เพลงหน้าพาทย์ธรรมดา มีอะไรบ้าง

  • Introductionรายชื่อเพลงหน้าพาทย์
  • เพลงหน้าพาทย์สำหรับพิธีไหว้ครู

รายชื่อเพลงหน้าพาทย์

บทความรายชื่อวิกิมีเดีย / From Wikipedia, the free encyclopedia

เพลงหน้าพาทย์สามารถแบ่งเป็นหมวดๆได้ดังนี้

ดูบทความหลักที่เพลงหน้าพาทย์

Oops something went wrong:

HomeAbout usFAQPressSite mapTerms of servicePrivacy policy

              เพลงหน้าพาทย์ทั้ง ๗ ลักษณะดังกล่าวนี้ ล้วนเป้นเพลงหน้าพาทย์ที่นำมาใช้ในการแสดงต่างๆ เช่น ลิเก ละคร และโขนอยู่บ่อยๆ ดังนั้นถ้าหาก รู้จักสังเกตุ และศึกษาหาความรู้ในเรื่องเพลงหน้าพาทย์เหล่านี้มาบ้าง ก็จะช่วยให้สามารถดูศิลปกะก ารแสดงต่างๆ ของไทยได้อย่างเข้าใจ และมีความเพลิดเพลินยิ่งขึ้น

เพลงหน้าพาทย์แบ่งเป็นกี่ชนิด *

เพลงหน้าพาทย์แบ่งตามฐานันดร แบ่งออกเป็นชนิด คือ ๑. หน้าพาทย์ธรรมดา ใช้บรรเลงประกอบกิริยาอารมณ์ของตัวละครที่เป็นสามัญชน เป็นเพลงหน้าพาทย์ ไม่บังคับความยาว การจะหยุด ลงจบ หรือเปลี่ยนเพลง ผู้บรรเลงจะต้องดูท่ารำของตัวละครเป็นหลัก เพลงหน้า พาทย์ชนิดนี้โดยมากใช้กับการแสดงลิเกหรือละคร เช่น เพลงเสมอ เพลงเชิด เพลงรัว เพลงโอด

หน้าพาทย์ มีอะไรบ้าง

เพลงหน้าพาทย์สำหรับพิธีไหว้ครู.
สาธุการ - ใช้ในการจุดธูปเทียนบูชาพระรัตนตรัยและสิ่งศักดิ์สิทธิ์.
สาธุการกลอง - ใช้ในการบูชาครูและเทพเทวดา.
ตระสันนิบาต - ใช้ในการเชิญสิ่งศักดิ์สิทธิ์มาประชุมพร้อมกัน ณ ปะรำพิธี.
ตระเชิญ - ใช้ในการเชิญเทพยดาต่างๆ.
โหมโรง - ใช้ในการเชิญเทพยดา ความหมายเทียบเท่าโหมโรงเย็น.

เพลงหน้าพาทย์ชั้นกลางคือเพลงใด

2. เพลงหน้าพาทย์ชั้นกลาง ใช้กับตัวละครที่มีความสำคัญมากขึ้น เช่น เพลงเสมอข้ามสมุทร เพลงเสมอเถร เพลงเสมอมาร 3. เพลงหน้าพาทย์ชั้นสูงใช้กับตัวละครสูงศักดิ์ เช่น เพลงบาทสกุณี (เสมอตีนนก) เพลงดำเนินพราหมณ์

เพลงหน้าพาทย์จำเเนกตามอากัปกอิริยาได้กี่ลักษณะ

โดยหลักใหญ่ๆ เพลงหน้าพาทย์แบ่งออกเป็นสองอย่างด้วยกันคือ เพลงหน้าพาทย์ใช้บรรเลงอย่างหนึ่งและเพลงหน้าพาทย์ใช้ ประกอบกิริยาอาการของตัวโขน ละครามบทอีกอย่างหนึ่งปี่พาทย์ที่ไม่ได้ประกอบการแสดงอิสระในการบรรเลงไม่กำหนดเวลาที่แน่นอนอยู่ที่ผู้บรรเลง