การแสดงนาฏศิลป์สากล มีอะไรบ้าง

HE L L O

รายวิชาดนตรี-นาฏศิลป์
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5

หน่วยการเ
รียนรู้ที่ 3
นาฏศิลป์สากล

นางสาวรัมภาภัค อยู่ยิ่ง
ฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู
คณะศิลปศึกษา สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์

ความแตกต่างระหว่างนาฏศิลป์ไทย
และนาฏศิลป์สากล

นาฏศิลป์สากล

บัลเล่ต์ (Ballet)

โอเปร่า (Opera)
ละครบรอดเวย์ (Broadway)

มาตรฐานและตัวชี้วัด

มาตรฐาน ศ ๓.๑ เขาใจและแสดงออกทางนาฏศิลปอยางสรางสรรค วิเคราะห วิพากษ
วิจารณ คุณคานาฏศิลป ถา ยทอดความรูสึก ความคิดอยา งอิสระ ชื่นชมและ ประยุกตใ ช้
ในชีวิตประจําวัน

ตัวชี้วัด ศ ๓.๑ ม.๔ - ๖/๕ วิเคราะหแ กนของการแสดงนาฏศิลปแ ละการละคร
ที่ตองการสื่อความหมายในการแสดง

บัลเล่ต์ (Ballet)

เปนศิลปะการเตนรําแขนงหนึ่ง ที่มีประวัติความเปน มา
ยาวนานนับศตวรรษ โดยมีจุดกําเนิดครั้งแรก ณ ประเทศอิตาลี
ในยุคสมัยที่เรียกวา “เรเนซอง หรือ ยุคฟน ฟูศิลปะวิทยาการ”

ศิลปะการเตนบัลเลตในยุคแรกเริ่มถือวาเปน กิจกรรมทางสังคม
ของราชสํานักอิตาลีที่ถือกําเนิดขึ้นและ มักนิยมจัดการแสดงโดยเหลา
ขุนนางชายเปน สว นใหญ โดยสาเหตุหนึ่งเกิดขึ้นจากความแตกตางกัน
ของเครื่องแตงกาย ที่เหลาขุนนางชายสวมใส เปนชุดที่มีความกระชับ
และงายตอ การเคลื่อนไหว รางกายมากกวาเหลาขุนนางฝา ยหญิงที่
สวมกระโปรงสุมขนาดใหญ

ต่อมาการแสดงศิลปะการเต้นบัลเล่ต์เริ่มมีการเผยแพร่โดย บุตรตรี
แห่งตระกูลเมดิชี ในประเทศอิตาลี ซึ่งเป็นตระกูลหนึ่งที่มีความสําคัญ
ในการปกครองประเทศอิตาลีในขณะนั้น จากนั้นพระนางแคทเธอรีน
เดอ เมดิชี ได้นําศิลปะการเต้นบัลเล่ต์เข้าไปเผยแพร่สู่ราชสํานัก
ฝรั่งเศส ภายหลังการอภิเษกสมรสกับพระเจ้าเฮนรี่ที่ 2 แห่งฝรั่งเศส

บัลเลต จึงไดรับความนิยมแพรหลายเรื่อยมาในประเทศฝรั่งเศส
จนถึงยุคพระเจา หลุยที่ 14 แหงฝรั่งเศส พระองคทรงสนับสนุน
ศิลปะการเตน บัลเลต จ นเกิดความรุงเรืองสูงสุด มีการเปด โรงเรียน
สอนเตนบัลเลตแหงแรก ของโลก โดยมีชื่อวา “Academie Royale
De La Dance หรือสถาบัน ปารีสโอเปรา” ในปจ จุบันนี้เอง

บัลเล่ต์ (Ballet)

ตอ มาศิลปะการเตน บัลเลต ก ็ไดเคลื่อนยา ยความนิยม
เขาสู ประเทศรัสเซีย มีการเปด โรงเรียนสอนเตนบัลเลต
แหงแรกขึ้นภายใตการสนับสนุนของจักรพรรดิดีบี แอนนา
อีวา น็อพนา ในชื่อ อิมพีเรียว บัลเลต  สคูล

