ชนิดของตัวละลายเมื่ออุณหภูมิคงที่

ชนิดของตัวละลายเมื่ออุณหภูมิคงที่

สารละลาย ( Solution )

ชนิดของตัวละลายเมื่ออุณหภูมิคงที่
สารละลาย (Solution) หมายถึง ของผสมเนื้อเดียวที่เกิดจากสารบริสุทธิ์ตั้งแต่ 2 ชนิด ขึ้นไป รวมกันทางกายภาพในปริมาณที่ไม่แน่นอน

ชนิดของตัวละลายเมื่ออุณหภูมิคงที่
ตัวที่มีปริมาณมากกว่าเป็น ตัวทำละลาย (Solvent) ตัวที่มีปริมาณน้อยกว่าเป็น ตัวถูกละลาย (Solute) มีสถานะ เช่นเดียวกับตัวทำละลายและสมบัติก้ำกึ่งระหว่างสารที่มาผสมกัน อนุภาคตัวถูกละลายขนาดเล็กกว่า 10-7 cm สามารถผ่านกระดาษเซลโลเฟนได้ เช่น สารละลายเกลือแกง สารละลายน้ำตาล เป็นต้น

การเรียกชื่อสารละลาย

ชนิดของตัวละลายเมื่ออุณหภูมิคงที่
ถ้าสารละลายนั้นมีน้ำเป็นตัวทำละลาย จะขึ้นต้นด้วยคำว่า สารละลาย แล้วตามด้วยชื่อตัวถูกละลาย เช่น สารละลายโซเดียมคลอไรด์ สารละลายกรดอะซิติก ถ้าสารละลายมีสารอื่นที่ไม่ใช่น้ำเป็นตัวทำละลาย จะขึ้นต้นด้วยคำว่า สารละลาย ตามด้วยชื่อ ตัวถูกละลาย และคำว่า ในตามด้วย ตัวทำละลาย เช่น สารละลายคลอรีนในคาร์บอนเตตระคลอไรด์ สารละลายไอโอดีนในเฮกเซน เป็นต้น

ชนิดของสารละลาย

ชนิดของตัวละลายเมื่ออุณหภูมิคงที่
1. สารละลายอิ่มตัว ( Saturated Solution ) หมายถึง สารละลายที่มีตัวถูกละลายอยู่อย่างเต็มที่ ในหนึ่งหน่วยปริมาตรของตัวทำละลาย และไม่สามารถละลายเพิ่มเข้าไปได้อีก ณ อุณหภูมิคงที่
ชนิดของตัวละลายเมื่ออุณหภูมิคงที่
2. สารละลายไม่อิ่มตัว
( Unsaturated Solution ) หมายถึง สารละลายที่มีตัวถูกละลาย ละลายอยู่น้อยกว่าที่มันควรจะละลายได้ ถ้าเพิ่มตัวถูกละลายเข้าไปอีก มันก็จะละลายได้อีกโดยไม่ต้องเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิ แบ่งเป็น
ชนิดของตัวละลายเมื่ออุณหภูมิคงที่
ชนิดของตัวละลายเมื่ออุณหภูมิคงที่
2.1) สารละลายเจือจาง (Dilute Solution) หมายถึง สารละลายที่มีปริมาณตัวถูกละลายละลายอยู่น้อย
ชนิดของตัวละลายเมื่ออุณหภูมิคงที่
ชนิดของตัวละลายเมื่ออุณหภูมิคงที่
2.2)สารละลายเข้มข้น (Concentration Solution) หมายถึง สารละลายที่มีตัวถูกละลายอยู่มาก

เกณฑ์การแบ่งสารละลาย

ชนิดของตัวละลายเมื่ออุณหภูมิคงที่
1. ใช้สถานะของสารละลายเป็นเกณฑ์ แบ่งออกได้ 3 ชนิดคือ

ชนิดของตัวละลายเมื่ออุณหภูมิคงที่
1.1) สารละลายที่เป็นของแข็ง หมายถึง สารละลายที่มีตัวทำละลายมีสถานะเป็นของแข็ง เช่น ทองเหลือง นาก โลหะบัดกรี สัมฤทธิ์ เป็นต้น

ชนิดของตัวละลายเมื่ออุณหภูมิคงที่
1.2) สารละลายที่เป็นของเหลว หมายถึง สารละลายที่มีตัวทำละลายมีสถานะเป็นของเหลว เช่น น้ำเชื่อม น้ำหวาน น้ำเกลือ น้ำปลา น้ำส้มสายชู น้ำอัดลม เป็นต้น

