ยังสร้างสรรค์
ผลงานออกมาอย่างต่อเน่ืองเป็นจานวนมากทั้งภาพทิวทัศน์รอบโรงพยาบาลท่ีแวดล้อมด้วยต้นมะกอกและต้น
สนไซเปรส ภาพวาดดอกไอริสในสวน ภาพวาด Starry Night Over the Rhône (1888) และภาพวาด The
Starry Night (1889) อันเป็นท่ีรักและนา่ จดจามากทส่ี ดุ ในประวตั ศิ าสตร์ศิลปะโลกตะวันตก

Self-Portrait with Bandaged Ear (1889) / vangoghmuseum.nl

Starry Night Over the Rhône (1888) The Starry Night (1889)
ภาพจากhttps:// commons.wikimedia.org ภาพจากhttps://en.wikipedia.org

เทคนคิ วิธกี ารในการสรา้ งงานทศั นศิลป์ของศิลปนิ 14

ในท่ีสุด ปี 1890 เขาออกจากโรงพยาบาลมาอยู่ใกล้ๆ กับน้องชายในเมืองเล็กๆ ใกล้กรุงปารีสชื่อ
Auvers-sur-Oise อาการป่วยทางจิตของเขาเริ่มย่าแย่ลงเร่ือยๆ ขณะเดียวกัน แวน โกะห์ ยังคงสร้างสรรค์
ผลงานอย่างไม่หยุดหย่อน เขาสร้างผลงานออกมากว่า 80 ชิ้นท่ีล้วนแล้วแต่ใช้สีสันสดใสเจิดจ้า เดือนสุดท้าย
ของชีวิตเขาหันมาใชโ้ ทนสเี ขยี ว น้าเงิน เสน้ โคง้ เป็นลอนลูกคลนื่ บดิ เบือนวัตถุและรปู ทรง

หลังจากวาดภาพ Wheatfield with Crows (1890) ที่เชื่อกันว่าเป็นผลงานชิน้ สดุ ท้ายในชวี ิตของเขา
ในวันที่ 27 กรกฎาคม 1890 มีคนพบแวน โกะห์ ถูกยิงท่ีหน้าอกอาการบาดเจ็บสาหัสก่อนเสียชีวิตในอีกสอง
วันต่อมาด้วยอาการติดเช้ือในกระแสเลือดในวัยเพียง 37 ปี รายงานอย่างเป็นทางการระบุว่าเขาฆ่าตัวตายแต่
ล่าสุดมีการต้ังข้อสันนิษฐานว่าเขาน่าจะเสียชีวิตจากอุบัติเหตุในยามท่ีมีปากเสียงกับเด็กหนุ่มผู้คึกคะนองใน
ละแวกน้นั มากกว่า

Wheatfield with Crows (1890) / en.wikipedia.org
ในช่วงเวลาแค่เพียงสิบกว่าปีของอาชีพการงาน แวน โกะห์ สร้างสรรค์ผลงานศิลปะราว 2,100 ช้ิน
เป็นภาพวาดสีนา้ มนั กว่า 900 ชน้ิ และภาพวาดลายเสน้ 1,100 ช้ิน ส่วนใหญท่ าขน้ึ ในชว่ งเวลาสองปีสดุ ท้ายใน
ชีวิตเขา ถึงแม้ในช่วงที่ยังมีชีวิตอยู่ แวน โกะห์ จะประสบความล้มเหลวด้านรายได้ในอาชีพศิลปินด้วยความท่ี
ผลงานของเขาน้ันแปลกใหม่ล้าหน้ามาก่อนกาล ตลอดชีวิตเขาจึงขายภาพวาดได้เพียงภาพเดียวเท่านั้นและมี
ชีวิตอยู่ด้วยความลาบากยากจน แต่ภายหลังจากที่เขาเสียชีวิต ภาพวาดของแวน โกะห์ กลับกลายเป็นที่นิยม
ขึ้นมาอย่างมากจากการผลักดันของ Johanna van Gogh-Bonger ภรรยาหม้ายของธีโอ น้องชายของเขา ทา
ให้ในปัจจุบัน ผลงานท่ีไม่มีใครแยแสตอนท่ีเขายังมีชีวิตกลับกลายเป็นของล้าค่า ราคาพุ่งพรวด บางภาพ
กลายเป็นภาพวาดทมี่ ีราคาแพงที่สดุ ในโลก บางภาพมีราคาสูงกว่า 100 ล้านดอลลารส์ หรัฐ

เทคนคิ วิธีการในการสรา้ งงานทัศนศลิ ป์ของศิลปิน 15

Piet Mondriaan (ปตี โมนดรียาน)

ภาพจากhttps://th.wikipedia.org/wiki/ปตี _โมนดรยี าน

Piet Mondriaan ปีต โมนดรียาน เป็นลูกชายของปีเตอร์ กอร์เนลิส โมนดรียาน และโยฮันนา กริสตี
นา โกก (Johanna Christina Kok) ในปี ค.ศ. 1880 ครอบครวั ของเขาได้ยา้ ยไปยังเมืองวนิ เตอร์สไวก์ ภายหลงั
จากน้ันเขาได้พบกับครอบครัวของลุงฟริตส์ โมนดรียาน (Frits Mondriaan) ผู้ซ่ึงเป็นจิตรกร และเป็นผู้ริเริ่ม
สอนการวาดภาพให้แก่โมนดรียาน ต้ังแต่ปี ค.ศ. 1889 จนกระท่ังปี ค.ศ. 1892 โมนดรียานได้ย้ายมาท่ีกรุง
อัมสเตอร์ดัมเพื่อเข้าศึกษาด้านศิลปะที่สถาบันทัศนศิลป์หลวง (Rijksakademie van Beeldende Kunsten)
จนถึงปี ค.ศ. 1897 เข้าได้ศึกษา ฝึกฝนทางด้านงานจิตรกรรมอย่างหนักหน่วง ไม่ว่าจะเป็นการวาดภาพ
ทวิ ทศั น์ ภาพเหมือน และภาพหนุ่ น่งิ

ผลงานระยะแรกของโมนดรียานนั้นจะได้รับอิทธิพลมาจากความเป็น ธรรมชาตินิยมและกลุ่มดัตช์อิม
เพรสชันนิสม์ (impressionism) เขาชอบ
ออกไปวาดภาพธรรมชาติ ใช้สีค่อนข้างจะ
เศร้า มีโครงร่างเป็นสีเทาและเขียวทึบ
ระหว่างปี ค.ศ. 1907-1910 ท้ังความคิด
และผลงานตกอยู่ภายใต้อิทธิพลของจิตร
กรชาวดัตช์ผู้มีชื่อเสียงยิ่งในยุคน้ัน คือ ยัน
โตโรป (Jan Toorop) โดยมีการแสดงออก
ตามแนวของกลุม่ สัญลักษณน์ ิยม

Mill at Evening, 1905 ภาพจากhttps://th.wikipedia.org/wiki/ปตี _โมนดรยี าน

เทคนคิ วธิ ีการในการสร้างงานทัศนศิลป์ของศิลปิน 16

ในชว่ งนัน้ เขาไดว้ าดภาพท่แี สดงให้เห็นถงึ สภาพบ้านเกิดของเขาอย่างชัดเจน ด้วยการวาดภาพกังหันลม
ทุ่งหญ้า และแม่น้า ซ่ึงเป็นรูปแบบท่ีนิยมในกลุ่มดัตช์อิมเพรสชันนิสม์จากสกุลศิลปะเฮก (Hague School)
ภาพวาดเหล่านี้เป็นการแสดงถึงจินตนาการของโมนดรียานที่ได้รับอิทธิพลมาจากศิลปินหลายคน หลายกลุ่ม

ซึ่งรวมถึงลัทธิผสานจุดสีและการใช้แสงสี
ที่จัดจ้านสว่างไสวของ คติโฟวิสต์ ท่ี
พิ พิ ธ ภั ณ ฑ์ เ ท ศ บ า ล เ มื อ ง เ ด อ ะ เ ฮ ก
( Gemeentemuseum Den Haag) เ อ ง
ได้มีการจัดแสดงภาพวาดในช่วงเวลานี้
เชน่ กัน รวมท้ังผลงานในลัทธิประทบั ใจยุค
หลัง เช่น The Red Mill and Trees in
Moonrise และในงานอน่ื ๆ

Windmill by the Water,1900-1904ภาพ
จากhttps://th.wikipedia.org/wiki/ปตี _โมนดรยี าน

และในเวลาต่อมาเขาได้ก็พัฒนารูปแบบและค้นคว้าเรื่อยมาจนกระท่ั งมีรูปแบบเป็นเอกลักษณ์ของ
ตนเอง โดยการเร่ิมต้นใช้สีที่ประกอบด้วยสีแดง สีเหลือง และสีน้าเงิน ซึ่งเป็นรูปแบบของงานแบบนามธรรม
เข้าถึงและเข้าใจได้ยาก และในเวลาต่อมาการเร่ิมต้นน้ีก็ได้เป็นตัวส่งอิทธิพลให้กับของงานโมนดรียานเองอีก
หลายงาน

ในช่วงหนึ่งโมนดรียานได้เร่ิมเปล่ียนแปลงความสนใจทางงานศิลปะของเขา ด้วยการเข้าชมนิทรรศการ
ของกลุ่มบาศกนิยม "Moderne Kunstkring Exhibition" ที่กรุงอัมสเตอร์ดัม เขาได้ค้นคว้าจากการแสดงให้
เห็นรูปแบบท่ีธรรมดาของด้วยกัน 2 รูปแบบ จากภาพน่ิงของ Ginger Pot (Stilleven met gemberpot)
รูปแบบแรกในปี ค.ศ. 1911 ซ่ึงเป็นภาพที่ได้รับอิทธิพลมาจากกลุ่มบาศกนิยม และรูปแบบที่ 2 ในปี ค.ศ.
1912 ซึง่ เขาลดทอนรปู แบบจากวงกลม การมเี สน้ คดโคง้ มาเปน็ สามเหลย่ี มและสี่เหล่ยี มผืนผ้าแทน