บัลเลต  ในประเทศรัสเซียจึงเกิดความเจริญกาวหนา เรื่อยมา
ซึ่งมีคณะบัลเลต ที่มีอิทธิพลตอการเปลี่ยนแปลงของสังคมศิลปะใน
ยุโรป และทั่วโลก ที่หันมาใหค วามสนใจและนิยมจัดการเรียนการ
สอนบัลเลต ไปทั่วโลกเกิดขึ้นจากผลงานของคณะบัลเลต  รูส
ภายใตก ารนําของเสริฟ ดี เอ กีเลฟ

รูปแบบการแต่งกาย

๑.เครื่องแตงกายในการเรียนบัลเลต

๑.๑ เสื้อรัดรูป ที่เรียกวา ลี-โอะทาด (Leotard)
เปนเสื้อที่มีลักษณะ รัดรูป แขนกุด แขนสั้น แขนยาว สายเดี่ยว
หรือลักษณะคลา ยเสื้อกลามเพื่อเนนใหเห็นสัดสวนของรางกาย
โดยครูผูส อนสามารถมองเห็นกลามเนื้อในสวนตางๆ ของลําตัว
ไดอ ยางชัดเจน เพื่อจะนําไปสูก ารชี้แนะ แกไ ข การจัด ระเบียบ
รา งกายที่ถูกตองตอ ไป โดยท่ัวไปเสื้อรัดรูปที่ดีควรดูดซับเหงื่อ
ไดด ีและระบายความรอ นไดด ีในเวลาเดียวกัน

รูปแบบการแต่งกาย

เสื้อรัดรูป ที่เรียกว่า ลี-โอะทาด (Leotard)

๑.๒ กางเกงรัดรูปหรือถุงนอง ที่เรียกวา ไทป(Tight) รูปแบบการแต่งกาย
เปน กางเกงรัดรูป หรือถุงนองชนิดยาวคลุมเทา หรือยาวปด เทา
ซึ่งโดยปกตินักเรียนบัลเลต ชายจะนิยมสวมใสไทปสีดําหรือสีขาว
ในขณะท่ีนักเรียนบัลเลต หญิงจะสวมใสไ ทป สีชมพู กางเกงรัดรูป
หรือถุงนองก็เปน เครื่องแตงกายสําหรับนักเรียนบัลเลต 

อีกลักษณะหนึ่งที่มีความจําเปนตองรัดรูป เพื่อเนน ใหค รูผูส อน
สามารถมองเห็นกลามเนื้อไดอ ยางชัดเจนและพรอมจะทําการแกไขตอไป

สวนความหมายสําคัญเชิงศิลปะการแสดงการเตนบัลเลต 
การใสช ุดรัดรูปจะชวยใหผ ูชมสามารถชื่นชมความงดงามของรางกาย
จากลวดลาย การเคลื่อนไหว ศีรษะ แขน ขา และลําตัวไดอ ยางชัดเจน
ประกอบอารมณใ นการแสดง

รูปแบบการแต่งกาย

กางเกงรัดรูปหรือถุงน่อง
ที่เรียกว่า ไทป์ (Tight)

รูปแบบการแต่งกาย

๑.๓ รองเทารัดรูปชนิดผานิ่ม ที่เรียกวา ซอฟย ชู
(Soft shoe) เปนรองเทา รัดรูปที่ใชวัสดุในการผลิตจากผา
ซาติน หรือหนังเทียม โดยปกติ
นักเรียนบัลเลต ชายจะใชร องเทา รัดรูปสีขาวหรือสีดําในขณะท่ี
นักเรียนบัลเลตห ญิงจะใชร องเทารัดรูปสีชมพู เพื่อใหส ีของ
รองเทากลมกลืนไปกับสีของถุงนอง

รูปแบบการแต่งกาย

รองเท้ารัดรูปชนิดผ้านิ่ม
ที่เรียกว่า ซอฟท์ ชู (Soft shoe)

รูปแบบการแต่งกาย

รองเทาสําหรับขึ้นปลายเทา
ที่เรียกวา พอยท ชู (Pointe shoe)

