เครื่องยนต์ แก๊ส โซ ลี น 4 จังหวะ มี วิธี การ ทํา งาน คือ

เครื่องยนต์ แก๊ส โซ ลี น 4 จังหวะ มี วิธี การ ทํา งาน คือ

  • Video: หลักการทำงานเครื่องยนต์ 4 จังหวะ แก๊สโซลีน
  • เครื่องยนต์ 4 จังหวะทำงานอย่างไร
    • ดูด (Intake)
    • อัด (Compression)
    • ระเบิด (Power)
    • คาย (Exhaust)
    • การบำรุงรักษาเครื่องยนต์ 4 จังหวะของคุณ
  • อ้างอิง[แก้]
  • หลักการทำงานของเครื่องยนต์เล็กแก๊สโซลีนแบบ 4 จังหวะ (Four-stroke engine)
  • หลักการทำงานของเครื่องยนต์เล็กแก๊สโซลีนแบบ 4 จังหวะ
  • หลักการทำงานของเครื่องยนต์4จังหวะ
      •              การทำงานของเครื่องยนต์ดีเซล 4 จังหวะ  มีดังนี้
        • เครื่องยนต์เบนซิน 4 จังหวะ ( 4  Cycle Gasoline Engine )โครงสร้างพื้นฐานของเครื่องยนต์เบนซิน 4 จังหวะ
        • กระบวนการทำงานในแต่ละจังหวะของเครื่องยนต์เครื่องยนต์เบนซิน 4 จังหวะ

หลักการทํางานเครื่องยนต์4จังหวะ เป็นข้อมูลที่คุณสนใจค้นหาหรือไม่ เว็บไซต์ของเราจะแนะนำข้อมูลล่าสุดและถูกต้องที่สุดเกี่ยวกับ หลักการทํางานเครื่องยนต์4จังหวะ ในบทความนี้!

Video: หลักการทำงานเครื่องยนต์ 4 จังหวะ แก๊สโซลีน

คุณกำลังดูวิดีโอ หลักการทำงานเครื่องยนต์ 4 จังหวะ แก๊สโซลีน อัปเดตจากช่อง โมตาด แจ่มๆ จากวันที่ 2021-01-06 พร้อมคำอธิบายด้านล่าง

คลิปทบทวนความรู้วิชางานเครื่องยนต์เล็กให้กับนักเรียนและผู้สนใจจะศึกษาหลักการทำงานเครื่องยนต์ถ้าผิดพลาดประการใดกราบขอภัยด้วยนะครับและขอบคุณที่แนะนำจะได้ปรับปรุงในคลิปถัดไปขอบคุณครับ

ข้อมูลด้านล่างเกี่ยวกับ หลักการทํางานเครื่องยนต์4จังหวะ:

การทำงาน 4 จังหวะได้แก่ ดูด อัด ระเบิด และคาย แต่ละจังหวะใช้การทำงานเคลื่อนที่ของลูกสูบหนึ่งครั้ง ซึ่งหมายความว่าหนึ่งรอบการทำงานต้องใช้การหมุนเพลาข้อเหวี่ยงสองรอบ

หลักการทำงานมีดังนี้

ดูด (Intake)

ลูกสูบเคลื่อนลงจากด้านบนลงล่างของกระบอกสูบ ดูดส่วนผสมของอากาศและน้ำมันเชื้อเพลิงเข้าสู่กระบอกสูบ วาล์วไอดีจะปิดเมื่อสิ้นสุดจังหวะดูด

อัด (Compression)

เมื่อวาล์วไอดีปิด ลูกสูบจะเคลื่อนที่จากล่างขึ้นด้านบนของกระบอกสูบ ส่วนผสมของอากาศ/น้ำมันเชื้อเพลิงในห้องเผาไหม้ของฝาสูบจะถูกอัด

ระเบิด (Power)

หัวเทียนจุดระเบิดและเผาไหม้เชื้อเพลิงที่อัดตัว น้ำมันเชื้อเพลิงที่เผาไหม้ขยายตัว และดันลูกสูบลงล่าง

คาย (Exhaust)