อีกท้ังในปี ค.ศ. 1911 โมนดรียานได้ย้ายเข้าสู่กรุงปารีส ที่แห่งน้ันมีความเจริญ และเป็นใจกลาง
ทางดา้ นงานศลิ ปกรรมแหง่ ยุคนัน้ เขาได้เปลีย่ นนามสกุลของเขาในเวลาเดียวกันน้ีด้วยโดยตดั อักษรอา (a) หนึ่ง
ตัวออกจากนามสกุลเดิม จาก "โมนดรียาน" (Mondriaan) เป็น "โมนดรียัน" (Mondrian) แต่การเปล่ียน
ลายเซ็นบนผลงานของเขาได้ปรากฏให้เห็นตั้งแต่ปี ค.ศ. 1907 ในระหว่างที่เขาอาศัยอยู่ในปารีส และในช่วง
นนั้ เองรปู แบบศลิ ปะแบบบาศกนิยมกาลังเปน็ ท่ีแพร่หลายอยู่ เขาจึงได้รับอิทธิพลการทางานศลิ ปะจากกลุ่มบา
ศกนิยมของปาโบล ปีกัสโซ และฌอร์ฌ บรัก ซึ่งปรากฏให้เห็นในงานภาพชุดของโมนดรียาน ซ่ึงสร้างช่ือเสียง
ให้กับเขาเป็นอย่างมาก ภาพชุดนี้ประกอบไปด้วยทิวทัศน์ หุ่นนิ่ง และต้นไม้ท่ีแสดงวิวัฒนาการต้ังแต่ดูเหมือน
จริงเรื่อยมาจนกลายเป็นภาพแบบนามธรรม ด้วยการลดทอนรูปทรงต่าง ๆ จากการที่ปรากฏเส้นคดโค้ง

เทคนคิ วธิ กี ารในการสรา้ งงานทศั นศิลปข์ องศิลปิน 17

กลายเป็นเพียงเส้นตรงที่เข้ามาแทนท่ี ความลึกตามหลักทัศนียภาพหายไป เหลือเพียงระนาบแบบ 2 มิติ มี
เพียงเส้นตรงในแนวต้ังและแนวนอนที่สร้างจังหวะจะโคน ผลลัพธ์ที่ได้จึงเป็นรูปทรงแบบเรขาคณิต ที่ปรับ
ความแข็งกระด้างของเส้นตรงเหล่านนั้ ด้วยการนาเอาแม่สซี ึ่งเปน็ สีสันทีส่ ดใสเข้ามาชว่ ยขดั กนั ใหด้ ูนมุ่ นวลข้ึน

Dune II, 1909/ภาพจากhttps:// th.wikipedia.org/wiki/ปตี _โมนดรยี าน

เมอ่ื ปีเกดิ สงครามโลกครั้งที่ 1 ในปี ค.ศ. 1914 โมนดรยี านได้ย้ายกลับไปทีเ่ นเธอรแ์ ลนด์ และเร่ิมค้นหา
แนวทางไปสู่คตินิยมการสร้างงานแบบนามธรรม มีการพัฒนาทฤษฎีเกี่ยวกับเส้นตรงและเส้นระดับสายตา ใน
ปี ค.ศ. 1915 เขาได้พบกับเตโอ ฟัน ดุสบืร์ค ทั้งสองได้ร่วมกันก่อต้ังกลุ่มเดอสไตล์ข้ึนในปี ค.ศ. 1917 ซึ่งเป็น
นิตยสารท่ีนาเสนอแนวทางใหม่ ๆ ท่ีท้ังสองเห็นพ้องต้องกันให้กับรูปแบบทางศิลปะ ด้วยศิลปะแบบนามธรรม
จนกระทงั่ ปี ค.ศ. 1924 แนวการทางานของนติ ยสารก็ได้เปล่ยี นแปลงไปจากเดิม

ศิลปินในกลุ่มเดอสไตล์นิยมใช้รูปทรงง่าย ๆ ได้แก่ ส่ีเหล่ียมมุมฉาก สี่เหลี่ยมผืนผ้า นิยมใช้เส้นที่หนา
และสีข้ันท่ี 1 คือ สีน้าเงิน เหลือง แดง หรือสีขาวและสีดา การทางานในลักษณะนี้บางคร้ังเรียกกันว่า "ลัทธิ
รปู ทรงแนวใหม่"

เทคนิควิธีการในการสร้างงานทัศนศลิ ปข์ องศลิ ปนิ 18

Composition II in Red, Yellow, and Blue, 1937
ภาพจากhttps:// th.wikipedia.org/wiki/ปตี _โมนดรยี าน

ในปี ค.ศ. 1938 สงครามโลกคร้ังท่ี 2 ได้ปะทุขึ้น โมนดรียานจึงได้ย้ายจากปารีสไปสู่ลอนดอนเพื่อ
หลีกเลี่ยงการรุกรานจากเหล่าทหารนาซี ท่ีน่ันเขาได้พบกับเบน นิโคลสัน (Ben Nicholson), นาอุม กา
โบ (Naum Gabo) และบารบ์ ารา เฮปเวริ ท์ (Barbara Hepworth)[5] ซ่งึ ได้ให้ความช่วยเหลอื แกเ่ ขาในดา้ นการ
หาท่พี กั อาศัย เครื่องอปุ โภคบรโิ ภค

โมนดรียานยังคงดาเนินการสรา้ งงานในรูปแบบของตนเองเร่ือยมา หากเกิดแรงบันดาลใจใหม่จากเมอื ง
ท่ีเขาอาศัยอยู่นั่นก็คือนิวยอร์ก เขาจึงเริ่มสร้างผลงานชุดช่ือว่า NewYork และ NewYork City ขึ้นมา หากแต่
รูปแบบที่โมนดรียานประทับใจต่อนิวยอรก์ กลับเริม่ ปรากฏท่ีผลงาน Broadway Boogie-Woogie และผลงาน
ที่ยังวาดไม่เสร็จ Victory Boogie-Woogie ซ่ึงเป็นการแสดงถึงความประทับใจจากโมนดรียานต่อแสงสีและ
ความร่ืนเริงของนิวยอร์ก เขายังคงพื้นฐานเดิมของงานศิลปะในแบบเขาด้วยเส้นตรงแนวตั้งและแนวนอน
หากแตเ่ ขาไดเ้ พิ่มจังหวะของผลงานเข้าไปดว้ ย โดยการทาเสน้ สีระยะสั้น ๆ ตอ่ กนั อยา่ งหลากหลาย เสมอื นกับ
จงั หวะเพลงและชีวิตอนั วนุ่ วายของชาวเมืองนิวยอรก์ ซ่งึ โมนดรียานเองยังคงมีความเห็นวา่ ผลงานของเขาไม่ได้
ส้ินสุดลง แต่เป็น "ขั้นสุดท้ายของการค้นหารูปทรงอันบริสุทธ์ิ" และในปี ค.ศ. 1942 ท่ี Valentine Dudensin
Gallery ในนิวยอรก์ โมนดรียานไดม้ ีโอกาสการจดั แสดงผลงานของเขาคร้ังแรกท่ีสหรฐั อเมริกาของเขาขึ้นมา

เทคนคิ วิธกี ารในการสรา้ งงานทศั นศลิ ปข์ องศลิ ปิน 19

Broadway Boogie-Woogie, 1942-43 ภาพจากhttps:// th.wikipedia.org/wiki/ปตี _โมนดรยี าน

Victory Boogie-Woogie, 1943-44ภาพจากhttps:// th.wikipedia.org/wiki/ปตี _โมนดรยี าน

และท่ีสุดท้ายของการย้ายมาพักพิงของโมนดรียานในระยะเวลาเพียง 4 ปี เขาได้เสียชีวิตลงท่ีน่ีเม่ือ 1
กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1944 ขณะมีอายุได้ 71 ปี ด้วยอาการปอดบวม ร่างของเขาถูกฝังไว้ที่สุสานไซเพรสส์ฮิลส์
บรคู ลิน (Cypress Hills Cemetery) ในนิวยอร์ก

เทคนคิ วธิ ีการในการสรา้ งงานทศั นศลิ ปข์ องศลิ ปิน 20

ประเทือง เอมเจริญ

ภาพจากhttps://kanchanaburi.center/2017/06/29/หอศิลปเ์ อมเจรญิ

ประเทือง เอมเจริญ เกิดเมื่อวันท่ี 9 ตุลาคม 2478 บ้านริมคลองบางไส้ไก่จังหวัดธนบุรี ปัจจุบันเป็น
ส่วนหน่ึงของกรุงเทพมหานคร เป็นบุตรคนที่ 2 จาก 3 คน ของนายชิต และนางบุญช่วย ทฐี่ านะทางครอบครัว
ค่อนข้างยากจน ประเทืองเข้าเรียนชั้นประถมท่ีโรงเรียนเทศบาลวัดสุทธาวาสใกล้ๆบ้าน แต่ก็จบป 4 บิดาของ
ท่านผู้เป็นเสาหลักของครอบครัวถึงแก่กรรมจึงจาใจต้องออกจากโรงเรียนเพ่ือมาช่วยท่ีบ้านทางานหารายได้
แทนที่จะไดเ้ รียนหนงั สือว่ิงเล่นกับเพ่อื นๆตามประสาเด็ก ประเทอื งต้องกระเสือกกระสนทางานหนักทั้งทาสวน
ขายขนม แบบหาม เด็กเสิร์ฟกาแฟ และอาชีพอนื่ ๆอกี มากมาย

มีอยู่ช่วงหนึ่งทป่ี ระเทืองและพี่ชายไม่พอใจแม่ที่มสี ามีใหม่ เลยพากนั หนีออกจากบา้ นไปเป็นคนเร่ร่อน
ชานาญ เอมเจริญ พี่ชายของประเทืองจบจากเพาะช่าง จะมีความรู้ด้านศิลปะ พาประเทืองไปตะเวนรับจ้าง
ออกแบบเขียนป้ายโฆษณา ทาสีศาลพระภูมิ ไม่เกี่ยงแม้กระทั่งล้างรถหรืองานอะไรก็ได้ถ้ามีคนจ้าง วันไหนมี
งานก็มีรายได้แค่พอซ้ือข้าวซ้ือน้าประทังชีวิต นอนตามสวนสาธารณะ อยู่อย่างน้ันคร่ึงปี จึงตัดสินใจลาบาก
หนา้ กบั ไปหาแม่ทีบ่ ้านตามเดิม

หลังจากกลับมาอยู่บ้าน พี่ชายของประเทืองได้งานทาที่บริษัททาป้ายชื่อว่า เอสจันโฆษณา เลยพา
น้องชายซึ่งมีวุฒิแค่ ป.4 ไปฝากงานด้วย ประเทืองเร่ิมงานประจาที่บริษัทในตาแหน่งพนักงานทาความสะอาด
นับเป็นลูกมือเตรียมสีให้ช่างเขียน เงินเดือนเดือนแรก 80 บาท ทางานอย่างขยันขันแข็งเคียงคู่กับการเรียนรู้
เทคนิคการเขียนป้ายจนได้เลือ่ นตาแหน่งเป็นช่างใหญ่เงินเดือนละ 1000 บาทไดอ้ ยา่ งรวดเรว็