รูปแบบการแต่งกาย

๒. Classic Tutu

รูปแบบการแต่งกาย

๓. Romantic Tutu

เครื่องดนตรีที่ใช้ในการแสดง

ออร์เคสตรา (Orchestra)

เครื่องดนตรีที่ใช้ในการแสดง

แผนผังวงออร์เคสตรา (Orchestra)

ฉากที่ใช้ในการแสดง

ใช้ฉากจากจินตนาการ หรือการจำลองสถานที่
เป็นรูปแบบฉาก 2 มิติ

จงบอกความสัมพันธ์
ของภาพกับการแสดง

ไดอะไนเซิส (Dionysus)

อุปรากร
(opera)

อุปรากร (opera)

เป็ นศิลปะการแสดงบนเวทีชนิดหนึ่ ง
โดยมีลักษณะเป็ นแบบละครที่ดำเนินเรื่ อง
โดยใช้การขับร้องเป็นหลัก อุปรากรถือเป็นส่วนหนึ่ง
ของดนตรีคลาสสิก มีความใกล้เคียง กับละครเวทีในเรื่องฉาก
การแสดง และเครื่องแต่งกาย แต่สิ่งสำคัญที่แยกอุปรากรออก
จากละครเวทีทั่วไป คือ ความสำคัญของเพลง
ดนตรีที่ประกอบการร้อง ซึ่งอาจมีตั้งแต่วงดนตรีขนาดเล็ก

จนไปถึงวงออร์เคสตราขนาดใหญ่

อุปรากร (opera)

อุปรากรกำเนิดขึ้นในช่วงท้ายของศตวรรษที่ 16 ณ ประเทศอิตาลี
สามารถ สืบค้นต้นกำเนิดได้ถึงสมัยกรีกโบราณ ซึ่งมีการแสดงที่เรียกว่า

tragedies ลักษณะเป็นการขับร้องประสานเสียงประกอบบทเจรจา
ในสมัยกลางและเรเนส์ซองส์มีการแสดงที่ใช้การขับร้องดำเนินเรื่อง
เมื่อถึงปลายศตวรรษที่ 16 กลุ่มนักดนตรีอิตาเลียนที่เมืองฟลอเรนซ์
ได้ศึกษาประวัติเกี่ยวกับละครร้อง ย้อนไปถึงยุคกรีกโบราณดังกล่าว
ในที่สุดจึงคิดรูปแบบการประพันธ์ที่เรียกว่า อุปรากร ขึ้น ผู้ประพันธ์เพลงที่

ได้พัฒนารูปแบบของ อุปรากร คือ เพรี ราวต้นศตวรรษที่ 17
มอนเทเวร์ดีได้ปรับรูปแบบอุปรากรให้สมบูรณ์ขึ้น
ทำให้คล้ายกับรูปแบบที่เป็ นอยู่ในปั จจุบัน

อุปรากร (opera)

อุปรากรเป็ นการแสดงที่ผู้ขับร้องนำบทพระเอกและนางเอกเป็ นสตรีล้วน

ตั้งแต่ยุคคลาสสิกเป็นต้นมา ผู้ขับร้องนำทั้งพระเอกและนางเอกใช้ผู้ขับร้อง

เป็นชายและหญิง แท้จริง ว็อล์ฟกัง อมาเดอุส โมทซาร์ท เป็นผู้หนึ่งที่พัฒนา

รูปแบบอุปรากรในยุคคลาสสิก ให้มีมาตรฐาน โดยไว้หลายเรื่องด้วยกัน ใน

ยุคโรแมนติกการประพันธ์อุปรากรมีรูปแบบ หลากหลาย บางเรื่องมีความ

ยาวมาก สามารถแสดงได้ทั้งวันทั้งคืน

อุปรากร (Opera)