ในช่วงสิ้นสุดของจังหวะระเบิด วาล์วไอเสียจะเปิด จากนั้นลูกสูบจะเคลื่อนที่ขึ้นสู่ด้านบนพร้อมจัดการกวาดเอาไอเสียผ่านวาล์วและออกจากกระบอกสูบ ก่อนจะเข้าสู่จังหวะดูดอีกครั้ง เช่นนี้วนไปเรื่อยๆ

การบำรุงรักษาเครื่องยนต์ 4 จังหวะของคุณ

เพื่อให้เครื่องยนต์ทำงานได้นุ่มนวล คุณต้องใช้น้ำมันเครื่องสำหรับรถจักรยานยนต์ 4 จังหวะคุณภาพสูง น้ำมันเครื่องที่ดีไม่เพียงช่วยทำความสะอาดเครื่องยนต์ ลดแรงเสียดทาน และระบายความร้อน ยังต้องมีประสิทธิภาพด้านความประหยัดด้วย ค้นหาว่าน้ำมันเครื่องเชลล์ แอ๊ดว้านซ์ สามารถช่วยให้เครื่องยนต์ของคุณมีประสิทธิภาพสูงสุดได้อย่างไร

ข้อมูลอ้างอิงจาก Wikipedia และ animatedengines.com

ข้อมูลโดยละเอียดสำหรับ ภายในเครื่องยนต์ของรถจักรยานยนต์ 4 จังหวะ…

หลักการทำงานของเครื่องยนต์เล็กแก๊สโซลีนแบบ 4 จังหวะ (Four-stroke engine)


         ” เครื่องยนต์เล็กและหลักการทางานมีความสำคัญมาก ดังนั้น นักเรียนจะต้องมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ ชนิดของเครื่องยนต์เล็ก หลักการทำงานของเครื่องยนต์เล็กแก๊สโซลีนและดีเซล 2 และ 4 จังหวะ เพื่อจะได้นำความรู้ความเข้าใจไปใช้ในการตรวจซ่อมเครื่องยนต์เล็กต่อไป “

               ไอของน้ำมันจะถูกอัดแล้วถูกจุดระเบิดโดยหัวเทียน “ไอดี” คือส่วนผสมของไอระเหยหรือละอองน้ำมันเบนซินผสมกับอากาศ ไอดีจะถูกดูดเข้ากระบอกสูบหรือฉีดเข้ากระบอกสูบโดยหัวฉีดในช่วงชักดูดลิ้นไอดีเปิด และลิ้นไอเสียปิด หลังจากนั้นลูกสูบจะเคลื่อนที่ขึ้น ก่อนจะถึงศูนย์ตายบน (TDC) เล็กน้อยไอดีจะถูกอัดให้มีอุณหภูมิสูงขึ้นประมาณ 700-900 องศาเซลเซียส ลิ้นไอดีและลิ้นไอเสียปิดสนิท ต่อไปไอดีที่ถูกอัดมานั้นจะถูกจุดระเบิดโดยประกายไฟประมาณ 25,000 โวลต์ จากเขี้ยวหัวเทียน ซึ่งเรียกว่าช่วงชักระเบิด หรือ “ช่วงชักงาน” แรงระเบิดทำให้ลูกสูบเลื่อนลงศูนย์ตายล่าง (BDC) เครื่องยนต์ได้งานในช่วงชักนี้ ทำให้เพลาข้อเหวี่ยงเกิดการหมุน เป็นการเปลี่ยนพลังงานความร้อนเป็นพลังงานกล ช่วงชักคายลูกสูบเลื่อนขึ้นศูนย์ตายบน (TDC)  ลิ้นไอดีปิด ลิ้นไอเสียเปิด ไอเสียออกจากกระบอกสูบทางลิ้นไอเสียผ่านท่อไอเสียออกสู่บรรยากาศ เครื่องยนต์ทำงานครบ 4 ช่วงชัก เครื่องยนต์ 4 จังหวะโดยทั่วไปจะทำงานดังต่อไปนี้ 