ระหวา่ งท่ีทางานอยู่ทีเ่ อสจนั โฆษณา ประเทืองมักใชเ้ วลาในวันหยดุ ไปช่วยงานน้องชาย ประเสริฐ เอม
เจริญ ท่ีทาอาชีพวาดภาพประกอบในโรงหนังและมีงานล้นมือจนทาไมท่ ัน ประเทืองไปช่วยมาจนเวลาทีม่ ีใน
วนั หยดุ ไมพ่ อ กเ็ ลยตัดสินใจลาออกมาเปน็ ช่างเขยี นภาพประกอบหนงั เหมือนน้องชายดว้ ยอกี คน ประเทืองมี
ฝีมอื ดี งานไว ทาให้ค่อยๆเป็นทร่ี จู้ กั ในวงการ ทารายไดเ้ ป็นกอบเปน็ กา ถงึ เดือนละหลกั หม่ืน และได้สร้าง
ครอบครวั ในเวลาต่อมา

เทคนคิ วธิ ีการในการสรา้ งงานทศั นศลิ ป์ของศลิ ปนิ 21

ในช่วงนัน้ ประเทอื งใชเ้ วลาวา่ งจากงานและครอบครวั ไปศึกษาศิลปะดว้ ยตนเอง โดยการพบปะ
แลกเปลย่ี นความคิดกับผู้รู้ ดูนิทรรศการ ดหู นงั สือจากตา่ งประเทศ ดูละคร และดหู นงั จนวันหนง่ึ ประเทอื งไดด้ ู
หนงั ฝร่ังเร่ือง lust for life เนือ้ เรอ่ื งเกย่ี วกับชีวประวตั ิของวินเซนตแ์ วนโกะ๊ ศลิ ปินชาวดัตช์ผู้มชี ีวิตกลับมาโดง่
ดังคับฟ้าเม่ือเจ้าตัวลาโลกไปแล้ว ประทืองชอบหนังเรอ่ื งนี้มาก ชวี ติ ของแวนโก๊ะสะกดิ ใจให้ประทืองถามตวั เอง
ว่า จุดม่งุ หมายหลักในชีวติ ทีแ่ ทจ้ รงิ คืออะไร ประเทืองมองว่างานท่ีทาอยูถ่ งึ แมจ้ ะทาใหช้ ีวิตสขุ สบายด้วยเงนิ
แต่ก็เปน็ แค่การรบั จา้ งไม่มจี ิตวิญญาณ

ปีนั้นเป็นปี พ.ศ. 2505 ประเทืองมีอายุได้ 27 ปี ได้ตดั สนิ ใจมงุ่ ม่ันเป็นศลิ ปนิ อย่างปจั จุบันทนั ด่วน
อปุ สรรคกเ็ ร่ิมเข้ามาเรือ่ ยๆ ผลงานศลิ ปะของประเทืองขายไม่ไดเ้ ลยสกั ชิ้น จนไมม่ รี ายได้เล้ียงครอบครัว

บนเส้นทางศิลปะอันมืดมิดของประเทือง แสงสว่างแห่งความสาเร็จเร่ิมจะมองเห็นอยู่ราไร เมื่อท่าน
ส่งผลงานเข้าประกวดในงานแสดงศิลปกรรมแห่งชาติครั้งท่ี 17 ประจาปี พ.ศ.2510 ผลงานที่ส่งไปเป็นภาพ
แนวนามธรรมท่ีมชี ่ือว่า “เลอื ด ทอง คอนกรตี ” สามารถควา้ รางวลั เหรียญเงนิ มาได้ พร้อมเงินรางวลั อกี 5,000
บาท หลังจากนั้นในปีต่อๆไป ประเทืองก็ส่งผลงานเข้าประกวดอีกและได้รับรางวัลอีกหลายรางวัล จน
สาธารณชนเรมิ่ ร้จู ัก

ประเทืองเริ่มมีชื่อเสียงและค่อยๆขายผลงานศิลปะได้ จากภาพวาดสมัยอดม้ือกินมื้อ ท่ีดูมืดๆทึมๆ
ประเทืองพฒั นาผลงานชดุ ตอ่ ๆมาใหม้ สี ีสนั สว่างไสวยิง่ ขน้ึ โดยใช้ดวงอาทติ ย์เปน็ แรงบันดาลใจ ประเทอื งตื่นแต่
ไก่โห่เพื่อดูดวงอาทิตย์ต้ังแต่แสงแรกของรุ่งอรุณ พิจารณาดูความเปลี่ยนแปลงของเฉดสีของแสงในแต่ละ
ช่วงเวลาของวันจนพระอาทิตย์ตกลับขอบฟ้าไป และจาเอามาวาดเป็นภาพนามธรรมของจักรวาล ดาวฤกษ์
และรปู ทรงต่างๆ ทเี่ ตม็ ไปดว้ ยรายละเอยี ดและสีสันจัดจ้านน่าสนใจ

พระอาทิตย์ (2516) สนี ้ามนั /ภาพจากhttps://silpakornwichitrong.blogspot.com/2015/10/blog-post

เทคนิควิธีการในการสรา้ งงานทศั นศลิ ป์ของศิลปนิ 22

จักรวาล (2516) สนี ้ามันภาพจากhttps://silpakornwichitrong.blogspot.com/2015/10/blog-post

ตอ่ มาเม่ือเกดิ เหตกุ ารณท์ ่ีรฐั บาลออกมาปราบปรามนกั ศึกษาในวันที่ 14 ตุลาคม 2516 ประเทืองกเ็ ร่ิม
สร้างสรรคผ์ ลงานท่ีสะท้อนความรสู้ ึกเก่ียวกับการเมืองออกมาหลายชน้ิ ภาพธงชาติ กะโหลก หยดเลือด ปืน รู
กระสุนถูกสร้างสรรค์ออกมาเพ่ือเตือนสติผู้ชมให้ระลึกถึงวันมหาวิปโยคน้ัน และช่วยกันป้องกันไม่ให้เกิด
เหตุการณ์ซ้ารอยเดิมอีก ภาพชุดนี้กลายเป็นภาพชุดประวัติศาสตร์ในวงการศิลปะไทย ที่มักถูกหยิบยกมา
กลา่ วถงึ เสมอ ในเรื่องความสานกึ รบั ผิดชอบของศลิ ปนิ ทมี่ ีส่วนชว่ ยในการจรรโลงสงั คม

“บ้ารกั ชาติ” สีน้ามัน (2519)ภาพจากhttps://jumpsuri.blogspot.com/2014/02/blogpost

เมื่อบา้ นเมืองกลบั มาสงบอีกครั้ง ประเทอื งกก็ ลับไปค้นหาแรงบันดาลใจจากธรรมชาติ ออกเดินทางไป
ซึมซับความรู้สึกของป่าเขา ทุ่งนา แม่น้า และทะเล ถ่ายทอดความประทับใจจากสิ่งรอบตัวสร้างสรรค์ออกมา
เป็นผลงานศิลปะท่ีสมบูรณ์แบบ ภาพวาดของประเทืองถึงแม้ส่วนใหญ่จะเป็นแนวนามธรรม แต่ก็เป็นภาพท่ี
ตคี วามไดไ้ ม่ยาก องคป์ ระกอบ รายละเอยี ด สีสนั ดูสวยงามอย่างไมต่ ้องลงั เลใจ

เทคนคิ วิธีการในการสรา้ งงานทศั นศิลป์ของศิลปนิ 23

“แสงสว่างแห่งทะเล 1” สนี า้ มัน (2533) “แสงสวา่ งแหง่ ทะเล 8” สนี ้ามัน (2533)
ภาพจากhttps://mocabangkok.com/th ภาพจากhttps://mocabangkok.com/th

จากความสาเรจ็ ในการใช้ชีวิตแบบทุ่มหมดตัวให้กับศิลปะ ท่านได้รับรางวัลยกย่องเป็นศิลปินแห่งชาติ
สาขาทัศนศิลป์ จิตรกรรม เมื่อปี พ.ศ. 2548 ท่านย้ายจากกรุงเทพฯ ไปอยู่กาญจนบุรีและเปิดหอศิลป์เอม
เจรญิ เอาไว้บนทดี่ ินริมแม่น้าแมก่ ลอง เพือ่ จดั แสดงผลงานศลิ ปะให้สาธารณชนไดช้ น่ื ชม

หอศลิ ปเ์ อมเจรญิ
ภาพจากhttps://kanchanaburi.center/2017/06/29/หอศลิ ปเ์ อมเจรญิ

เทคนิควธิ ีการในการสรา้ งงานทศั นศิลปข์ องศลิ ปนิ 24

อำจำรย์พิชัย นิรันต์

ภาพจากhttps://oknation.nationtv.tv/blog/phaen
อาจารย์พิชัย นิรันต์ เกิดเม่ือวันที่ 7 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2475 เป็นชาวกรุงเทพฯ โดยกาเนิด ปัจจุบัน
พักอยู่บ้านเลขท่ี 35 หมู่ 3 ตาบลลานตากฟ้า อาเภอนครชัยศรี จังหวัดนครปฐม ท่านเป็นบุตรชายคนโตของ
นายรืน่ และนางทองหลอ่ นิรนั ต์ มพี ่ีนอ้ งทงั้ หมดรวมท้ังตวั อาจารย์ดว้ ยรวม7 คน ทา่ นสมรสกบั นางบุญชรสั ม์ิ นิ
รันต์ สกลุ เดิม บญุ ชัยศรี มธี ิดาลว้ น 4 คน

พทุ ธิปัญญา ปี 2541 สีน้ามนั ภาพจากhttps://oknation.nationtv.tv/blog/phaen

เทคนิควิธีการในการสรา้ งงานทัศนศลิ ปข์ องศิลปิน 25

พระพุทธบาท ปี 2520 สนี า้ มนั และทองคาเปลว ภาพจากhttps://oknation.nationtv.tv/blog/phaen

อาจารย์พิชยั นิรนั ต์ เข้ารับการศกึ ษาระดับประถมศกึ ษาท่ี รร.สรรพาวธุ วิทยา กรรมสรรพาวธุ ทหารเรอื บาง
นา และระดับมัธยมศึกษาที่ รร.ไพศาลศิลป ยศเส รร.ศิลปศึกษา (ปัจจุบันคือวิทยาลัยช่างศิลป) กรม
ศิลปากร เมื่อ พ.ศ. 2498 – 2499 แล้วเข้ารับการศึกษาต่อจนจบอนุปริญญาศิลปบัณฑิต (จิตรกรรมและ
ประติมากรรม) มหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร เมือปี พ.ศ. 2502

แผน่ ดนิ อุดมธรรม สนี า้ มันบนผ้าใบ ตดิ ทองคาเปลว สมบัตขิ อง คณุ ปรีชา แสงธนนริ มิตร
ภาพจากhttps://oknation.nationtv.tv/blog/phaen

