โครงงานสิ่งประดิษฐ์เครื่องดูดฝุ่น

บทที่ 1 บทนำ ...

Posted by เครื่องดูดฝุ่นจากขวดน้ำ on Friday, February 15, 2019

สามารถดูดเศษฝุ่นเศษทราย เศษกระดาษต่างๆ และประหยัดไฟฟ้า เครื่องดูดฝุ่นจากขวดพลาสติกทำมาจากวัสดุเหลือใช้ซึ่งมาจากขวดพลาสติก ประหยัดพลังงานไฟฟ้าได้ดีกว่าเครื่องดูดฝุ่นปกติ อีกทั้งยังช่วยลดสภาวะโลกร้อน และนำขยะที่ทำลายยาก เช่น ขวดน้ำพลาสติกมาทำให้เกิดประโยชน์สูงสุด

รายงาน
เรือ่ ง เครอ่ื งดดู ฝนุ่ จว๋ิ

จดั ทำโดย เลขท่ี22
นางสาวพรธิดา กอ้ นจนั ทรห์ อม เลขท1ี่ 2
นายอตชิ าต ศรปี ระทุม เลขท่1ี 8
นางสาวญาณี ศรสี องฟา้

ครทู ป่ี รกึ ษาโครงงาน
คณุ ครู เอมิ่ ออ้ อมิ้ พัฒน์

รายงานเร่มิ น้เี ป็นส่วนหนง่ึ ของโครงงาน วทิ ยาศาสตร์ รหัสวชิ า ว.30292
วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ภาคเรยี นท1ี่ ปกี ารศกึ ษา 2565
โรงเรยี นธาตทุ องอำนวยวทิ ย์ อำเภอวานรนิวาสจงั หวัดสกลนคร

องค์การบรหิ ารสว่ นจังหวัดสกลนคร ประเภทท1ี่ โครงงานวทิ ยาศาสตรป์ ระเภทการทดลอง

สารบญั

เนือ้ เรอ่ื ง หน้า
กติ ติกรรมประกาศ
บทคัดย่อ 1
บทที่ 1 บทนำ 1
ท่มี าและความสำคัญ 2
วัตถปุ ระสงค์
ประโยชนท์ ค่ี าดว่าจะได้รบั 3
บทที่ 2 เอกสารทีเ่ กี่ยวข้อง
วัสดปุ ระสงค์ 7
บทที่ 3 ขั้นตอนการทดลอง
ขั้นตอนการทดลอง 9
บท4่ี ผลการทดลอง
ผลการทดลอง 10
บทท่ี 5 สรปุ ผลการทดลองและขอ้ เสนอแนะ 10
สรปุ ผลการทดลอง 11
ข้อเสนอแนะ 14
ภาคผนวก
อา้ งอิง

โครงงานเครื่องดูดฝุ่นจวิ๋

สมาชกิ ในกลุ่ม

นางสาวพรธิดา ก้อนจันทร์หอม เลขท2ี่ 2

นายอตชิ าติ ศรีประทมุ เลขที่12

นางสาวญานี ศรีสองฟา้ เลขท่ี18

คุณครูทป่ี รกึ ษาษา เอ่ิมออ้ อ่ิมพัฒน์

ครตู ำแหนง่ ครวู ทิ ยฐานะ ครูชำนาญการพิเศษ

บทคดั ย่อ
พลังงานไฟฟ้านับเป็นเนอ้ื หาหนึ่งในการเรียนการสอนวทิ ยาศาสตร์ทผี่ ู้เรยี นมักจะขาดความร้คู วามเข้าใจที่ถูกต้อง