ชนิดของตัวละลายเมื่ออุณหภูมิคงที่
1.3) สารละลายที่เป็นก๊าซ หมายถึง สารละลายที่มีตัวทำละลายมีสถานะเป็นแก๊ส เช่น อากาศ แก๊สหุงต้ม ลูกเหม็นในอากาศ ไอน้ำในอากาศ เป็นต้น
ตัวละลายแต่ละชนิดจะใช้ตัวทำละลายที่แตกต่างกัน ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับความสัมพันธ์ระหว่างตัวทำละลายและตัวถูกละลาย ซึ่งสารทั้ง 2 ชนิดนั้นจะต้องรวมเป็นเนื้อเดียวกันและไม่ทำปฏิกิริยาเคมีต่อกัน ตัวอย่างเช่น
ชนิดของตัวละลายเมื่ออุณหภูมิคงที่
– เกลือ น้ำตาลทราย สีผสมอาหาร จุนสี สารส้ม กรดเกลือ กรดกำมะถัน ใช้น้ำเป็นตัวทำละลาย
ชนิดของตัวละลายเมื่ออุณหภูมิคงที่
– โฟม ยางพารา พลาสติก ใช้น้ำมันเบนซินเป็นตัวทำละลาย
ชนิดของตัวละลายเมื่ออุณหภูมิคงที่
– สีน้ำมัน โฟม พลาสติก แลคเกอร์ ใช้ทินเนอร์เป็นตัวทำละลาย
ชนิดของตัวละลายเมื่ออุณหภูมิคงที่
– สีน้ำมันใช้น้ำมันสนเป็นตัวทำละลาย
2. ใช้สถานะของตัวทำละลายและสถานะของตัวถูกละลายเป็นเกณฑ์
3. ใช้ปริมาณของตัวถูกละลายในสารละลายเป็นเกณฑ์

ความเข้มข้นของสารละลาย

ชนิดของตัวละลายเมื่ออุณหภูมิคงที่
ความเข้มข้นของสารละลาย คือ ปริมาณของสารที่เป็นตัวละลายซึ่งละลายอยู่ในสารละลาย
1. ร้อยละ (percent) แบ่งออกเป็นดังนี้
ชนิดของตัวละลายเมื่ออุณหภูมิคงที่
1.1) ร้อยละโดยมวล (w/w) บอกถึงมวลของตัวละลายที่ละลายในสารละลาย 100 หน่วยมวล เช่น สารละลายน้ำเชื่อมเข้มข้นร้อยละ 10 โดยมวล คือ ในสารละลายน้ำเชื่อม 100 กรัม ประกอบด้วยน้ำตาล 10 กรัม
ชนิดของตัวละลายเมื่ออุณหภูมิคงที่
1.2) ร้อยละโดยปริมาตร (v/v) บอกถึงปริมาตรของตัวละลายที่ละลายในสารละลาย 100 หน่วยปริมาตร เช่น สารละลายเอทานอลเข้มข้นร้อยละ 15 โดยปริมาตร คือ ในสารละลาย เอทานอล 100 ลูกบาศก์เซนติเมตร ประกอบด้วยเอทานอล 15 ลูกบาศก์เซนติเมตร
ชนิดของตัวละลายเมื่ออุณหภูมิคงที่
1.3) ร้อยละโดยมวลต่อปริมาตร (w/v) บอกถึงมวลของตัวละลายในสารละลาย 100 หน่วยปริมาตร เช่น สารละลายเกลือแกง 100 ลูกบาศก์เซนติเมตร ประกอบด้วยเกลือแกง 1 กรัม

2. ส่วนในพันส่วน (part per thousand ; ppt) เป็นหน่วยที่บอกมวลของตัวละลายที่มีปริมาณน้อย ละลายในสารละลาย หรือตัวทำละลาย 1 พันส่วน

3. ส่วนในล้านส่วน (part per million ; ppm) เป็นหน่วยที่บอกมวลของตัวละลายที่มีปริมาณน้อยมาก ละลายในสารละลายหรือตัวทำละลาย 1 ล้านส่วน (106 ส่วน) เช่น ปลาตัวหนึ่งมีปรอทปลอมปนอยู่ 0.2 ppm หมายความว่า ในเนื้อปลา 1 ล้านกรัม จะมีปรอทอยู่ 0.2 กรัม