จากน้นั ในปี พ.ศ. 2505 จึงเขา้ รับราชการเปน็ ครทู ่วี ทิ ยาลัยช่างศิลป กรมศิลปากร จนถึงปี พ.ศ.
2522 จงึ ย้ายมาทางานทีก่ องหัตถศิลป ในตาแหนง่ นายชา่ งศิลปกรรม ๖ ตาแหน่งสูงสุดในสายงานราชการคือ
นายชา่ งศลิ ปกรรม 8 จากนัน้ ในปี พ.ศ. 2538 จงึ ลาออกจากราชการ ประกอบอาชพี ศิลปินอิสระ

เทคนคิ วธิ กี ารในการสร้างงานทศั นศิลปข์ องศิลปนิ 26

แสงธรรม สนี ้ามนั บนผ้าใบ ติดทองคาเปลว ภาพจากhttps://oknation.nationtv.tv/blog/phaen

อาจารย์เป็นจิตรกรท่ีขยันขันแข็ง ระหว่างเม่ือรับราชการเป็นหัวหน้าฝ่ายจิตรกรรม สถาบันศิลปกรรม
อยู่ มีขา้ ราชการเขา้ ใหมแ่ อบเข้าไปถามท่านวา่ ทาอยา่ งไรถึงจะเขียนภาพไดด้ ีเหมือนอย่างอาจารย์ ท่านบอกให้ข้
ราชการผู้นั้นเอียงหูเข้าไปฟัง ข้าราชการผู้น้ันภายหลังได้เล่าให้ฟังว่า ท่านบอก “เราจะให้มนต์วิเศษเธอให้เขียน
ภาพเก่ง แต่เธอต้องเขียนภาพทุกวันจนครบ 100 ภาพก่อน” ปัจจุบันข้าราชการใหม่ท่านนน้ั เขียนภาพยังไม่ครบ
50 ภาพเลย แต่ฝีมือเฉยี บขาดกว่าเก่าราวฟา้ กบั ดนิ

ดนตรแี ห่งขนุ เขา 2541 ขนาด 80X100 ซม. สนี ้ามัน ภาพจากhttps://oknation.nationtv.tv/blog/phaen

เทคนคิ วธิ กี ารในการสรา้ งงานทัศนศิลปข์ องศิลปนิ 27

ธรรมบนแผน่ ดนิ สนี ้ามันบนผ้าใบ ติดทองคาเปลว สมบตั ิของพิพธิ ภณั ฑสถานแห่งชาติ หอศิลป์
ภาพจากhttps://oknation.nationtv.tv/blog/phaen

อาจารย์พิชัย นิรันต์ เองก็ทางานหนักตลอดเวลา มีผลงานสาคัญมากมาย ผลงานของท่านส่วนใหญ่
เ ป็ น เ ร่ื อ ง ร า ว เ กี่ ย ว เ น่ื อ ง กั บ พ ร ะ พุ ท ธ ศ า ส น า โ ด ย อ า ศั ย รู ป สั ญ ลั ก ษ ณ์ ไ ด้ แ ก่ ร อ ย พ ร ะ พุ ท ธ
บาท ดอกบวั ธรรมจกั ร และพระพทุ ธรูป เป็นตัวกลางในการสอ่ื ความหมายไปยังผ้ชู ม นอกจากน้ี ยังมีวธิ ีการจดั
วางภาพสัญลักษณไ์ วบ้ รเิ วณกง่ึ กลางของภาพ เพื่อความโดดเดน่ อีกดว้ ย

วฏั ฏะจกั รแห่งชีวติ 2550 สนี ้ามัน ภาพจากhttps://tiscoart.com/artwork/wat-ta-jak-haeng-che-wit-2550

วัฏฏะจักรแห่งชีวิต แนวคิดในการสร้างสรรค์ผลงานของท่านช้ินนี้ คือถ่ายทอดให้เห็นถึงสัจธรรมของ
ชีวิต สรรพสัตว์ล้วนต้องอยู่ในสังสารวัฏ หรือ การเวียนว่ายตายเกิด โดยเลือกใช้ดอกบัว หยดน้าและแสง เป็น
สัญลักษณ์ในการสื่อความหมาย เนื้อหาของภาพแสดงให้เห็นสภาวะของดอกบัว เมื่อเมล็ดได้รับหยดน้าและแสง
จึงมีการเจริญเติบโตเป็นดอกตูม เบ่งบาน ร่วงโรย และกลับกลายเป็นเมล็ดพันธ์ุอีกคร้ังหน่ึง วนเวียนเป็นวัฏ
จกั ร หรอื วงกลมเชน่ น้ตี ลอดไป

เทคนิควธิ ีการในการสรา้ งงานทศั นศิลปข์ องศิลปิน 28

ใบงานที่ เรือ่ ง ศิลปิ นทศั นศิลป์ สาขาจิตรกรรม

คำชี้แจง ใหน้ กั เรยี นเลอื กศลิ ปินสาขาจติ รกรรม (ไมซ่ ้ากบั บทเรยี น) มา 1 ทา่ น แลว้ คน้ ควา้ ขอ้ มลู ตาม
หวั ขอ้ ทก่ี าหนดให้ พรอ้ มตดิ ภาพศลิ ปินและผลงาน

(ตดิ ภาพศลิ ปิน)

ชอ่ื ศลิ ปิน

ประวตั ิ
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................

แนวคิดในกำรสรำ้ งสรรคผ์ ลงำน
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................

เทคนิควิธีการในการสร้างงานทศั นศิลปข์ องศิลปิน 29

เทคนิคและวิธีกำรในกำรสร้ำงสรรคผ์ ลงำน
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................

(ตดิ ภาพผลงาน)

ช่อื ผลงาน

เทคนิควธิ ีการในการสรา้ งงานทศั นศิลปข์ องศิลปิน 30

ศิลปินทัศนศลิ ป์สำขำประตมิ ำกรรม

Michelangelo (ไมเคลิ แองเจโล)

ภาพจาก https://www.takieng.com/stories/8111

ไมเคิลแองเจโลหรือ ‘มิเกลันเจโล’ มีช่ือเต็มว่า Michelangelo di Lodovico Buonarroti Simoni เป็น
ชาวอติ าลี เกิดเมือ่ ปี 1475 ทห่ี มู่บ้านคาปรสี ในแควน้ ทสั กานี เมอื งหลวงของแคว้นก็คือเมอื งฟลอเรนซซ์ ง่ึ เปน็ เมือง
ท่เี ขาเติบโต หลงั จากแม่เสียชวี ิตขณะท่ีไมเคิลแองเจโลอายุได้ 6 ปี เขาอาศยั อยกู่ บั พ่ีเลี้ยงและสามีซ่งึ เป็นชา่ งตัดหิน
ท่ีเมืองบนภูเขานอกเมืองฟลอเรนซ์ช่ือ Settignano ซึ่งพ่อของเขามีเหมืองหินอ่อนและฟาร์มเล็กๆอยู่ ไมเคิลแอง
เจโลอยทู่ ่ีนีห่ ลายปไี ด้ซึมซับความสามารถพเิ ศษในการตดั แต่งหินออ่ นดว้ ยสิ่วและค้อนติดตัวตง้ั แต่เด็ก

ปี 1488 เขาถูกส่งไปเรียนภาษาท่ีเมืองฟลอเรนซ์แต่เขาไม่สนใจเลย วันๆเอาแต่ฝึกคัดลอกภาพเขียนตาม
โบสถ์และอยรู่ ่วมกับจิตรกรคนอน่ื เมอื งฟลอเรนซ์ในชว่ งเวลานั้นเป็นศนู ย์กลางแห่งศิลปะและการศึกษา มปี ระติมา
กรและจิตรกรช่ือดังสร้างผลงานมากมายให้ไมเคิลแองเจโลได้ศึกษาเรียนรู้ และแล้วเขาก็ได้ไปเป็นลูกศิษย์ของ
Domenico Ghirlandaio จิตรกรช่ือดังในขณะน้ันผู้เช่ียวชาญในการเขียนภาพปูนเปียก (Fresco) เขาอยู่กับ
อาจารย์ได้เพียงปีเศษก็ถูกส่งตัวไปทางานตามคาร้องขอของ Lorenzo de Medici ผู้ปกครองเมืองฟลอเรนซ์ในปี
1489

ระหว่างทางานให้ Lorenzo de Medici ไมเคิลแองเจโลมีผลงานเป็นภาพแกะสลักบนหินอ่อนหลายช้ิน
เช่น Madonna of the Steps และ Battle of the Centaurs ถึงปี 1492 ชีวิตเขาพลิกผันเมื่อ Lorenzo de
Medici เสียชีวิต ไมเคิลแองเจโลจึงออกมาทางานของตัวเองพร้อมกับพัฒนาฝีมือด้านแกะสลัก ไปรับงานต่างเมือง
ที่เวนิสกับโบโลญญาบ้าง ระหว่างน้ีก็มีผลงานแกะสลักหลายชิ้นรวมทั้ง Crucifix งานแกะสลักไม้ที่ทาให้กับโบสถ์
Santo Spirito ทเ่ี มอื งฟลอเรนซ์เพ่ือตอบแทนที่ให้เขาได้ศึกษาสรีระมนุษย์จากศพทโี่ รงพยาบาลของโบสถ์ จนถึงปี
1496 ไมเคิลแองเจโลจึงย้ายไปอยู่ท่ีกรุงโรมท่ซี ึ่งเขาได้สร้างผลงานชิ้นเอกชนิ้ แรก

เทคนิควิธีการในการสรา้ งงานทศั นศิลปข์ องศลิ ปนิ 31

ไมเคิลแองเจโลไปท่ีโรมตอนอายุ 21 ปี เร่ิมต้นด้วยงานแกะสลักหินอ่อนรูปเทพเจา้ แห่งไวน์ Bacchus เมื่อ
งานเสร็จกลับถูกปฏิเสธจากพระคาร์ดินัล Raffaele Riario ผู้ว่าจ้าง ต่อมาถูกนาไปประดับอยู่ในสวนของนาย
ธนาคาร ปลายปี 1497 เขาได้รับการว่าจ้างจากพระคาร์ดินัล Jean de Bilhères-Lagraulas ให้ทางานแกะสลัก
หินอ่อน Pieta รูปพระแม่มารีใบหน้าเศร้าหมองกาลังประคองร่างของพระเยซูท่ีเพ่ิงอัญเชิญลงจากกางเขน ไมเคิล
แองเจโลใช้เวลาไม่ถึงสองปงี านกเ็ สรจ็ ผลงานท่ีออกมางดงามอย่างยิ่งสมจรงิ ทุกรายละเอียด สรา้ งความอัศจรรย์ใจ
แก่ผู้ได้ชมเป็นอย่างมาก เป็นผลงานชิ้นเอกช้ินแรกท่ีเขาทาสาเร็จด้วยวัยเพียง 24 ปี Pieta เป็นหน่ึงในงาน
ประตมิ ากรรมทมี่ ชี ื่อเสียงมากท่สี ุดในโลก ปัจจบุ ันเกบ็ รักษาทม่ี หาวหิ ารเซนต์ปเี ตอร์ ในนครรัฐวาตกิ นั เป็นแม่เหลก็
ดึงดดู ใจให้ผคู้ นมาเย่ียมชมมหาวิหารแห่งน้อี ยา่ งคบั คั่งตลอดทั้งปี