กับการนำหลักการนี้มาใช้ในการต่อวงจรไฟฟ้า ทั้งนี้เนื่องมาจากโรงเรียนส่วนใหญ่ขาดสื่อนวัตกรรการเรียนการสอนท่ี
จะช่วยส่งเสริมความรู้ความเข้าใจกับผู้เรียนอย่างเป็นรูปธรรมดังนั้นในฐานะที่เป็นครูผู้สอนรายวิชาวิทยาศาสตร์ได้
ตระหนักและเห็นถึงความสำคัญของการจัดการเรียนกาสอน จึงจัดทำสื่อนวัตกรรมเครื่องดูดฝุ่นอเนกประสงค์โดยมี
ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการประดิษฐ์ เพื่อเป็นสื่อนวัตกรรมการเรียนการสอนที่จะช่วยส่งเสริมความรู้ความ เข้าใจให้กับ
ผู้เรียนมากยิ่งขึ้น ตลอดจนเป็นแนวทางให้กบั ครูผูส้ อนในการนำไปประดิษฐ์ปรับปรุงและพัฒนาสื่อนวัตกรรมการเรียน
การสอนตอ่ ไป โดยมีวตั ถุประสงค์เพ่ือสร้างส่ือนวตั กรรมการเรยี นการสอนเคร่ืองดดู ฝุน่ อเนกประสงค์และเพื่อเรียนรู้การ
ต่อวงจรไฟฟ้าเบื้องต้นร่วมไปถึงเพื่อศึกษาประสิทธิภาพการดูดฝุ่นของเครื่องดูดฝุ่นจิ๋ว โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภท
สิ่งประดิษฐ์เรือ่ ง เครื่องดูดฝุ่นอเนกประสงค์มีมอเตอร์ ใบพัดสายไฟถ่านไฟฉาย สวิตช์ สายดูดฝุ่นมาประดิษฐ์เครื่องดูด
ฝุ่นอเนกประสงค์การนำวัสดุอุปกรณ์สำหรับการประดิษฐ์ คือ มอเตอร์ ใบพัด สายไฟ ถ่านไฟฉาย สวิตช์ จากนั้นแบ่ง
ขวดออกเป็น 2 สว่ น แล้วใช้มดี คัตเตอร์ตดั ขวดพลาสติกออกเป็น 2 ส่วน เจาะกน้ ขวดพลาสติกสว่ นท้ายของขวด ยิงปืน
กาวติดมอเตอร์เข้ากับก้นขวดที่เจาะรู จากนั้นตัดขวดพลาสติกเป็นรูปวงกลมเป็นให้เท่าๆ กันแล้วตัดให้เป็นใบพัดนำ
ใบพัดยึดติดกับมอเตอร์ ติดรางถ่านและสวิตชเ์ ข้ากับเครื่องดูดฝุ่นต่อสายไฟเข้าด้วยกันระหวา่ งรางถ่ายและสวิตช์ ส่วน
ขวดสว่ นด้านหน้านำมาทำเปน็ ตัวดูดฝนุ่ โดยเจาะฝาขวดน้ำให้เป็นวงกลมแล้วนำสายดูดฝ่นุ สอดเขา้ ไปในฝายิงปืนกาวให้
แน่น นำสองส่วนมาประกอบกันและเชื่อมสายไฟทั้งหมดเข้าด้วยกัน จากนั้นเก็บสายไฟให้เรียบร้อย ให้อยู่ในลักษณะ
วงจรปิด เครือ่ งดูดฝนุ่ กจ็ ะทำงานได้

ผลสรปุ พบวา่ เคร่อื งดดู ฝุ่นพลังจ๋วิ สามารถดดู เศษกระดาษที่มขี นาดเล็กได้ดีกว่าขนาดใหญ่ เน่อื งจาก แรง
มอเตอร์ เพราะมอเตอร์ขนาดทใ่ี ช้มีขนาดท่ีเลก็ เลยไม่สารถดูดเศษกระดาษชิ้นทใี่ หญ่ได้

กิตติกรรมประกาศ

รายงานการจดั ทำโครงงานวิทยาศาสตรฉ์ บับนี้ สำเรจ็ และสมบรู ณ์เปน็ รูปเล่มดว้ ยความกรณุ า และเอาใจใส่เป็น
ดีจากคุณครูเอิ้มอ้อ อิ้มพัฒน์ ครูที่ปรึกษาโครงงานที่ได้กรุณาให้คำปรึกษา และข้อเสนอแนะ ตลอดทั้งการตรวจแก้ไข
รายงานฉบับนี้ให้สำเร็จสมบูรณ์ยิ่งขึ้น ทางคณะผู้จัดทำจึงขอขอบพระคุณเป็นอย่างสูงไว้ ณ โอกาสนี้ขอขอบพระคุณ
ท่านผู้อำนวยการ และคุณครูโรงเรียนธาตุทองอำนวยวิทย์ทุกท่าน ที่ได้ให้กำลังใจตลอดจนอำนวยความสำเร็จให้บัง
เกิดขึ้นสุดท้ายนี้ขอขอบคุณ คุณพ่อ คุณแม่ที่เป็นกำลังใจ และให้ความช่วยเหลือในการเก็บรวบรวมข้อมูลและให้
คำแนะนำในการทำโครงงานคร้งั นีใ้ หส้ ำเรจ็ ลุลว่ งดว้ ยดตี ลอดมา

