หน้าที่ของแกนขั้วแม่เหล็ก คือ

บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ วิชา เครื่องกลไฟฟ้า 1

ระดับ ปวส.1 สาขางานไฟฟ้ากำลัง วิทยลัยการอาชีพลอง

( อ. ภูสิทธิ  วิริยะสิทธิ์ธานนท์  )

หน่วยที่ 1 เรื่อง ส่วนประกอบของเครื่องกลไฟฟ้ากระแสตรง

คำชี้แจงการเรียน

            1. .ให้นักศึกษาเรียนรู้เกี่ยวกับส่วนปรพกอบของเครื่องกลไฟฟ้ากระแสตรง

2. ทำแบบทดสอบหลังเรียน                                                                                                                                      

จุดประสงค์ทั่วไป                                                                                                                                                                    

            1. เข้าใจเกี่ยวกับส่วนประกอบของเครื่องกลไฟฟ้ากระแสตรง

จุดประสงค์เฉพาะ

1.1 บอกส่วนประกอบของเครื่องกลไฟฟ้ากระแสตรง

            1.2 บอกหน้าที่การทำงานของส่วนประกอบเครื่องกลไฟฟ้ากระแสตรง

เนื้อหา

ส่วนประกอบของเครื่องกลไฟฟ้ากระแสตรง           

เครื่องกลไฟฟ้ากระแสตรงประกอบด้วยส่วนประกอบสำคัญ 4 ส่วน คือ อาเมเจอร์ขั้วแม่เหล็ก

คอมมิวเตเตอร์และแปรงถ่าน นอกจากนั้นยังมีส่วนประกอบอื่นๆอีก เช่น แกนเพลา ตลับลูกปืน

ชุดยึดแปรงถ่าน และโครงเครื่อง เป็นต้น

หน้าที่ของแกนขั้วแม่เหล็ก คือ

รูปที่ 1.1 โครงสร้างเครื่องกลไฟฟ้ากระแสตรงภายใน

หน้าที่ของแกนขั้วแม่เหล็ก คือ

รูปที่ 1.2 อาเมเจอร์

1.อาเมเจอร์ (Armature) คือ ส่วนที่หมุนตัดกับสนามแม่เหล็กเพื่อผลิตแรงเคลื่อนไฟฟ้า โครงสร้างของอาเมเจอร์ประกอบด้วย เพลา แกนเหล็กอาเมเจอร์และขดลวดอาเมเจอร์

- แกนเพลา (Shaft) เป็นตัวสำหรับยืดคอมมิวเตเตอร์และยึดแกนเหล็กอาร์มาเจอร์ เพื่อบังคับให้หมุนอยู่ในแนวนิ่งไม่มีการสั่นสะเทือนได้

-  แกนเหล็กอาเมเจอร์ (Armature Core)  ทำจากแผ่นเหล็กซิลิกอนหนาประมาณ 0.5 มม. ผิวทั้งสองด้านฉาบด้วยฉนวนไฟฟ้าจำพวกวานิช นำมาอัดซ้อนกับเป็นรูปทรงกระบอก เพื่อลดการสูญเสียเนื่องจากฮิสเตอรีซิส (Hysteresis loss) และกระแสไหลวน (Eddy current loss) ในแกนเหล็ก

     - ขดลวดอาเมเจอร์ (Armature Winding) ทำจากเส้นลวดทองแดงอาบฉนวนไฟฟ้า

หน้าที่ของแกนขั้วแม่เหล็ก คือ

รูปที่ 1.3 ขั้วแม่เหล็ก

                 2.ขั้วแม่เหล็ก (Pole) คือ ส่วนที่สร้างสนามแม่เหล็กให้ผ่านแกนเหล็กอาเมเจอร์ขั้วแม่เหล็กขอเครื่องกลไฟฟ้ากระแสตรงจะยึดติดกับโครงเครื่อง

- โครงเครื่อง เป็นส่วนที่ยึดแกนของขั้วแม่เหล็กและฝาครอบเครื่อง นอกจากนั้นยังใช้เป็นทางผ่านของสนามแม่เหล็กเพื่อให้เส้นแรงแม่เหล็กเดินครบวงจร

- แกนของขั้วแม่เหล็กและโปลชู (Pole Core) ทำจากเหล็กแผ่นลามิเนท (Laminated sheet steel) ปั๊มเป็นแกนของขั้วแม่เหล็กและโปลชูในแผ่นเดียวกัน

- ขดลวดสนามแม่เหล็ก (Field Coil) คือขดลวดฟีลด์ที่พันรอบแกนของขั้วแม่เหล็กหลักทุกขั้ว โดยมากมักใช้ขดลวดฟีลด์ที่พันไว้ล่วงหน้า หุ้มฉนวน (พันด้วยเทปผ้าฝ้าย) อาบวานิชและอบแห้งแล้วจึงนำไปสวมเข้ากับแกนของขั้วแม่เหล็ก

