พันธะระหว่างนิวคลีโอไทด์ เรียกว่าอะไร

����ѧ���� DNA
����ѧ������ DNA (DNA replication)

����ѧ������ DNA �繻�ԡ�������շ���Դ��������������������¹͡���� ��觾���ػ�Ѵѧ���
1. ����ͨ��ա���ѧ������ DNA �Դ��� ��¾��Թ�Ǥ����䷴� 2 ��¢ͧ DNA ��Ẻ���¡��ҧ�͡�ҡ�ѹ �¾ѹ������ਹ ����ִ��·���ͧ���µ�� �����繾ѹ�з��������ç
2. ����¡�͡�ҡ�ѹ���������Դ��ͧ����Ǥ����䷴������ѵ�شԺ�����仨Ѻ���Ѻ�ʢͧ��Ǥ����䷴�������������������� �� A ���Ѻ T ��� C ���Ѻ G

3. ��Ǥ����䷴� ��������������������Դ�ѹ �¡�÷ӧҹ�ͧ�͹������˹�ҷ���������Ǥ����䷴���Ҵ��¡ѹ ��觨�������ҡ���� 5� ��ѧ���� 3�
4. �ѧ��鹨ҡ DNA ����繵�Ẻ 1 ���š�Ũ��� DNA �ҡ����ѧ������ 2 ���š�����������š�Ż�Сͺ������¾��Թ�Ǥ����䷴���� 1 ��� �����¹�Ǥ����䷴� ���� 1 ��� ������ӴѺ��Ǥ����䷴�����͹����ء��С��
5. DNA �������š�ŷ���Դ��� �л�Сͺ���¾��Թ�Ǥ����䷴���� 1 ��������¾��Թ�Ǥ����䷴����� 1 ��� ��кǹ����ѧ������ DNA ������¡��� ������� �þ��पѹ (DNA replication)


�� : �ҧ ���Ŭ� ������ྪ�Ҿ���, �ç���¹���չء�� �غ��Ҫ�ҹ�, �ѹ��� 7 �ѹ�Ҥ� 2544

DNA นั้นก็เปรียบได้กับคนมีคู่ เพราะโดยทั่วไปมักจะอยู่เป็นคู่ดังรูป ในขณะเดียวกัน RNA ก็เปรียบเหมือนแอดมิน เฮ้ย! เหมือนคนโสดต่างหาก เพราะมักอยู่เป็นสายเดี่ยว ดังนั้น วาเลนไทน์ปีนี้แอดอยากพาเพื่อน ๆ มาทำความรู้จักกับตัวแทนของคนมีคู่และคนโสดในร่างกายเรากันดีกว่า Let’s go!!

พันธะระหว่างนิวคลีโอไทด์ เรียกว่าอะไร

 รู้หรือไม่? หน้าที่สำคัญอย่างหนึ่งของสิ่งมีชีวิต คือ การสืบพันธุ์

สิ่งมีชีวิตทุกชนิดต้องมีการสืบพันธุ์เพื่อดำรงเผ่าพันธุ์ โดยจะมีการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมต่างๆ ของตนเองไปสู่รุ่นลูกหลาน ซึ่งลักษณะต่างๆ ที่ว่านั้นถูกเก็บไว้ในสิ่งที่เรียกว่า “สารพันธุกรรม”

สารพันธุกรรมจะทำหน้าที่เก็บข้อมูลทางพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิตเอาไว้ เมื่อสิ่งมีชีวิตมีการสืบพันธุ์ สารพันธุกรรมจะถูกถ่ายทอดไปยังรุ่นต่อไปด้วย

สารพันธุกรรมในเซลล์สิ่งมีชีวิตเรียกรวมว่า กรดนิวคลีอิก (nucleic acid) แบ่งออกเป็น 2 ชนิด คือ

1. ดีเอ็นเอ (DNA – deoxyribonucleic acid)
2. อาร์เอ็นเอ (RNA – ribonucleic acid) 

พันธะระหว่างนิวคลีโอไทด์ เรียกว่าอะไร

มาทำความรู้จัก DNA กันเถอะ

  • DNA (deoxyribonucleic acid) เป็นสารพันธุกรรมชนิดหนึ่ง ทำหน้าที่เก็บข้อมูลพันธุกรรมและถ่ายทอดข้อมูลนั้นไปยังรุ่นลูกหลาน จัดเป็นสารชีวโมเลกุลประเภทกรดนิวคลีอิก (nucleic acid) ที่มีลักษณะเป็นพอลิเมอร์สายยาว เรียกว่า พอลินิวคลีโอไทด์ (polynucleotide) 2 สายจับกันเป็นเกลียวคู่คล้ายบันไดเวียน