1
บทท่ี1
บทนำ

ความมสำคัญของปญั หา
การศึกษาในปัจจุบันตามแนวทางของพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 ต้องยึดหลักว่า “ผู้เรียน

ทุกคนมีความสามารถในการเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้และถือว่าผู้เรียนมีความส ำคัญที่สุดกระบวนการจัดการศึกษา
ต้องส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถพัฒนาตนเองได้ตามธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพ” ซึ่งตรงกับวิธีที่เรียนว่า เน้นผู้เรียน
เป็นศูนย์กลาง ผู้สอนมีความสำคัญในฐานะที่เป็นผู้ชี้แนะแนววิธีเรียนรู้แบบต่างๆและอธิบายความรู้พื้นฐานให้ผู้เรียน
เข้าใจสำหรับเป็นพื้นฐานที่จะศึกษาค้นคว้าต่อไปได้ด้วยตนเอง ตามวิธีเรียนรู้ท่ีได้รบั การชีแ้ นะและพัฒนาเป็นวธิ เี รียนรู้
ของตนเอง ส่อื นวตั กรรมการเรียนการสอนและแหล่งการเรียนรนู้ บั เป็นส่ิงสำคัญอย่างยงิ่ ในการส่งเสรมิ การเรยี นรใู้ ห้กับ
ผู้เรียน ซึ่งนอกจากจะสร้างความสนใจใฝ่รู้ในการเรียนแล้ว ยังทำให้ผู้เรียนได้มีความรู้ความเข้าใจมากยิ่งขึ้นอีกด้วย
พลงั งานไฟฟ้านบั เป็นเน้อื หาหนึ่งในการเรียนการสอนวทิ ยาศาสตร์ทผี่ ้เู รียนมักจะขาดความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องกับการ
นำหลักการนี้มาใช้ในการต่อวงจรไฟฟ้า ทั้งนี้เนื่องมาจากโรงเรียนส่วนใหญ่ขาดสื่อนวัตกรรการเรียนการสอนที่จะช่วย
ส่งเสริมความรู้ความเข้าใจกับผู้เรียนอย่างเป็นรูปธรรมดังนั้นในฐานะที่เป็นครูผู้สอนรายวิชาวิทยาศาสตร์ได้ตระหนัก
และเห็นถงึ ความสำคัญของการจัดการเรยี นกาสอน จึงจดั ทำสือ่ นวตั กรรมเคร่ืองดูดฝุน่ อเนกประสงค์โดยมีผู้เรียนมีส่วน
ร่วมในการประดิษฐ์ เพื่อเป็นสื่อนวัตกรรมการเรียนการสอนทีจ่ ะชว่ ยสง่ เสริมความรู้ความเข้าใจให้กับผู้เรียนมากยิ่งข้ึน
ตลอดจนเป็นแนวทางใหก้ ับครผู ้สู อนในการนำไปประดิษฐป์ รับปรุงและพัฒนาส่ือนวัตกรรมการเรียนการสอนต่อไป

วตั ถปุ ระสงค์

1.เพอื่ สรา้ งส่ือนวตั กรรมการเรยี นการสอนเครื่องดดู ฝุ่นอเนกประสงค์
2.เพ่อื เรยี นรู้การต่อวงจรไฟฟ้าเบอ้ื งต้น
3.เพ่ือศึกษาประสิทธภิ าพการดูดฝุ่นของเคร่อื งดูดฝุ่นจวิ๋

2

1.2สมมติฐาน
เครอ่ื งดดู ฝุน่ จวิ๋ ใช้ไดง้ านไดด้ ี เทียบเท่ากบั การทำความสะอาดด้วยมอื