“Pietà” ภาพจาก https://www.takieng.com/stories/8111

ปี 1499 ไมเคลิ แองเจโลกลับมาทเี่ มืองฟลอเรนซ์ ไดร้ บั การทาบทามให้ทางานแกะสลักหินอ่อนชิ้นใหญ่รูป
เดวิด (David) ซ่ึงเป็นโครงการท่ีริเร่ิมมา 40 ปีแล้วแต่ยังไม่สาเร็จ เนื่องจากช่างแกะสลักที่เคยรับงานน้ีต่างเห็นว่า
หินอ่อนช้นิ นมี้ ีตาหนิและไม่แข็งแรงพอท่ีจะทารูปปั้นใหญข่ นาดน้ันได้ ไมเคิลแองเจโลรับงานน้ีตอนที่เขาอายุ 26 ปี
ใช้เวลาราว 4 ปี ระหว่างปี 1501 – 1504 แกะสลักก้อนหินอ่อนท่ีถูกท้ิงไว้ไม่มีใครเหลียวแลนาน 25 ปีให้เป็น
วีรบุรุษผู้งามสง่าสวยงามราวผู้วิเศษเนรมิตข้ึน และกลายเป็นผลงานท่ีมีช่ือเสียงมากท่ีสุดของเขา คณะกรรมการ
ของเมืองที่ประกอบด้วยผู้ทรงคุณวุฒิ รวมท้ังซานโดร บอตติเชลลีและเลโอนาร์โด ดาวินชี ถูกเรียกตัวมาเพ่ือ
พิจารณาสถานท่ีตั้ง David และไดเ้ ลือกให้ต้ังทีจ่ ตุรสั Piazza della Signoria หนา้ วัง Palazzo Vecchio ตอ่ มาใน
ปี 1873 ถูกย้ายไปไว้ที่หอศิลป์ Galleria dell’Accademia ส่วนที่เดิมได้สร้างรูปปั้นจาลองของ David ตั้งไว้แทน
รูปหินอ่อนแกะสลัก David จากฝีมือของไมเคิลแองเจโลเป็นประติมากรรมชิ้นเอกของโลกและเป็นสัญลักษณ์ของ
เมืองฟลอเรนซต์ ลอดมาถึงปจั จุบัน

เทคนิควิธีการในการสร้างงานทศั นศลิ ป์ของศิลปิน 32

“David” ภาพจาก https://www.takieng.com/stories/8111

ช่วงเวลาเดียวกับท่ีแกะสลัก David ไมเคิลแองเจโลยังมีผลงานหินอ่อนแกะสลักชิ้นเยี่ยมอีกช้ินหนึ่งคือ
Madonna and Child หรือท่ีเรียกกันว่า Madonna of Bruges รูปพระแม่มารีกับพระเยซูองค์น้อยบนตัก มี
ลักษณะและความงดงามใกล้เคียงกับ Pieta ปัจจุบันอยู่ท่ีโบสถ์ Church of Our Lady ท่ีเมือง Bruges ประเทศ
เบลเยยี่ ม นอกจากน้ีเขายงั มผี ลงานหินอ่อนแกะสลักชนั้ ยอดอีกมากมาย เชน่ Moses รูปปน้ั ประดับหลมุ ฝงั ศพพระ
สันตะปาปา Julius II ในโบสถ์ Church of San Pietro in Vincoli ท่ีกรุงโรม และ Dying slave กับ Rebellious
Slave ท่ีเป็นประติมากรรมดาวเด่นในพิพิธภัณฑ์ลูฟวร์ รวมท้ังบรรดารูปแกะสลักจานวนมากที่ประดับตามโบสถ์
และหลมุ ฝังศพหลายแหง่ ซ่งึ ล้วนงดงามวิจิตรสมกับท่มี าจากฝมี อื ของประติมากรอันดับ 1 ของโลกตลอดกาล

“Madonna of Bruges” ภาพจาก https://www.takieng.com/stories/8111

เทคนคิ วธิ กี ารในการสร้างงานทัศนศลิ ป์ของศิลปนิ 33

“Moses” ภาพจาก https://www.takieng.com/stories/8111

“Dying slave” “Rebellious Slave”
ภาพจาก https://www.takieng.com/stories/8111 ภาพจาก https://www.takieng.com/stories/8111

เทคนคิ วธิ กี ารในการสร้างงานทัศนศลิ ปข์ องศลิ ปิน 34

Auguste Rodin (โอกสุ ต์ โรแดง)

ภาพจาก http://www.wikitree.com/wiki/Rodin-1

โรแดง เกิดเม่ือ12 พฤศจิกายน ค.ศ. 1840 เร่ิมศึกษาประติมากรรมท่ีปารีส มีช่ือเสียงจากการสร้างรูป
ปั้นจาลอง งานช้ินหลัง ๆ ของเขาได้รับแรงบันดาลใจจากดังเตกวีคนสาคัญ โดยผลงานช้ินสาคัญได้แก่ “ประตู
นรก” (The Gates of Hell) ซ่ึงได้แรงบันดาลใจจากฉากในกวีนิพนธ์ “ไฟนรก” (Inferno) ของดังเต และรูปป้ัน
“นักคดิ ” (The Thinker) ท่ีนาเสนอภาพของดงั เตเมือ่ ยามครุ่นคดิ

“ประตูนรก” ภาพจาก https://www.art-manman.blogspot.com

เทคนคิ วิธีการในการสร้างงานทศั นศิลป์ของศลิ ปนิ 35

“นักคดิ (The Thinker) ”ภาพจาก https://www.art-manman.blogspot.com

แม้ว่าโรแดงจะถือกันว่าเป็นผู้ท่ีมีส่วนริเร่ิมการประติมากรรมสมัยใหม่แต่ ความจริงแล้วโรแดงมิได้มีความ
ตั้งใจจะปฏิรูปศิลปะแบบที่ทากันมา โรแดงได้รับการศึกษาจากสถาบันวิจิตรศิลป์แห่งฝร่ังเศส (Académie des
beaux-arts) การสร้างงานกเ็ ป็นไปตามวธิ ชี ่างอย่างที่เรยี นมาเพ่ือที่จะได้เปน็ ท่ยี อมรับ กันทางสถาบัน ในการสร้าง
งานประตมิ ากรรมโรแดงมีความสามารถทท่ี าใหเ้ หน็ ถงึ ความซบั ซ้อนและความป่ันปว่ นภายในเนื้อดนิ ที่ป้นั

งานชิ้นสาคัญๆ ของโรแดงถูกนักวิจารณ์โจมตีโดยพร้อมเพรียงกัน เพราะลักษณะงานขัดแย้งกับการทา
ประติมากรรมตามแบบแผนดั้งเดิมซึ่งเป็นการ สร้างงานเพ่ือการตกแต่ง เป็นสูตร และมีจุดมุ่งหมายในการสื่อ
ใจความของภาพ แต่งานของโรแดงจะต่างออกไปจากการป้ันเรื่องเทพกรีกโรมันและการใช้สัญลักษณ์แฝงคติอยา่ ง
ท่ีทากันมา งานของโรแดงจะเป็นรูปสรีระที่เหมือนจริงและเป็นการเทิดทูนความงามของร่างกาย โรแดงมีความ
สะเทือนต่อคาวิพากษ์วิจารณ์แต่ก็ไม่ได้ทาให้เปล่ียนวิธีสร้างงาน ของตนเอง และงานของโรแดงในที่สุดก็เป็นท่ี
ยอมรบั กันมากขึน้ จากรัฐบาลและสงั คมศลิ ปนิ

เทคนิควธิ ีการในการสร้างงานทศั นศิลปข์ องศิลปิน 36

“The Walking Man” ภาพจาก https://www /wikipedia.org/wiki/โอกสุ ต_์ รอแดง็

จากงานช้นิ สาคญั ๆ ซึ่งมอี ิทธพิ ลจากการทอ่ งเท่ยี วอติ าลีในปี ค.ศ. 1875 ไปจนถงึ งานท่แี ปลกไปจากแนวที่
ได้รับสัญญาจ้าง ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1900 โรแดงก็กลายมาเป็นประติมากรที่มีช่ือเสียงท่ีสุดคนหนึ่งของโลกมึลูกค้าผู้มี
ฐานะดีทีเสาะหางานของโรแดงตั้งแต่นางานไปแสดงท่ีงานมหกรรมสินค้าโลก ค.ศ. 1900 (1900 World's Fair) ท่ี
สหรัฐอเมริกา นอกจากน้ันโรแดงยังสังคมอยู่ในแวดวงศิลปินและผู้รู้ผู้มีชื่อเสียง โรแดงแต่งงานกับโรส บูเรท์ผู้ที่โร
แดงอยูด่ ้วยกันมาตลอดชีวติ เมือ่ ปสึ ดุ ท้ายของชวี ิตของทั้งสองคน

“The kiss” ภาพจาก https://www wikipedia.org/wiki/โอกสุ ต_์ รอแด็ง

เทคนคิ วิธีการในการสรา้ งงานทศั นศิลป์ของศลิ ปิน 37

ชิต เหรียญประชำ

ภาพจาก https://www cpss.ac.th/learnonline/art_bun_52

ชิต เหรียญประชา เกิดวันที่ 1 กรกฎาคม พุทธศักราช 2551 เป็นศิลปินอาวุโสคนสาคัญ และเป็นศิลปิน
ช้ันเยี่ยมของการแสดงศิลปกรรมแห่งชาติ ได้รับการยกย่องในวงการศิลปะว่าเป็นผู้มีความยึดมั่นในการสร้างสรรค์
ศิลปะมา เป็นเวลาอันยาวนานถึง 50 ปี นายชิต เหรียญประชา เป็นศิลปินที่มีความเป็นเลิศในด้านการแกะสลักไม้
เป็นผู้ท่ีมีความสามารถนารูปแบบของศิลปะประเพณีมาผสมกับรูปแบบวิธกี ารของ ศิลปะสมัยใหม่ได้เป็นผลสาเรจ็
นับวา่ ท่านเปน็ ศลิ ปนิ ผู้บุกเบกิ ของยุคศิลปะสมยั ใหมข่ องไทยผู้หน่ึง