หน้าที่ของแกนขั้วแม่เหล็ก คือ

รูปที่ 1.4 คอมมิวเตเตอร์

              3.คอมมิวเตเตอร์ (Commutator)เป็นส่วนที่ทำหน้าที่เรียงกระแสหรือเปลี่ยนแรงเคลื่อนไฟฟ้ากระแสสลับในขดลวดอาเมเจอร์ให้เป็นแรงเคลื่อนไฟฟ้ากระแสตรง

หน้าที่ของแกนขั้วแม่เหล็ก คือ

รูปที่ 1.5 แปรงถ่านและชุดยึดแปรงถ่าน

4.แปรงถ่านและชุดยึดแปรงถ่าน (Brushes) แปรงถ่านจะสัมผัสกับผิวหน้าของคอมมิวเตเตอร์ตลอดเวลา เพื่อต่อวงจรขดลวดอาเมเจอร์กับวงจรภายนอกเข้าด้วยกัน

ชุดยึดแปรงถ่าน ทำหน้าที่ยึดแปรงถ่านให้อยู่ในตำแหน่งที่เหมาะสมมีสปริงกดแปรงถ่านให้สัมผัสกับผิวหน้าของคอมมิวเตเตอร์ตลอดเวลา  

แกนเหล็กอาร์เมเจอร์ทำหน้าที่อะไร

(2)ส่วนที่เคลื่อนที่ ประกอบด้วย 1) แกนเหล็กอาร์เมเจอร์ (Armature core) เป็นที่ส าหรับบรรจุขดลวดอาร์ เมเจอร์ ท ามาจากแผ่นเหล็กบาง ๆ ที่ด้านหนึ่งฉาบด้วยฉนวนอัดซ้อนเข้าด้วยกันเป็น รูปทรงกระบอกและทาเป็นช่อง(Slot)ไว้ และที่แกนเหล็กอาร์เมเจอร์นี้จะเจาะรูไว้ด้วย เพื่อช่วยในการระบายความร้อน

ขดลวดสนามแม่เหล็กที่พันอยู่บนแกนขั้ว จะเป็นแบบใด

การกระตุ้น หมายถึง การน าแหล่งจ่ายไฟฟ้ากระแสตรงมาจ่ายให้กับขดลวดที่พันอยู่บนแกน ขั้วแม่เหล็กเพื่อสร้างเส้นแรงแม่เหล็ก ซึ่งขดลวดที่พันอยู่บนแกนขั้วแม่เหล็กจะมี 2 แบบ คือ ขดลวด สนามแม่เหล็กแบบชันต์กับขดลวดสนามแม่เหล็กแบบซีรีส์ ดังรูปที่ 2.1. รูปที่ 2.1 การน าแหล่งจ่ายไฟฟ้ากระแสตรงมากระตุ้นขดลวดสนามแม่เหล็กแบบชันต์

ข้อใดคือหน้าที่ของคอมมิวเตเตอร์

5.) คอมมิวเตเตอร์ (Commutator) คือส่วนเคลื่อนที่อีกส่วนหนึ่ง ถูกยึดติดเข้ากับอาร์เมเจอร์และเพลาร่วมกัน คอมมิวเตเตอร์ทำจากแท่งทองแดงแข็งประกอบเข้าด้วยกันเป็นรูปทรงกระบอก แต่ละแท่งทองแดงของคอมมิวเตเตอร์ถูกแยกออกจากกันด้วยฉนวนไมก้า (Mica) อาร์เมเจอร์ คอมมิวเตเตอร์ทำหน้าที่เป็นขั้วรับแรงดันไฟตรงที่จ่ายมาจากแปรงถ่าน เพื่อ ...

สเตเตอร์มีหน้าที่ทำอะไร

1.สเตเตอร์(Stator) เป็นส่วนที่อยู่กับที่ ประกอบด้วยโครงภายนอกทำหน้าที่เป็นทางเดินเส้นแรงแม่เหล็กจากขั้วเหนือไปขั้วใต้ให้ครบวงจร และยึดส่วนประกอบอื่น ๆ ให้แข็งแรง สเตเตอร์ทำด้วยเหล็กหล่อหรือเหล็กเหนียว รูปทรงกระบอก มีลักษณะเป็นขั้วแม่เหล็กยื่นทำด้วยเหล็กแผ่นบาง ๆ เคลือบด้วยฉนวนเรียงซ้อนกัน ผิวด้านหน้าเป็นรูปโค้งรับกับ ...