1.3 ขอบเขตของโครงงาน
1.3.1 ศึกษาการทำเครอื่ งดดู ฝุ่น วสั ดทุ ่ใี ช้ ขวดพลาสติก มอเตอร์ ถา่ นไฟฉาย สายไฟ ผ้าบาง
1.3.2 ระยะเวลาการศกึ ษา เริม่ ทำวนั ท1ี่ กรกฎาคม พ.ศ2565 จนถงึ วันท่ี13 สงิ หาคม พ.ศ2565

1.4 ตวั แปรทีข่ อ้ ง
ตัวแปรตน้ :เครอ่ื งดูดฝ่นุ จิว๋
ตวั แปรตาม :ประสิทธิภาพของเครอ่ื งดูดฝุ่นจิ๋วสามารถทำไห้มีฝนุ่ นอ้ ยลง
ตัวแปรควบคุม :

1.5ประโยชนท์ ่คี าดว่าจะได้รับ
1.เป็นการนำวสั ดุตา่ งๆมาประยุกต์ใชใ้ ห้เกิดประโยชน์
2.เปน็ การเรียนรกู้ ารต่อวงจรไฟฟา้ เบ้ืองตน้
3.ช่วยให้นักเรียนมคี วามรู้ ความเขา้ ใจและสนกุ สนานในการเรยี นมากขนึ้

1.6นยิ ามศัพทเ์ ฉพาะ
1.สายไฟ หมายถึง สายไฟเป็นส่วนประกอบที่สำคัญอย่างหนึ่งในระบบไฟฟ้า ทำหน้าที่ส่งผ่านพลังานหรือ

สญั ญาไฟฟา้ จากจดุ หนึง่ ไปยงั อีกจดุ หน่ึง
2.ขวดครีมเป็นอุปกรณ์ที่มีขนาดแข็ง เหตุผลที่ใช้ขวดครีม เพราขวดครีมมีลักษณะแข็ง บิดง้อได้จึงนำมาเป็น

ใบพัด
3.ถ่านไฟฉาย หมายถึง ถ่านไฟฉาย เปน็ เซลล์ไฟฟ้าเคมีที่ไมใ่ ช้สารละลายที่เปน็ ของเหลว จึงเรียกว่า เซลล์แห้ง

(Dry cell) ผู้ที่สร้างเซลลไ์ ฟฟา้ เคมีชนิดน้คี ือ เลอ คังเช George Leclanché ผู้ท่ีสรา้ งถา่ นไฟฉาย ดงั นนั้ จงึ อาจเรียกอีก
ช่ือหนงึ่ ว่า เซลล์เลอคังเช โดยทว่ั ไปน้นั สำหรบั ถา่ นไฟฉายท่ัวไปทเ่ี รียกวา่ เซลล์แบบ Zinc Chloride

4.มอเตอร์ หมายถึงมอเตอร์ (Motor) เปน็ เครื่องใช้ไฟฟ้าท่ีเปล่ียนพลังงานไฟฟ้าเปน็ พลังงานกล ประกอบด้วย
ขดลวดที่พันรอบแกนโลหะที่วางอยู่ระหว่างขั้วแม่เหล็ก โดยเมื่อผ่านกระแสไฟฟ้าเข้าไปยังขดลวดที่อยู่ระหว่าง
ข้วั แม่เหลก็ จะทำให้ขดลวดหมุนไปรอบแกน และเม่อื สลับข้วั ไฟฟา้ การหมุนของขดลวดจะหมนุ กลับทศิ ทางเดิม

5.ขวดใส่ คืออุปกรณ์ มลี ักษณะตรงยาว ไมอ่ อ่ นไมแ่ ข็งจนเกินไป รุปร่างคลา้ ยทรงกระบอก
6.เครือ่ งดดู ฝนุ่ จิ๋ว คือ เครื่องทีใ่ ชส้ ูญญากาศดดู ใหฝ้ ุ่นเขา้ ไปในเคร่ือง เพือ่ ทำความสะอาดสถานทต่ี ่า