ภาพจาก https://www.drekarin.wordpress.com

เทคนคิ วธิ กี ารในการสร้างงานทศั นศิลป์ของศลิ ปนิ 38

ชิต เหรียญประชา ได้ส่งผลงานแกะสลักงาช้างชื่อ“หนุมานและนางมัจฉา”เข้าร่วมแสดงและได้รับรางวัล
เกียรตินิยมอันดับ 2 เหรียญเงิน ประเภทศิลปะประยุกต์ต้ังแต่ครั้งแรกท่ีส่งผลงาน เป็นการก้าวสู่วงการศิลปะใน
ระดับชาตินับแต่น้ันมา และด้วยการสนับสนุนและให้คาแนะนาจากศาสตราจารย์ศิลป์ ท่ีมองเห็นแววและ
ความสามารถของชิต เหรียญประชา ทาให้ชีวิตของชิต เหรียญประชา ก้าวหน้า และประสบความสาเร็จในอาชีพ
การงาน

“หนมุ านและนางมจั ฉา”แกะสลกั งาชา้ ง ภาพจาก https://www.drekarin.wordpress.com

ผลงานของท่านได้รับเกียรติแสดงในการแสดงศิลปกรรมแห่งชาติ การแสดงศิลปะร่วมสมัยของไทยใน
ประเทศและมีติดตั้งแสดงถาวรในพิพิธภัณฑสถาน แห่งชาติ หอศิลป์ แม้ว่าจะอยู่ในวัยชราท่านยังคงสร้างสรรค์
ผลงานศิลปะอย่างไม่หยุดย้ัง มหาวิทยาลัยศิลปากรเห็นความสาคัญในผลงานของ ชิต เหรียญประชา จึงได้จัด
แสดงผลงาน จานวน 31 ชิ้น เพื่อเป็นเกียรติและเป็นการเผยแพร่ผลงานแก่ประชาชน ที่หอศิลป์ของมหาวิทยาลยั
นายชิต เหรียญประชา ได้ดาเนินชีวิตและสร้างสรรค์ผลงานเป็นประโยชน์และเป็นตัวอย่างท่ีดีทั้งในฐานะบุคคล
และศิลปนิ

นายชิต เหรียญประชา ได้รับการยกย่องเชิดชูเกียรติเป็นศิลปินแห่งชาติ สาขาทัศนศิลป์ (ประติมากรรม)
ประจาปีพทุ ธศักราช 2530

เทคนิควิธกี ารในการสรา้ งงานทศั นศลิ ปข์ องศลิ ปิน 39

“รามะนา” แกะสลกั ไม้ ภาพจาก https://www.rama9art.org
“กลองยาว” แกะสลกั ไม้ ภาพจาก https://www.rama9art.org

เทคนิควธิ ีการในการสรา้ งงานทัศนศิลปข์ องศลิ ปนิ 40

ธนะ เลำหกัยกุล

ภาพจาก http://www.ptr.ac.th/enet/www/allmedia/Levels/spm/m3/art

ธนะ เลาหกยั กลุ หลังจบการศึกษาจากโรงเรยี นศิลปศึกษา (ช่างศลิ ป)์ ต่อด้วยปริญญาตรที ่มี หาวทิ ยาลยั ศิลปากร
ในสาขาประติมากรรม เม่อื ปี 2511 โดยเปน็ ลูกศิษย์รุ่นสดุ ท้ายของ ศ.ศลิ ป์ พรี ะศรี ปรมาจารย์ด้านศิลปะ ศ.ธนะได้
เริ่มใช้ชีวิตในตา่ งแดนด้วยการตัดสนิ ใจเดินทางไปศึกษาต่อปรญิ ญาโททว่ี ทิ ยาลัยศิลปะแมสซาชเู ซตส์ ซึ่งในยคุ นนั้
ยงั ไมม่ ีการเปิดสอนปริญญาโทดา้ นศลิ ปะในเมืองไทย ต่อมาเขาได้รับเชญิ จากมหาวทิ ยาลยั วอชิงตัน เมอื งเซนต์
หลยุ ส์ รัฐมิสซรู ี่ ให้เป็นอาจารย์สอนวิชาประตมิ ากรรม และได้ยา้ ยไปสอนต่อท่ีมหาวทิ ยาลัยเทกซัส เมอื งออสติน
นานกว่า 26 ปี จนกระทัง่ ได้รับตาแหน่งศาสตราจารยจ์ ากสถาบนั แห่งนี้

ในระหว่างที่อยู่อเมริกาน้ัน ศ.ธนะยังได้รับเกียรติเป็นศิลปินไทยท่ีมีชื่ออยู่ใน 'Archives of American
Art Journal' ของสถาบันสมิทโซเนียน ภายหลังจากท่ีผลงานของเขาได้รับรางวัลชนะเลิศการประกวดอนุสาวรีย์
ประติมากรรมสงครามเวียดนาม โดยได้รับมอบรางวัลจากภรรยาของประธานาธิบดีลินดอน จอห์นสัน แห่ง
สหรัฐอเมริกา ต่อมาทางมหาวทิ ยาลัยศิลปากรยังไดม้ อบปริญญาดุษฎบี ณั ฑิตกิตตมิ ศักด์ิ สาขาประติมากรรมให้แก่
ศ.ธนะ อีกดว้ ย

หลังจากใชช้ ีวิตเปน็ อาจารย์สอนศลิ ปะที่อเมริกามาหลายสบิ ปี ศ.ธนะก็ตัดสินใจกลับมาทางานใหส้ ถาบันที่
เขารกั เมอื่ ทราบข่าวจากเพื่อนว่ามีระบบการสรรหาบุคคลภายนอกใหเ้ ขา้ มารบั ตาแหน่งคณบดี และหลังจากลงช่ือ
สมัครตามกระบวนการ ศ.ธนะก็ได้รับการคัดเลือกจากสภามหาวิทยาลัยศิลปากร ให้ดารงตาแหน่งคณบดี คณะ
จิตรกรรม ประตมิ ากรรม และภาพพมิ พ์ ในปี 2546

เทคนคิ วธิ กี ารในการสรา้ งงานทศั นศลิ ป์ของศิลปิน 41

“นางผีเสือ้ สมทุ ร” อ.แกลง จ.ระยอง ภาพจาก https://sites.google.com/site/meuxngkaelngnaxyu

แตเ่ พียงปีแรกของการเขา้ รับตาแหน่ง กม็ ีการขึ้นป้ายผ้าเขียนข้อความโจมตจี าก 'มือมืด' ตั้งแต่ ศ.ธนะยังไม่เดินทาง
มารบั ตาแหนง่ และทวีความรุนแรงขึ้นเรือ่ ยๆ ไม่มที ีท่าว่าจะยุติ นน่ั จงึ นาไปสู่การตดั สินใจลาออกและฟอ้ งรอ้ ง 24
คณาจารย์ จนกระทั่งเปน็ ขา่ วใหญใ่ นแวดวงศิลปะ

หลังตัดสนิ ใจลาออกจากตาแหน่งคณบดีคณะจติ รกรรมฯ มหาวิทยาลัยศลิ ปากร มาเปิดรา้ นขาย
ก๋วยเตีย๋ วเรอื ได้ไม่นาน กิจการกท็ าท่าว่าจะไปไดส้ วย สงั เกตจากวนั ทเี่ ราไปพูดคุยก็มีลูกคา้ แวะเวียนเข้ามาอดุ หนนุ
รา้ นตลอดท้ังวนั บางชว่ งคนแนน่ จนต้องรอคิว ด้วยฝีมือปรงุ กว๋ ยเต๋ยี วรสชาตดิ ี อกี ทั้งราคายอ่ มเยาเพียงชามละ 10
บาท ลกู ค้าในร้านส่วนใหญจ่ ึงมกั จะเปน็ เด็กๆ ที่อาศัยในละแวกน้ัน

ศ.ธนะเคยจดั แสดงเดี่ยวนทิ รรศการศลิ ปะชดุ "มะเร็ง" (Cancer) ซ่งึ สื่อถึงโรคภัยท่ีกาลังรุมเรา้ สขุ ภาพ
ของเขาอยู่ในเวลาน้ี ศ.ธนะตรวจพบวา่ เขาเป็นมะเรง็ กระเพาะปัสสาวะมากว่า 10 ปีแลว้ ทผ่ี ่านมาเขาพยายาม
ศึกษาตาราแพทย์ทางเลือกต่างๆ เกีย่ วกับการดแู ลสุขภาพและรักษาโรคมะเรง็ ด้วยตนเองมาโดยตลอด

นทิ รรศการศลิ ปะชดุ "มะเร็ง" (Cancer) ภาพจากhttp://jumpsuri.blogspot.com/2009/03/blog-post.html

เทคนคิ วธิ ีการในการสร้างงานทศั นศลิ ป์ของศลิ ปิน 42

ใบงานท่ี เรือ่ ง ศิลปิ นทศั นศิลป์ สาขาประติมากรรม

คำชี้แจง ใหน้ กั เรยี นเลอื กศลิ ปินสาขาประตมิ า
กรรม (ไมซ่ ้ากบั บทเรยี น) มา 1 ท่าน แลว้ คน้ ควา้ ขอ้ มลู ตามหวั ขอ้ ทก่ี าหนดให้ พรอ้ มตดิ ภาพศลิ ปินและ
ผลงาน

(ตดิ ภาพศลิ ปิน)

ชอ่ื ศลิ ปิน

ประวตั ิ
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................

แนวคิดในกำรสรำ้ งสรรคผ์ ลงำน
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................

เทคนคิ วธิ ีการในการสรา้ งงานทัศนศลิ ป์ของศลิ ปนิ 43

เทคนิคและวิธีกำรในกำรสร้ำงสรรคผ์ ลงำน
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................