พันธะระหว่างนิวคลีโอไทด์ เรียกว่าอะไร

ลักษณะชัด ๆ ของ DNA เป็นอย่างไร

  • เมื่อซูมดูกันชัด ๆ จะเห็นว่า DNA นั้นมีขนาดเล็กมากในระดับนาโนเมตร (10^(-9) เมตร) หรือเล็กกว่าเส้นผมราว 100,000 เท่า (รูป ก.) โดยพอลินิวคลีโอไทด์ 2 สายจะจับยึดกันไว้ด้วยพันธะไฮโดรเจนของเบสคู่สม (รูป ข.)

พันธะระหว่างนิวคลีโอไทด์ เรียกว่าอะไร

สิ่งเล็ก ๆ ที่เล็กกว่า DNA

DNA ที่ว่าเล็กแล้ว ต้องบอกว่าภายใน DNA นั้นยังมีหน่วยย่อยที่เล็กยิ่งกว่า เรียกว่า นิวคลีโอไทด์ (nucleotide) โดยนิวคลีโอไทด์นั้นประกอบด้วย 3 ส่วนย่อย ได้แก่

1. น้ำตาลดีออกซีไรโบส (น้ำตาล 5 คาร์บอน)
2. หมู่ฟอสเฟต (เป็นตำแหน่งที่มีการสร้างพันธะในสายพอลินิวคลีโอไทด์)
3. ไนโตรจีนัสเบส (เป็นตำแหน่งที่มีการสร้างพันธะระหว่างสายพอลินิวคลีโอไทด์ที่เป็นคู่กัน)

โดยไนโตรจีนัสเบสในนิวคลีโอไทด์ ยังแบ่งออกได้เป็น 4 ชนิด คือ อะดินีน (A) กวานีน (G) ไซโทซีน (C) และ ไทมีน (T) 

พันธะระหว่างนิวคลีโอไทด์ เรียกว่าอะไร

 DNA กับ RNA เกี่ยวข้องกันอย่างไร

นอกจากหน้าที่ในการเก็บและถ่ายทอดข้อมูลทางพันธุกรรมแล้ว DNA ยังทำหน้าที่เกี่ยวข้องกับการควบคุมลักษณะทางพันธุกรรมผ่านการสังเคราะห์โปรตีนอีกด้วย โดยปกติแล้วโปรตีนจะถูกสังเคราะห์ที่ไรโบโซมซึ่งอยู่ภายนอกนิวเคลียส

ดังนั้น DNA จึงไม่ใช่แม่แบบในการสังเคราะห์โปรตีนโดยตรง แต่จะเป็นแม่แบบในการสังเคราะห์ mRNA (messenger RNA) ขึ้นมาเพื่อนำส่งข้อมูลในการสังเคราะห์โปรตีนไปยังไรโบโซมอีกทอดหนึ่ง


หมายเหตุ *** RNA แบ่งออกเป็น 3 ชนิด ได้แก่

1. mRNA (messenger RNA): นำส่งข้อมูลในการสังเคราะห์โปรตีน โดยถอดรหัสพันธุกรรมจาก DNA

2. tRNA (transfer RNA): นำกรดแอมิโนไปยังตำแหน่งที่จำเพาะบนสาย mRNA ที่ไรโบโซมในกระบวนการแปลรหัส

3. rRNA (ribosomal RNA): เป็นองค์ประกอบของไรโบโซมในส่วนที่เกิดการสังเคราะห์โปรตีน 

พันธะระหว่างนิวคลีโอไทด์ เรียกว่าอะไร

 ขั้นตอนการสังเคราะห์โปรตีน (ฉบับย่อ)

1. การถอดรหัส (transcription): การสังเคราะห์ mRNA โดยใช้ DNA เป็นแม่แบบ
2. การแปลรหัส (translation): การสังเคราะห์โปรตีนโดยแปลรหัสพันธุกรรมจากลำดับเบสบน mRNA