3

บทที่ 2
เอกสารที่เกย่ี วขอ้ ง

แสดง สายไฟ
ทม่ี า:ญาณี ศรีสองฟา้

1/8/65

ภาพแสดงสายไฟ ลกั ษณะของสายไฟสายไฟฟา้ เปน็ อปุ กรณ์ที่ใชส้ ง่ พลังงานไฟฟา้ จากที่หนง่ึ ไปยังอกี ท่ีหน่งึ
โดยกระแสไฟฟา้ จะ เปน็ ตัวนำพลงั งานไฟฟ้าผา่ นไปตามสายไฟจนถึงเคร่ืองใช้ไฟฟ้า สายไฟทำด้วยสารท่ียอมให้
กระแสไฟฟ้าผา่ นได้ เรียกวา่ ตัวนำไฟฟ้า และตัวนำไฟฟา้ ท่ีใชท้ ำสายไฟเป็นโลหะท่ียอมให้กระแสไฟฟา้ ผ่านได้ดี ลวด
ตัวนำแต่ละชนิดยอมใหบทที่ 2

แสดง ขวดพลาสตกิ
ทีม่ า:ญานี ศรสี องฟ้า

1/8/65

4
ลักษณะของขวดพลาสติก ย่อวา่ PE มีนำ้ หนกั เบาในรูปของแผน่ บาง สามารถพับงอได้ดี มคี วามหนามากข้ึนจะ
คงรปู รบั แรงดงึ และแรงอดั ไดน้ ้อย มคี วามยืดตัวได้สงู ถงึ 500 เปอร์เซ็นต์ ฉกี ขาดยาก มีลักษณะคล้ายขีผ้ ้ึง ไมเ่ กาะติดน้ำ
เป็นฉนวนไฟฟา้ ไดด้ มี าก โดยทว่ั ไปขวดพลาสติก มลี กั ษณะใส เมอ่ื เป็นแผ่นบางจะมสี ขี ุ่น เมือ่ ความหนาเพม่ิ ขึ้น สามารถ
ทำเป็นสีต่าง ๆ ได้ตามต้องการ การใช้ประโยชน์ ของขวดครีม มีปริมาณการใช้สูงสุดในพลาสติกประเภทเทอร์โม
พลาสติก แม้ราคาต่อปอนด์ไม่ถูกที่สุด แต่เพราะมีน้ำหนักเบากว่าจึงสามารถผลิตได้ปริมาณมาก นิยมใช้ท าถุงบรรจุ
อาหารและเสื้อผ้า ตุ๊กตาเด็กเล่น ดอกไม้พลาสติก ภาชนะบรรจุในครัว ถาดทำน้ำแข็งในตู้เย็น ขวดและภาชนะบรรจุ
ของเหลว พลาสติกคลมุ โรงเพาะช า สายเคเบิล แผ่นกันความชื้นในอาคารและของใช้ราคาถูกอกี มากมายกระแสไฟฟ้า
ผ่านได้ต่างกนั ตัวนำไฟฟ้าที่ยอมให้กระแสไฟฟ้าผ่านได้มากเรียกวา่ มคี วามนำไฟฟ้ามากหรอื มีความต้านทานไฟฟ้านอ้ ย
ลวดตัวนำจะมีความต้านทานไฟฟ้าอยู่ด้วย โดยลวดตัวนำที่มีความต้านทานไฟฟ้ามากจะยอม ให้กระแสไฟฟ้าผ่านได้
นอ้ ย