4. การบอกความเข้มข้น โดยดูจากปริมาณตัวละลายในสารละลาย แบ่งได้เป็นดังนี้

ชนิดของตัวละลายเมื่ออุณหภูมิคงที่
4.1) สารละลายเข้มข้น คือ สารละลายที่มีปริมาณตัวละลาย ละลายในสารละลายมาก เมื่อเทียบกับตัวทำละลาย
ชนิดของตัวละลายเมื่ออุณหภูมิคงที่
4.2) สารละลายเจือจาง คือ สารละลายที่มีปริมาณตัวละลาย ละลายในสารละลายน้อย เมื่อเทียบกับตัวทำละลาย

ความสามารถในการละลายได้ของสาร

ชนิดของตัวละลายเมื่ออุณหภูมิคงที่
ณ อุณหภูมิเดียวกัน สารแต่ละชนิดละลายไม่เท่ากัน ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับปัจจัยดังนี้คือ
ชนิดของตัวละลายเมื่ออุณหภูมิคงที่
ชนิดของตัวละลายเมื่ออุณหภูมิคงที่
1. ชนิดของตัวทำละลาย
ชนิดของตัวละลายเมื่ออุณหภูมิคงที่
ชนิดของตัวละลายเมื่ออุณหภูมิคงที่
2. ชนิดของตัวถูกละลาย
ชนิดของตัวละลายเมื่ออุณหภูมิคงที่
ชนิดของตัวละลายเมื่ออุณหภูมิคงที่
3. ความดันในกรณีที่ตัวถูกละลายมีสถานะเป็นก๊าซ ถ้าความดันเพิ่มจะละลายได้มากขึ้น
ชนิดของตัวละลายเมื่ออุณหภูมิคงที่
ชนิดของตัวละลายเมื่ออุณหภูมิคงที่
4. อุณหภูมิความสามารถในการละลายของสารบางชนิดเพิ่มขึ้น เมื่ออุณหภูมิเพิ่ม แต่บางชนิดละลายได้น้อยลง (ตกตะกอนผลึกออกมา) เมื่ออุณหภูมิเพิ่ม ดังกราฟปริมาณตัวถูกละลายกับอุณหภูมิ

ปัจจัยที่มีผลต่อการละลายของสาร

ชนิดของตัวละลายเมื่ออุณหภูมิคงที่
1. ชนิดของตัวทำละลาย
ชนิดของตัวละลายเมื่ออุณหภูมิคงที่
2. ชนิดของตัวถูกละลาย
ชนิดของตัวละลายเมื่ออุณหภูมิคงที่
3. ความดัน ในกรณีที่ตัวละลายมีสถานะเป็นก๊าซ ถ้าความดันเพิ่มจะละลายได้มากขึ้น
ชนิดของตัวละลายเมื่ออุณหภูมิคงที่
4. อุณหภูมิ

การตรวจสอบสารละลายบริสุทธิ์
1. หาจุดเดือด

ชนิดของตัวละลายเมื่ออุณหภูมิคงที่
คือ นำสารละลายมาหาจุดเดือด ถ้าสารละลายนั้นมีจุดเดือดคงที่หรือมีอุณหภูมิขณะเดือดคงที่ แสดงว่าสารละลายนั้นเป็นสารบริสุทธิ์ แต่ถ้ามีอุณหภูมิขณะเดือดไม่คงที่แสดงว่าสารละลายนั้นไม่ใช่สารละลายบริสุทธิ์

2. หาจุดหลอมเหลว

ชนิดของตัวละลายเมื่ออุณหภูมิคงที่
คือ นำสารละลายมาหาจุดหลอมเหลว ถ้าเป็นสารบริสุทธิ์จะมีจุดหลอมเหลวคงที่ และมีช่วงอุณหภูมิของการหลอมเหลวแคบ แต่ถ้าเป็นสารละลาย จุดหลอมเหลวจะไม่คงที่ และมีช่วงอุณหภูมิของการหลอมเหลวกว้าง

3. การระเหยแห้ง

ชนิดของตัวละลายเมื่ออุณหภูมิคงที่
คือ ถ้านำสารลายไประเหยแห้ง แล้วพบว่ามีของแข็งเหลืออยู่ แสดงว่าสารนั้นเป็นสารละลาย แต่ถ้าไม่มีอะไรเหลืออยู่เลย ก็ยังไม่สามารถสรุปได้ว่า สารนั้นเป็นสารบริสุทธิ์ ต้องนำไปหาจุดเดือด จุดหลอมเหลวต่อไป

ชนิดของตัวละลายเมื่ออุณหภูมิคงที่

ชนิดของตัวละลายเมื่ออุณหภูมิคงที่
https://enchemcom2g.wordpress.com/solution/

ชนิดของตัวละลายเมื่ออุณหภูมิคงที่