น้ำเสียงที่ใช้ในการขับร้องแบ่งเป็น 6 ระดับเสียง คือ เป็นน้ำเสียงนักร้อง
หญิง 3 ระดับ และน้ำเสียงนักร้องชาย 3 ระดับ ดังนี้
ฝ่ายหญิง
1. โซปราโน (Soprano) เป็นระดับเสียงสูงสุด
2. เมซโซโซปราโน (Mezzo - Soprano) เป็นระดับเสียงกลาง
3. คอนทรัลโต หรือ อัลโต (Contralto or Alto) เป็นเสียงระดับต่ำสุด
ฝ่ายชาย
1. เทเนอร์ (Tenor) เป็นเสียงระดับสูงสุด
2. บาริโทน (Baritone) เป็นเสียงระดับกลาง
3. เบส (Bass) เป็นเสียงระดับต่ำสุด

อุปรากร

The Magic Flute – Queen of the Night aria

ใช้ฉากจากจินตนาการ หรือการจำลองสถานที่
ฉากมีความสมจริงหรือเสมือนจริง
ฉากจะมีทั้งรูปแบบฉาก 2 มิติ และ 3 มิติ

The Rake's Progress

อุปรากร

ออรเ์คสตรา
(Orchestra)

อุปรากร

แผนผัง
วงออรเ์คสตรา

(Orchestra)

อุปรากร

พาพาเกโนหมดหวังในการได้พาพาเกนาพยายามแขวนคอตนเอง (ร้องเดี่ยว/
ประสานเสียงสี่:"Papagena!Papagena! Papagena!")แต่ในนาทีสุดท้ายเด็กวิเศษก็
เขา้มาปรากฎตัวและแนะว่าพาพาเกโนควรจะใช้กระดิ่งวิเศษเรียกตัวพาพาเกนา
พาพาเกนากลับเข้ามาทั้งสองคนต่างก็ปิ ติยินดีที่ได้เห็นกันจนพูดเหมือนคนติดอ่าง
("pa ... pa ... pa") ด้วยความงงงวย (ร้องประสานเสียงสอง: "Papageno!
Papagena!")

จากภาพมีความสั มพันธ์อย่างไรกับการแสดงละครบรอดเวย์

ละครบรอดเวย์
( Broadway )

ละครบรอดเวย์
( Broadway )

มีชื่อเสียงทางด้านของศิลปะการแสดงละครเวที
มีเอกลักษณ์ของละครอเมริกันอย่างที่นิยมกันเรียกกัน
ว่าละครเพลง มีองค์ประกอบรูปแบบการแสดง
การใช้เพลงและการเต้นรำในลักษณะต่างๆ
ที่กำหนดไว้อย่างตายตัว ไม่ว่าจะมีการแสดงสักกี่รอบ
ก็ตาม โดยละครบรอดเวย์ เป็นชื่อของถนนสายหนึ่งใน
นครนิวยอร์ค ประเทศสหรัฐอเมริกา

ละครบรอดเวย์ ( Broadway )

ยุคที่สองในยุคนี้จัดว่าเริ่มเป็นยุคของละครเวทีแบบอเมริกันโดยแท้
คือมีรูปแบบการประพันธ์ เค้าโครงเรื่อง และองค์ประกอบต่างๆ ของละครมีลักษณะ
เป็นเรื่องราวของชาวบ้าน ชาวเมืองปกติในอเมริกา ใช้เพลงป๊อป มีการนำการเต้นรำเข้ามา
ประกอบ มีบทพูดและมีการร้องเพลง การเต้นรำเพื่อเชื่อมต่อเรื่องราวจากเหตุการณ์หนึ่งไปสู่
อีกเหตุการณ์หนึ่ง มีการเปลี่ยนฉาก มีบทชวนหัว เสียดสีล้อเลียนเหตุการณ์ที่สำคัญต่างๆ
ที่เข้ากับเหตุการณ์ตอนนั้น ผู้นำการผลิตละครเพลงเวทีแบบอเมริกันในยุคนี้ ได้แก่ จอร์ชแอม
โคแฮน (1848-1942), เจอโรมเคิร์น (1885-1945) เออร์วิงเบอร์ลิน (1888-1985)
ละครเพลงที่มีชื่อเสียงมากที่สุดในยุคนี้ ได้แก่ show boat (1927) Funny Face (1927),