แสดง ถา่ นไฟฉาย
ท่มี า:ญาณี ศรสี องฟา้

1/8/65
ลักษณะของถ่ายไฟฉายแบตเตอร่ี(อังกฤษ: Battery) เป็นอุปกรณ์ทปี่ ระกอบด้วย เซลล์ไฟฟ้าเคมหี นงึ่ เซลล์หรือ
มากกว่า ที่มีกาเชื่อมต่อภ ายนอกเพื่ อให้ก าลังงานกับอุปกรณ์ไฟฟ้ า แบตเตอรี่มีขั้วบ วก (อังกฤษ: anode) และ ข้ัว
ลบ (องั กฤษ: cathode) ขั้วที่มีเคร่อื งหมายบวกจะมีพลงั งานศักย์ไฟฟ้าสูงกว่าขัว้ ที่มเี ครื่องหมายลบ ขั้วที่มีเคร่ืองหมาย
ลบคือแหล่งท่ีมาของอเิ ล็กตรอนทเ่ี ม่ือเชื่อมต่อกับวงจรภายนอกแลว้ อิเล็กตรอนเหล่านี้จะไหลและส่งมอบพลังงานให้กับ
อุปกรณ์ภายนอก เมื่อแบตเตอรี่เชื่อมต่อกับวงจรภายนอก สาร อิเล็กโทรไลต์มีความสามารถที่จะเคลื่อนที่โดยท าตัว
เป็นไอออน ยอมให้ปฏิกิริยาทางเคมีท างานแล้วเสร็จในขั้วไฟฟ้าที่อยู่ห่างกัน เป็นการส่งมอบพลังง านให้กับวงจร
ภายนอก กาเคลื่อนไหวของไอออนเหล่านั้นที่อยู่ในแบตเตอรี่ที่ท าให้เกิดกระแสไหลออกจากแบตเตอรี่เพื่อปฏิบัติงาน
ในอดีตค าว่า “แบตเตอร่ี” หมายถึงเฉพาะอุปกรณ์ที่ประกอบด้วยเซลล์หลายเซลล์ แต่การใช้งานได้มีการพัฒนาให้
รวมถงึ อุปกรณท์ ีป่ ระกอบดว้ ยเซลล์เพยี งเซลลเ์ ดยี ว

5

แสดง มอเตอร์
ทมี่ า:ญานี ศรสี องฟา้

1/8/65
ภาพแสดงมอเตอร์ลักษณะของมอเตอร์ มอเตอร์ไฟฟ้า (อังกฤษ: electric motor) เป็นอุปกรณ์ไฟฟ้าที่แปลง
พลังงานไฟฟ้าเป็นพลังงานกล การทำงานปกติของมอเตอร์ไฟฟ้าส่วนใหญ่เกิดจากการทำงานร่วมกันระหว่าง
สนามแม่เหล็กของแม่เหล็กในตัวมอเตอร์ และสนามแม่เหล็กที่เกิดจากกระแสในขดลวดทำให้เกิดแรงดูดและแรงผลัก
ของสนามแม่เหล็กทั้งสอง ในการใช้งานตัวอย่างเช่น ในอุตสาหกรรมการขนส่งใช้มอเตอร์ฉุดลาก เป็นต้น นอกจากน้ัน
แล้ว มอเตอร์ไฟฟ้ายังสามารถทำงานได้ถึงสองแบบ ได้แก่ การสร้างพลังงานกล และ การผลิตพลังงานไฟฟ้ามอเตอร์
ไฟฟ้าถูกน าไปใช้งานที่หลากหลายเช่น พัดลมอุตสาหกรรม เครื่องเป่า ปั๊ม เครื่องมือเครื่องใช้ในครัวเรือน และดิสก์
ไดรฟ์ มอเตอร์ไฟฟ้าสามารถขับเคลื่อนโดยแหล่งจ่ายไฟกระแสตรง (DC) เช่น จากแบตเตอรี่, ยานยนต์หรือวงจรเรียง
กระแส หรือจากแหล่งจ่ายไฟกระแสสลับ (AC) เช่น จากไฟบ้าน อินเวอร์เตอร์ หรือ เครื่องปั่นไฟ มอเตอร์ขนาดเล็ก
อาจจะพบในนาฬิกาไฟฟ้า มอเตอร์ทั่วไปที่มีขนาดและคุณลักษณะมาตรฐานสูงจะให้พลังงานกลที่สะดวกสำหรับใช้ใน
อุตสาหกรรม มอเตอร์ไฟฟา้ ท่ีใหญ่ท่ีสดุ ใชส้ าหรับการใชง้ านลากจูงเรือ และ การบบี อดั ท่อส่งน้ ามนั และป้มั ปส์ ูบจัดเก็บ
น้ ามันซึ่งมีก าลังถึง 100 เมกะวัตต์ มอเตอร์ไฟฟ้าอาจจ าแนกตามประเภทของแหล่งที่มาของพลังงานไฟฟ้าหรือตาม
โครงสร้างภายในหรือตามการใช้งานหรือตามการเคลื่อนไหวของเอาต์พุต และอื่น ๆอุปกรณ์เช่นขดลวดแม่เหล็กไฟฟ้า
และล าโพงที่แปลงกระแสไฟฟ้าให้เป็นการเคลื่อนไหว แต่ไม่ได้สร้างพลังงานกลที่ใช้งานได้ จะเ รียกถูกว่า actuator
และ transducer ตามล าดับ ค าว่ามอเตอร์ไฟฟ้านั้น ต้องใช้สร้างแรงเชิงเส้น(linear force) หรือ แรงบิด(torque)
หรอื เรยี กอกี อย่างว่า หมนุ (rotary) เทา่ น้ัน