พันธะระหว่างนิวคลีโอไทด์ เรียกว่าอะไร

RNA ก็มีสิ่งเล็ก ๆ ที่เรียกว่า “นิวคลีโอไทด์” เหมือนกัน

RNA โดยทั่วไป คือ พอลินิวคลีโอไทด์สายยาวเพียงเส้นเดียว เกิดจากการเชื่อมต่อกันของหน่วยที่เล็กที่สุดของ RNA เรียกว่า นิวคลีโอไทด์ ซึ่งประกอบด้วย 3 หน่วยย่อย ได้แก่ น้ำตาลไรโบส หมู่ฟอสเฟต และไนโตรจีนัสเบส

จะเห็นว่า DNA กับ RNA มีหน่วยย่อยที่เรียกว่า นิวคลีโอไทด์และประกอบด้วย 3 หน่วยย่อยเช่นเดียวกัน แต่ต่างกันตรงที่ไนโตรจีนัสเบสใน RNA ใช้ยูราซิล (U) แทนไทมีน (T) นั่นเอง

พันธะระหว่างนิวคลีโอไทด์ เรียกว่าอะไร

 สรุปความแตกต่างระหว่าง DNA กับ RNA ตามตารางด้านบนเลย

พันธะระหว่างนิวคลีโอไทด์ เรียกว่าอะไร

สสวท. ขอบคุณทุกท่าน ๆ ที่อ่านและรับชมจนจบ และ ขอให้มีความสุขในวันวาเลนไทน์กันทุกคน แล้วเจอกับ สาระดี ๆ คู่วันสำคัญกับวิทยาศาสตร์แบบนี้ได้กับ สสวท. หรือกิจกรรมน่าสนใจอื่น ๆ ทางเฟซบุ๊ก IPST Thailand

มีพันธะใดบ้างในโครงสร้าง nucleotide

กรดนิวคลีอิกเป็นสารที่มีขนาดโมเลกุลใหญ่ ประกอบด้วยหน่วยย่อย คือ นิวคลีโอไทด์ (nucleotide) หลายๆ หน่วยมาเชื่อมต่อกันด้วยพันธะฟอสโฟไดเอสเทอร์ (phosphodiester bond) ส่วนนิวคลีโอไทด์เป็นสารที่ประกอบด้วยส่วนที่เรียกว่า นิวคลีโอไซด์ (nucleoside) กับหมู่ฟอสเฟต โดยนิวคลีโอไซด์เป็นสารที่ประกอบด้วยเบสกับน ้าตาล ดังแผนภาพต่อไปนี้ ...

นิวคลีโอไทด์ประกอบไปด้วยอะไรบ้าง

นิวคลีโอไทด์ คือสารประกอบพิรีนหรือพิริมิดีนเบส ที่ต่ออยู่กับน้ำตาลฟอสเฟต เป็นมอโนเมอร์ในโมเลกุลของกรดนิวคลีอิก ได้จากการไฮโดรไลซ์กรดนิวคลีอิก ในโมเลกุลของนิวคลีโอไทด์ประกอบด้วย 3 ส่วน คือ ไนโตรเจนเบส น้ำตาลไรโบส และหมู่ฟอสเฟต

พันธะใดทำให้เกิดพอลินิวคลีโอไทด์

เมื่อเบสชนิดพิรีนจับกับไพริมิดีน (อะดีนีน จับกับ ไทมีน และ กวานีน จับกับไซโทซีน) ที่อยู่ ต่างสายพอลินิวคลีโอไทด์ด้วยพันธะไฮโดรเจนทำให้เกิดลักษณะโครงสร้างของพอลินิวคลี

พันธะที่เชื่อมแต่ละนิวคลีโอไทด์ เข้าด้วยกัน คือพันธะอะไร

นิวคลีโอไทด์ประกอบด้วยเบสเพียวรีนและพิริมิดีนเชื่อมกับน้ำตาลเพ็นโทสด้วยพันธะเบต้า ไกลโคซิดิค น้ำตาลเพ็นโทส ได้แก่ น้ำตาลไรโบส และ ดีออกซีไรโบส เมื่อน้ำตาลเชื่อมกับเบสตำแหน่งคาร์บอนอะตอมของน้ำตาลจึงเป็นเลขที่มีขีดอยู่ด้วย (prime number) เพื่อให้แตกต่างจากการบอกตำแหน่งอะตอมในองค์ประกอบของเบส ตัวอย่างเช่น 2'-deoxyribose ...