Roberta (1933), Annie get your guns (1946)

ละครบรอดเวย์ ( Broadway )

Frozen Live at the Hyperion Theatre

ใช้ฉากจากจินตนาการ หรือการจำลองสถานที่
ฉากมีความสมจริง หรือเสมือนจริง ฉากจะมีทั้งรูปแบบฉาก 2 มิติ และ 3 มิติ

ละครบรอดเวย์ ( Broadway )

Beauty and the beast the musical Les Miserables

การแต่งกายของตัวละคร เป็นไปตามบทบาท ฐานะ ยุคสมัย
ซึ่งมีความสัมพันธ์กันกับบทละคร

ละครบรอดเวย์ ( Broadway )

ออร์เคสตรา (Orchestra) สตริงคอมโบ (String combo)

เครื่องดนตรี และแนวเพลงที่ใช้ประกอบการแสดง
เป็นการใช้เครื่องดนตรีที่หลากหลายมาผสมกัน ส่วนของแนวเพลงใช้ได้ทุกแนวเพลง

ละคปัจรจุบบัน รละอครบดรอเดวเวยย์์ได้(รับBกาrรพัoฒaนาdอย่wางตa่อเyนื่อง)

มีการนำเทคโนโลยีที่ทันสมัยมาปรับใช้ให้เข้ากับเรื่องราวและ
เหตุการณ์อยู่เสมอ ไม่ว่าจะเป็นคอมพิวเตอร์
เครื่องยิงเลเซอร์ เครื่องสร้างภาพ 3 มิติ

เครื่องสร้างปรากฏการณ์ธรรมชาติเทียม
ทำให้ละครดูสมจริงสมจังมากขึ้นทุกที
เป็นจุดเด่นที่ทำให้ผู้ชมชื่นชอบละครบรอดเวย์มาโดยตลอด

การแสดงนาฏศิลป์ไทยมีอะไรบ้าง

นาฏศิลป์ไทย นาฏศิลป์ไทย แบ่งออกเป็น แบ่งออกเป็น 5 ประเภท 1. ระบา 2. ร าา 3. การแสดงพื้นเมือง การแสดงพื้นเมือง 4. โขน 5. ละคร

นาฏศิลป์สากลในสมัยกรีกโบราณมีเกี่ยวแสดงเกี่ยวกับเรื่องใด

ในสมัยกรีกโบราณ เริ่มต้นจากการแสดงเรื่องราวเกี่ยวกับเทพเจ้าได้ไดโอนีซุส (Dionysus) ซึ่งเป็นเทพเจ้าแห่งความอุดมสมบูรณ์ขึ้นในเทศกาลบูชาเทพเจ้าองค์นี้ จัดขึ้นปีละครั้ง จากนั้นก็มีการพัฒนาเป็นละครเกี่ยวกับเรื่องของมนุษย์ ซึ่งยังมีแก่นเรื่องเกี่ยวกับความเชื่อทางศาสนาและศิลปะวัฒนธรรม ประเภทของละครในสมัยกรีกมีทั้งละคร ...

นาฏศิลป์สากลจะต้องมีคุณลักษณะอย่างไร

19.นาฏศิลป์ที่จัดว่าเป็นนาฏศิลป์สากลนั้นจะต้องมีคุณลักษณะอย่างไร? เป็นการแสดงเอกลักษณ์ประจำชาติต่างๆ มีลักษณะเฉพาะที่ทุกชาติเข้าใจ ยอมรับ ฝึกหัดและเผยแพร่ไปทั่วโลก

ละครสากลเกิดจากสิ่งใด *

2.2 ประวัติความเป็นมาของละครสากล ต้นกำเนิดของละครสากลทั้งตะวันตกและตะวันออกเกิดขึ้นในระยะเวลาไล่เลี่ยกันประมาณ 2,000 ปี ก่อนคริสตกาล โดยอียิปต์เป็นชาติแรกที่มีการแสดงที่ เก่าแก่ที่สุดในโลก อียิปต์เป็นต้นกำเนิดของศิลปะหลายแขนง มีศิลาจารึกมากกว่า 4,000 ปี