6

แสดง ขวดพลาสติกใส
ทีม่ า:ญาณี ศรีสองฟา้

1/8/65
ลกั ษณะของขวดพลาสติกใน พลาสติก เปน็ สารประกอบอินทรยี ์ท่ีสงั เคราะหข์ นึ้ ใชแ้ ทนวสั ดธุ รรมชาติ บางชนิด
เมื่อเย็นก็แข็งตัว เมื่อถูกความร้อนก็อ่อนตัว บางชนิดแข็งตัวถาวร มีหลายชนิด เช่น ไนลอน ยางเทียม ใช้ท าสิ่งต่าง ๆ
เช่น เสื้อผ้า ฟิล์ม ภาชนะ ส่วนประกอบของยานพาหนะ พลาสติกแบ่งได้เป็น 2 ประเภทดังนี้1ภาชนะบรรจุชนิดแข็ง
(rigid container) เช่น ขวดน้ำมันพืช ขวดนม กล่องโฟมและถาดพลาสติก ภาชนะบรรจุชนิดอ่อนตัวได้ (flexible
container) เช่น ถงุ ใส่น้ำแข็ง ถุงขนม ถงุ ห้วิ ทัง้ หลาย รวมทั้งฟิล์มห่ออาหาร ภาชนะพลาสติกทใี่ ช้บรรจอุ าหารมีมาก แต่
ในที่นี้จะเน้นเฉพาะขวดพลาสติกชนิดแข็ง ซึ่งมีประโยชน์ใช้สอยอย่างกว้างขวางเท่านั้น ขวดพลาสติกสามารถน า
กลับมาใช้งานใหม่ได้ลักษณะของสายดูดพลาสติก เทอร์โมพลาสติก (Thermoplastic) หรือเรซิน เป็นพลาสตกิ ที่ใชก้ นั
แพรห่ ลายทีส่ ุด ได้รับความรอ้ นจะอ่อนตัว และเม่ือเยน็ ลงจะแข็งตวั สามารถเปล่ียนรูปได้ พลาสตกิ ประเภทนโี้ ครงสร้าง
โมเลกลุ เป็นโซ่ตรงยาว มกี ารเชือ่ มตอ่ ระหวา่ งโซ่พอลเิ มอร์น้อยมาก จึงสามารถหลอมเหลว หรอื เมอ่ื ผ่านการอัดแรงมาก
จะไม่ท าลายโครงสร้างเดิม ตวั อย่าง พอลิเอทลิ ีน พอลโิ พรพลิ ีน พอลสิ ไตรีน มสี มบัติพิเศษคือ เมอ่ื หลอมแล้วสามารถน
ามาขึ้นรปู กลบั มาใชใ้ หมไ่ ด้ ชนดิ ของพลาสติกใน ตระกลู เทอรโ์ มพลาสติก

7

บทที่ 3

ขัน้ ตอนการทดลอง
วสั ดุ อุปกรณ์
ขัน้ ตอนการประดิษฐ์เคร่ืองดูดฝนุ่ อเนกประสงค์มีดังน้ี
วัสดุ
1.กรรไกร
2.ขวดใส
3.สายไฟ
4.มอเตอร์
6.กาวร้อน
7.ยางแดง
8.ผ้าขาวบาง