(ตดิ ภาพผลงาน)

ช่อื ผลงาน

เทคนิควธิ กี ารในการสร้างงานทศั นศลิ ปข์ องศิลปนิ 44

ศลิ ปินทัศนศิลปส์ ำขำสอื่ ผสม

Marcel Duchamp มำรเ์ ซล ดูว์ชอ็ ง

ภาพจาก https://www.mutualart.com/

มาร์เชล ดูว์ช็องได้เตบิ โตมาในครอบครัวที่สมาชกิ มีความเป็นศิลปินภายในตัวสงู ครอบครัวของดูว์ชอ็ งชอบ
ที่จะเล่นหมากรุก, วาดภาพ, ทาดนตรี ตอนอายุ 10 ขวบ เขาได้เดินตามรอยพี่ชายของเขา เม่ือเขาออกจากบ้าน
และเริ่มศึกษาที่โรงเรียนปีแยร์-กอร์แนย์ (Lycée Pierre-Corneille) ในรูอ็อง เขาเชี่ยวชาญทางด้านสาขาวิชา
คณิตศาสตร์จนได้รับรางวัลทางด้านสาขาวชิ านี้ถึงสองรางวัล อีกท้ังยังได้รับรางวัลทางด้านการวาดภาพศิลปะจาก
คุณครูของเขาท่ีพยายามจะกันเด็กนักเรียนให้ออกจากศิลปะในลัทธิประทับใจ (impressionism), ลัทธิประทับใจ
ยุคหลัง (post-impressionism) และอทิ ธิพลจาพวกอาวอ็ ง-การด์ (avant-garde) อน่ื ๆ

อย่างไรก็ตาม เขาเร่ิมวาดภาพอย่างจริงจังในคร้ังแรกเมื่ออายุ 14 ปี โดยเป็นการวาดเส้นและการใช้สีน้า
ในช่วงฤดูร้อน เขาได้วาดภาพทิวทัศน์ในรูปแบบของลัทธปิ ระทับใจโดยใช้สีน้ามัน และไม่ก่ีปีถัดมาเขาได้กลายเป็น
พลเมอื งอเมรกิ ันในปี ค.ศ. 1905

เทคนคิ วิธีการในการสร้างงานทัศนศลิ ป์ของศลิ ปิน 45

ผลงานของดวู ช์ อ็ งทาให้ประเดน็ เรื่องสุนทรียะกลายเป็นปัญหา เพราะไมส่ ามารถที่จะกลา่ วได้อย่างง่าย ๆ
อีกต่อไปว่า "งานศิลปะชิ้นนี้สวย" เพราะคงไม่มีใครที่จะกล่าวว่า "โถส้วม" ในงานแสดงศิลปะว่าเป็นงานศิลปะ
ถึงแม้ว่า "โถส้วม" น้ันจะมีความสวยงามมากก็ตาม แต่งานแสดงศิลปะย่อมไม่ใช่งานแสดงผลิตภณั ฑ์สุขภณั ฑ์ ท้ังน้ี

สุขภณั ฑท์ ี่เขา้ ไปอยใู่ นงานแสดงศลิ ปะเม่ือตน้ ศตวรรษที่ย่ีสิบ
ก็คงไม่ได้ทาให้ใครเข้าใจได้ว่า "โถส้วม" ท่ีว่านี้จะเป็นศิลปะ
ได้อย่างไร การตัดสินให้อะไรเป็นศิลปะในลักษณะแบบนี้ก็
เปรียบเสมือนการต้ังช่ือวิสามานยนามให้กับศิลปะวัตถุ
สาหรับวิสามานยนามในที่น้ีก็คือ "ศิลปะ" ในแง่น้ีผลงาน
ศิลปะของดูว์ช็องเกิดข้ึนจากการตัดสินใจด้วยตัวเองล้วน ๆ
ในการท่ีจะจัดให้อะไรเป็นศิลปะ อะไรไม่เป็นศิลปะ การ
ตัดสินด้วยการจัดระเบียบใหม่ด้วยวิสามานยนามอย่าง
ศลิ ปะก็หมายความถึง ความเปน็ สมัยใหม่อย่างเต็มท่ี เพราะ
เขาไม่ได้ตกอยู่ภายใต้ข้อกาหนดความเป็นศิลปะจาก
ภายนอก นี่เป็นการแสดงให้เห็นถึงความเป็นเอกเทศของ
ศิลปะ ความเป็นเอกเทศของศิลปนิ ความเป็นเอกเทศแสดง
ใหเ้ ห็นถงึ ลักษณะของความเปน็ สภาวะสมยั ใหม่

“Fountain” ภาพจากhttps://th.wikipedia.org/wiki

เขามีความคิดท่ีจะต่อต้านศิลปะ จนกลายเป็นเร่ืองเป็นราว
เกิดแนวทางใหม่ เหมือนเปิดประตูให้ศิลปินได้เข้าไปพบกับโลกใหม่
อยา่ งคาดไม่ถึง เป็นลักษณะงานตามแบบคตดิ าดา เขามักนยิ มตั้งช่ือ
ผลงานของเขาเป็นคาผวนหรือเล่นคาให้เกิดความหมายแปลก ๆ
หรือประชดประชัน เช่น L.H.O.O.Q. ซึ่งสามารถออกเสียงได้
หลากหลาย และมีความหมายแตกต่างกัน โดยผลงานชิ้นนี้เป็นการ
เขียนหนวดเคราลงไปบนใบหน้าของโมนาลิซาซึ่งเป็นภาพท่ีมี
ช่ือเสียงโด่งดัง ในการที่เขากระทาเช่นน้ี ก็เพื่อเป็นการลดความขลัง
ของผลงาน

L.H.O.O.Q” ภาพจากhttps://th.wikipedia.org/wiki

เทคนคิ วิธีการในการสร้างงานทศั นศลิ ปข์ องศิลปนิ 46

Robert Rauschenberg (โรเบิร์ต เรำเชนเบิรก์ )

ภาพจากhttps://en.wikipedia.org/wiki/Robert_Rauschenberg

Robert Rauschenberg (โรเบริ ์ต เราเชนเบิร์ก) หรอื ชอ่ื เต็มว่า มิลตัน เออร์เนสต์ “โรเบิร์ต” เราเชน
เบิรก์ (Milton Ernest “Robert” Rauschenberg) (22 ตุลาคม 1925 – 12 พฤษภาคม 2008)หนึ่งในศิลปนิ
อเมรกิ ันผู้ทรงอิทธพิ ลทสี่ ุด เขาได้รบั การยกให้เป็นศิลปินโพสตโ์ มเดริ ์นคนแรกๆ จากการแสวงหาแนวทางใหมๆ่ ใน
การทางานศลิ ปะ และหลอมรวมวสั ดแุ ละวธิ ีการทางานศลิ ปะอันหลากหลายเข้าไว้ด้วยกนั ไมว่ ่าจะเปน็ จติ รกรรม,
ภาพถ่าย, ประตมิ ากรรม, สื่อผสม, ภาพพิมพ์ และศลิ ปะแสดงสด ฯลฯ

เราเชนเบิรก์ เป็นศลิ ปนิ ผู้มีบทบาทในการขบั เคลื่อนวงการศิลปะอเมริกนั ที่ถูกครอบครองโดยกระแส
เคล่อื นไหว แอ็บสแตร็กตเ์ อ็กซเ์ พรสชนั่ นิสต์ (Abstra ct Expressionism) ในช่วงยคุ ต้นทศวรรษ 1950 ใหเ้ ปลี่ยน
ไปสกู่ ระแสเคล่อื นไหวทางศลิ ปะใหมๆ่ หลากหลาย
แนวทาง เขาเปน็ หน่งึ ในศลิ ปินคนสาคัญของกระแส
เคลอ่ื นไหว นโี อดาด้า*ในฐานะศิลปินนกั ทดลองผู้ม่งุ
ขยายขอบเขตของศิลปะให้กว้างไกลกวา่ เดมิ และ
เปดิ เสน้ ทางใหม่ๆ ให้กับศลิ ปินรุ่นหลงั อยา่ งมหาศาล
ถึงแมเ้ ขาจะถูกต้ังฉายาว่าเปน็ ตัวแสบแหง่ โลกศลิ ปะ
ในยคุ 1950s จากการทางานทีท่ ้าทายขนบเดิมๆ
ของศลิ ปะและศิลปินรนุ่ เกา่ ๆ อยา่ งอาจหาญแตเ่ ขาก็
เป็นท่ีรกั ใคร่ชอบพอและได้รบั การยอมรับนับถือจาก

Automobile Tire Print (1953), ภาพจากhttps://bit.ly/2PnspkP

เทคนคิ วธิ กี ารในการสรา้ งงานทศั นศิลปข์ องศิลปนิ 47

ศิลปินรุ่นก่อนหน้าอ ย่างมากถึงแม้เขาจะให้ความเคารพศิลปิน เหล่าน้ันเช่นเดียวกันแต่เขาเองก็โต้แย้งความคิด
และความเช่ือเดิมๆ ของศิลปินรุ่นเก่า และลบล้าง แนวคิด รูปแบบการทางาน หรือแม้แต่ ผลงานของศิลปิน
เหล่าน้ัน เพื่อแสวงหาพรมแดนใหม่ๆทางสุนทรียะ และเสาะหานิยามใหม่ๆ ทางศิลปะ เช่นเดียวกับศิลปินในกลุ่ม
ดาด้าในยุคก่อนหนา้

โดยในช่วงปี 1951-1953 เราเชนเบิร์กทางานศิลปะจานวนมากมายหลายช้ินท่ีสารวจข้อจากัดและ
ความหมายของศลิ ปะภายใต้แนวคิดท่ีพฒั นามาจากแนวทางแบบเรดี้เมด (readymades) หรอื ศิลปะสาเร็จรูปของ
มาร์เซล ดูชองป์ (Marcel Duchamp) ด้วยการทดลองทางศิลปะที่ลบกฎเกณฑ์เดิมๆ ของการสร้างสรรค์ศิลปะ
อย่างสิน้ เชิง

ตัวอย่างของการ “ลบ” ที่แสบสันท่ีสุดของเรา
เชนเบิร์กก็คือผลงานท่ีมีช่ือว่า Erased de Kooning
Drawing (1953)ซ่ึงเป็นการสร้างสรรค์ผลงานศิลปะ
ด้วยการลบผลงานของศิลปินคนอื่นนั่นเอง ท่ีบอกว่าลบ
ก็คือการใช้ยางลบลบผลงานเอาด้ือๆ เลยน่ันแหละ โดย
ในตอนแรก เราเชนเบิร์กเริ่มต้นการทดลองนี้ด้วยการ
ลองลบผลงานวาดเส้นของตัวเองก่อน แต่ในที่สุดเขาก็
ตัดสินใจว่า ถ้าต้องการให้การทดลองของตนเองประสบ
ความสาเร็จ เขาจะต้องลบผลงานของศิลปินคนอ่ืน
เพราะถ้าเขาลบงานของตัวเอง ผลลัพธ์ก็จะไม่เป็นอะไร
มากไปกวา่ การลบงานตัวเองทิง้