ข้ันตอนการประดษิ ฐ์
1.ตดั ขวด พลาสตกิ ให้ไดป้ ระมาณครึง่ ต่อครง่ึ เเล้วตดั ตามร่องนูนดา้ นล่างขอขวด
2.นำฝาขวดมาเจาะดา้ นขา้ งให้เทา่ กับขั้วมอเตอร์
3.นำขวดพลาดติกท่ีมีความหนาให้เปน็ วงกลม เเล้วตดั เป็นใบพัด
4.นำใบพดั มาตดิ กบั มอเตอร์
5.เเลว้ นำฝาขวดท่ขี วดเจาะมาตดิ กบั ก้นมอเตอร์
6.นำมอเตอร์ตดิ ที่กน้ ขวดดา้ นในด้วยกาวรอ้ น
7.นำสายไฟสอดออกด้านนอกขวด
8.นำตาข่ายหรอื ผา้ ทมี่ ีรมู าติดกับขวดสว่ นดา้ นล่างทต่ี ัดไว้
9.ประกอบขวดส่วนด้านลา่ งเเละด้านบนเข้าดว้ ยกัน
10.นำถ่านไฟฟา้ มาติดที่ข้างขวด
11.เเลว้ นำสายไฟทีส่ อดอกน้ันมาใส่กับข้วั ของถา่ นไฟฟ้า

8

ขัน้ ตอนการตรวจประสิทธิภาพ
1. นำเศษกระดาษประมาณ ยาว1เซนตเิ มตร กวา้ ง1เซนติเมตร ประมาณ10ช้ิน แลว้ นำเคร่อื งดดู ฝุน่ มาดดู

สงั เกตและบันทกึ ผล
2.ทำการทดลองเชน่ เดียวกบั ข้อ1 แต่เปลย่ี นเป็นเศษกระดาษท่มี ีความยาวและหนากว่าข้อที่1 สงั เกตและ

บนั ทกึ ผล
3.ทำการทดลองซำ้ ขอ้ 1-2จำนวน2ครง้ั สงั เกตและบันทึกผล

9

บทที่ 4
ผลการทดลอง

ตารางเเสดงตรวจประสิทธิภาพ

จากตารงพบวา่ เคร่อื งดดู ฝุ่นจิ๋วสามารถดดู กระดาษชนิ้ เล็กได้มากกวา่ ชิ้นที่หนาและใหญ่กวา่

10
บทที่ 5
สรปุ ผลการทดลองและขอ้ เสนอแนะ
สรปุ และอภปิ รายผล
โครงงานวิทยาศาสตรป์ ระเภทส่ิงประดิษฐ์เคร่ืองดดู ฝุ่นอเนกประสงค์ เปน็ การนำวสั ดเุ หลือใชม้ าประดิษฐ์
เชื่อมต่อกับวงจรไฟฟ้าด้วยวงจรอนุกรมแล้วนำไปทดสอบประสิทธิภาพดูดเศษ กระดาษที่มีขนาดแตกต่างกัน
พบวา่ เครอ่ื งดดู ฝนุ่ พลังจิ๋วสามารถดูดเศษกระดาษทีม่ ีขนาดเล็กไดด้ ีกวา่ ขนาดใหญ่ เนอ่ื งจาก แรงมอเตอร์ เพราะ
มอเตอรข์ นาดทใ่ี ชม้ ีขนาดที่เลก็ เลยไม่สารถดดู เศษกระดาษชนิ้ ทีใ่ หญ่ได้

ขอ้ เสนอแนะ

1. ควรระมัดระวงั ในการตัดสายไฟหรือตดั ขวดพลาสติก เพราะอาจบาดมือได้
2. อาจจะใช้วสั ดอุ ่นื ในการประดิษฐเ์ คร่ืองดูดฝุ่นอเนกประสงค์ได้
3. ควรระมดั ระวงั ในการใชป้ นื กาว เพราะอาจเกดิ อนั ตรายได้
4. ควรมีครหู รอื ผู้ปกครองดแู ลขณะประดิษฐ์เคร่ืองดูดฝ่นุ อเนกประสงค์

11

ภาคผนวก

12
ภาพท่ี 1 เคร่ืองมือและวสั ดุอุปกรณ์

ภาพท่ี 2 ประดิษฐใ์ บพัด

13
ภาพที่ 3 ตดิ ตง้ั มอเตอร์กับใบพัด

ภาพที่ 4 เครื่องดูดฝุน่ จว๋ิ

14

อ้างอิง

www.google.co.th
https://enchemcom1po.wordpress.com/plastic-AD/
http://www.xn--12c1bd9an0a9a1dua6i8c.net/81/
https://sites.google.com/site/plastic9911/pvc/pvc-pipe-blue
https://www.siampeerless.com/81.html
https://th.wikipedia.org/wiki/94
https://th.wikipedia.org/wiki/94
https://th.wikipedia.org/wiki/ 81