Erased de Kooning Drawing (1953)
ภาพจาก https://bit.ly/2MT73dG

ดังน้ัน เขาจึงด้ันด้นไปเยี่ยมเยือนศิลปินรุ่นพ่ีท่ีเขานับถือมากๆ อย่างวิลเลียม เดอ คูนนิง (Willem de
Kooning) ศิลปินแอ็บสแตร็กต์เอ็กซ์เพรสชั่นนิสต์ผู้ยิ่งใหญ่ และออกปากของานวาดเส้นของเดอ คูนนิง เพ่ือนาไป
ลบ ถึงแม้เดอ คูนนิง จะไม่ยินยอมในทีแรกแต่หลังจากถูกศิลปินรุ่นน้องเกล้ียกล่อม เขาก็กัดฟันมอบผลงานให้เรา
เชนเบริ ์กไปลบทง้ิ แตก่ จ็ งใจเลอื กชนิ้ ที่ลบยากๆ ให้ เพอื่ ให้การลบของเขามคี วามหมายลึกซ้ึงยง่ิ ข้นึ ซง่ึ กว่าทเ่ี ราเชน
เบิร์กของเราจะลบภาพออกหมดก็กินเวลาไปกว่าเดือนและใช้ยางลบไปราวสิบห้าก้อนเลยทีเดียว (เม่ือดูจาก
ร่องรอยที่หลงเหลือเลือนรางแล้ว ภาพวาดลายเสน้ ของเดอ คูนนิงที่ถูกลบนี้ น่าจะมาจากชุด “Woman” ท่ีเขาทา
ในชว่ งปี 1950-1955)

เทคนคิ วธิ กี ารในการสร้างงานทศั นศลิ ป์ของศิลปิน 48

เราเชนเบิร์กกล่าวถึงกระบวนการสร้างงานศิลปะของตัวเองด้วยการลบงานของผู้อื่นทิ้งของเขาว่า “มัน
ไม่ใช่แค่การลบงานของศิลปินคนอ่ืน แต่มันเป็นการเฉลิมฉลองของความคิดต่างหาก”แต่ก็แน่นอนละว่า การทา
แบบน้ีของเขากน็ า่ จะมีความหมายแฝงเร้นถึงการโบกมือลาศลิ ปะแอ็บสแตรก็ ต์เอก็ ซ์เพรสช่นั นสิ ต์และความคิดท่ีว่า
ผลงานศิลปะต้องเป็นอะไรท่แี สดงออกถึงอารมณ์ความรู้สึกของมนั ด้วยเช่นกัน และเปน็ การประกาศศักดาแห่งการ
มาถึงของกระแสความเคล่ือนไหวและแนวคดิ ใหมๆ่ ทางศลิ ปะทก่ี าลังจะถอื กาเนิดขน้ึ ผลงานครั้งน้ีของเราเชนเบิร์ก
ตั้งคาถามเก่ียวกับการมีตัวตนอยู่ของศิลปะและท้าทายผชู้ มให้ครุ่นคิดว่า การที่ศิลปินคนหนึ่งลบผลงานของศิลปนิ
อีกคนท้ิง เป็นกระบวนการสร้างสรรค์ทางศิลปะตรงไหน มันเป็นการแสดงคารวะ ล้อเลียน ยั่วยุ ท้าทาย ล้างครู
หรือเป็นแค่การทาลายกันแน่ แต่อย่างไรก็ตาม ศิลปะของการลบทิ้งของเราเชนเบิร์กช้ินนี้ก็เป็นผลงานที่ท้าทาย
ขอบเขตแห่งการสร้างสรรค์ เปิดเส้นทางสู่พรมแดนใหม่ๆ ในการทางานศิลปะ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ศิลปะในแนว
คอนเซ็ปชวล (Conceptual art) นน่ั เอง

นอกจากจะต้ังคาถามกับตัวตนความหมายของศิลปะแล้ว เขายังตั้งคาถามกับบทบาทของศิลปิน และ
ยกระดับแนวคิดในการทางานศิลปะ จากการใช้สีสันและฝีแปรงเพื่อการแสดงออกถึงตัวตนภายในของศิลปิน ไปสู่
การทางานที่สะท้อนสังคมและโลกร่วมสมัย ด้วยการใช้สื่อสมัยนิยม สินค้าอุตสาหกรรม และข้าวของรอบตัวท่ัวไป

ที่พบได้เกล่ือนกลาด มาเป็นวัตถุดิบในการ
ทางานศิลปะด้วยการหยิบจับผสมผสานวัสดุ
เก็บตกเหลือใช้ ของโหลดาษด่ืน ไปจนถึงซาก
สัตว์ท่ีถูกสตัฟฟ์ มาทางานร่วมกับสื่อแบบ
ดั้งเดิมอย่างสีน้ามัน ผสานกับสาเนาจาก
ภาพถ่ายในส่ือต่างๆ กับสีทาบ้านท่ัวๆ ไป มา
สร้างสรรค์เป็นงานศิลปะลูกผสมที่หลอมรวม
งานจิตรกรรมสองมิติเข้ากบั งานประติมากรรม
สามมิตทิ ม่ี ีชอื่ เรยี กวา่ “Combine painting”

Monogram (1955–59) ผลงาน Combine painting,
ภาพจากhttps://bit.ly/2NiLim

เทคนิควธิ กี ารในการสรา้ งงานทัศนศลิ ป์ของศิลปนิ 49

เราเชนเบริ ์กเช่อื วา่ งานจติ รกรรมนัน้ เชือ่ มโยงกับท้ังศลิ ปะและชวี ติ อย่างปฏิเสธไม่ไดด้ ว้ ยความเช่ือเช่นนี้ เขา
สร้างสรรค์ผลงานที่เช่ือมโยงระหว่างชีวติ และศิลปะ ทีส่ รา้ งบทสนทนาอย่างต่อเนื่องกบั ผู้ชมและโลกรอบตัว รวมถึง
เร่ืองราวในประวตั ิศาสตร์ศิลปะ เขามักปลอ่ ยใหผ้ ู้ชมตคี วามผลงานของเขาไดอ้ ย่างอสิ ระ โดยไม่จากดั ควบคุม หรือ
ชี้นาความคดิ ของพวกเขา

Canyon (1959) ผลงาน Combine painting, ภาพจากhttps://mo.ma/2NeeT0k

ในชว่ งบ้นั ปลายชวี ิต เราเชนเบริ ์กอาศัยและทางานในนิวยอร์กและฟลอรดิ าเขาเสียชวี ิตในวนั ท่ี 12
พฤษภาคม 2008 ในวยั 82 ปี เหลือท้งิ ไวแ้ ตเ่ พยี งผลงานและแรงบันดาลใจอนั นบั ไมถ่ ว้ นแก่ศลิ ปนิ รนุ่ หลัง

เทคนิควธิ กี ารในการสรา้ งงานทัศนศิลปข์ องศลิ ปนิ 50

มณเฑยี ร บญุ มำ

ภาพจากhttps://creativethailand.net

มณเฑียร บุญมา จบการศึกษาระดับปริญญาตรีจากคณะจิตรกรรมประติมากรรรมและภาพพิมพ์
มหาวทิ ยาลยั ศิลปากร ก่อนจะได้ทุนไปเรยี นตอ่ ท่ีอิตาลีและฝร่ังเศส และกลบั มาศกึ ษาต่อในระดับปริญญาโทท่ีคณะ
จิตรกรรมฯ มหาวิทยาลัยศิลปากรอีกครั้ง เขาถือเป็นศิลปินคนสาคัญในยุคทศวรรษท่ี 2520 ร่วมสมัยเดียวกันกับ
อารยา ราษฎร์จาเริญสุข สุธี คุณาวิชยานนท์ มานิต ศรีวานิชภูมิ หรือ อภินันท์ โปษยานนท์ กลุ่มศิลปินที่กลับมา
จากตา่ งประเทศ และนาความคดิ ทางศลิ ปะใหม่ๆ กลบั เขา้ มายงั ประเทศไทย โดยเคยเป็นอาจารยท์ ี่คณะวิจิตรศิลป์
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ คณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (ช่วงส้ันๆ) และคณะจิตรกรรม
ประติมากรรมและภาพพิมพ์มหาวิทยาลัยศลิ ปากร จนกระทั่งเสยี ชวี ติ ในปี 2543

A pair of water-buffaloes (1988) ภาพจาก http://sec4review.blogspot.com

เทคนิคการสร้างสรรค์ผลงาน มีอะไรบ้าง

สร้างผลงานให้ดีขึ้นได้ แค่คุณทำสิ่งเหล่านี้.
1. รู้จักตนเอง และเปิดใจรับการเปลี่ยนแปลง ... .
2. คิดรอบคอบ วางแผนทำตามกรอบ อย่างเป็นระบบ ... .
3. งานไม่หลุด ด้วย checklist. ... .
4. checkback แบบจำลองความผิดพลาด แก้ปัญหาก่อนลงมือทำจริง ... .
5. เปิดโลกด้วย แหล่งเรียนรู้ฟรีและดี ... .
6. หาโอกาสลองทำบ่อย ๆ พัฒนาฝีมือ ... .
7. ปิดอคติของตนเอง.

เทคนิควิธีการสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์มีกี่ประเภท

เทคนิคการสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ มีวิธีการสร้างสรรค์ผลงานแบ่งออกเป็น 6 เทคนิคใหญ่ ๆ ได้แก่ เทคนิคการสร้างสรรค์งาน เทคนิคการสร้างสรรค์งานภาพพิมพ์ เทคนิคการสร้างสรรค์งานประติมากรรม เทคนิคการสร้างสรรค์งานสถาปัตยกรรม เทคนิคการสร้างสรรค์งานศิลปะสื่อผสม และเทคนิคการสร้างสรรค์งานศิลปะด้วยคอมพิวเตอร์

การสร้างสรรค์ผลงานทัศนศิลป์คืออะไร

กระบวนการสร้างสรรค์ผลงานทัศนศิลป์ การสร้างสรรค์ทัศนศิลป์ เป็นการค้นหารูปทรงที่มีคุณค่า มีความ สําคัญ มีความสอดคล้องกับเป้าหมายของการสร้างสรรค์ เป็นการปฏิบัติ การที่เป็นกระบวนการ เพื่อให้ได้มาซึ่งรูปทรงใหม่หรือสิ่งใหม่ทางทัศน ศิลป์ มีลักษณะเฉพาะตัวของผู้สร้างสรรค์ และเป็นต้นแบบหรือต้นฉบับ (Originality) ที่มีเอกภาพ

การสร้างสรรค์ผลงานในงานทัศนศิลป์ควรคำนึงถึงสิ่งใด

การออกแบบงานทัศนศิลป์ นิยมใช้หลักองค์ประกอบการทัศนศิลป์เป็นแนวทางในการสร้าง 5 ประการ ได้แก่ เอกภาพ ดุลยภาพ จุดเด่น ความกลมกลืน และความขัดแย้ง โดยสามารถวิเคราะห์การใช้ธาตุและ หลักการออกแบบในงานทัศนศิลป์5 ประการ ดังนี้ ๑. เอกภาพ (unity)