จังหวะที่ 1 จังหวะดูด (Suction or intake stroke) ลูกสูบเลื่อนลงจากศูนย์ตายบนลงสู่ศูนย์ตายล่าง ลิ้นไอดีเปิดและลิ้นไอเสียปิด เพื่อดูดไอดีเข้ามาในกระบอกสูบ

จังหวะที่ 2 จังหวะอัด (Compression stroke) ลูกสูบเลื่อนขึ้นจากศูนย์ตายล่างขึ้นสู่ศูนย์ตายบน ลิ้นไอดีและลิ้นไอเสียปิดสนิท ไอดีถูกอัดให้ร้อน 700-900 องศาเซลเซียส

จังหวะที่ 3 จังหวะระเบิด (Power stroke) ลูกสูบเลื่อนขึ้นใกล้ศูนย์ตายบน หัวเทียนจุดประกายไฟเผ่าไหม้ ไอดีเกิดการระเบิดขึ้นในห้องเผาไหม้ แรงระเบิดทำให้ลูกสูบเลื่อนลงจากศูนย์ตายบนลงสู่ศูนย์ตายล่าง ทำให้เพลาข้อเหวี่ยงเกิดการหมุน เครื่องยนต์ได้งานในช่วงชักนี้ เรียกอีกชื่อหนึ่งว่า “ช่วงชักงาน” เป็นการเปลี่ยนพลังงานความร้อนเป็นพลังงานกล 

จังหวะที่ 4 จังหวะคาย (Exhaust stroke) ลูกสูบเคลื่อนที่จากศูนย์ตายล่างขึ้นสู่ศูนย์ตายบน ลิ้นไอดีปิดและลิ้นไอเสียเปิด แก๊สไอเสียออกจากกระบอกสูบผ่านลิ้นไอเสีย ท่อไอเสียและออกสู่ชั้นบรรยากาศภายนอกเครื่องยนต์ 

“สรุป “ การทำงานของเครื่องยนต์ 4 จังหวะ คือ จังหวะดูด จังหวะอัด จังหวะระเบิด จังหวะคาย ลูกสูบขึ้นลงรวม 4 ครั้ง เพลาข้อเหวี่ยงหมุน 2 รอบ จะได้งาน 1 ครั้ง


หลักการทำงานของเครื่องยนต์เล็กแก๊สโซลีนแบบ 4 จังหวะ


ข้อมูลโดยละเอียดสำหรับ หลักการทำงานเครื่องยนต์เล็กแก๊สโซลีน 4 จังหวะ…

เครื่องยนต์ แก๊ส โซ ลี น 4 จังหวะ มี วิธี การ ทํา งาน คือ

หลักการทำงานของเครื่องยนต์4จังหวะ

  เครื่องยนต์แบบนี้  มีการทำงานแบ่งออกเป็น  4 จังหวะ คือ จังหวะดูด จังหวะอัด  จังหวะระเบิด  และจังหวะคาย  การทำงานทั้ง 4 จังหวะของลูกสูบเท่ากับการหมุนของเพลาข้อเหวี่ยง 2 รอบ             เครื่องยนต์ดีเซลมีหัวฉีดที่ทำหน้าที่ฉีดน้ำมันเชื้อเพลิงให้กระจายเป็นฝอยเล็กๆ เข้าไปในกระบอกสูบ  เพื่อผสมกับอากาศที่ถูกอัดภายในกระบอกสูบที่มีความดันและอุณหภูมิสูงพอเหมาะ และจะเกิดระเบิดเอง            

             การทำงานของเครื่องยนต์ดีเซล 4 จังหวะ  มีดังนี้

1.  จังหวะดูด (Suction Stroke)  ลูกสูบจะเคลื่อนที่ลง ลิ้นไอดีจะเปิด และลิ้นไอเสียจะปิด ขณะที่ลูกสูบเคลื่อนที่ลงจะเกิดสูญญากาศภายในกระบอกสูบทำให้เกิดการดูดเอาอากาศเพียงอย่างเดียวเข้ามาในกระบอกสูบ  เมื่อลูกสูบเคลื่อนที่ลงจนถึงจุดศูนย์ตายล่าง  ลิ้นไอดีจะปิดเพื่อป้องกันไม่ให้อากาศหนีออกไป
2.  จังหวะอัด (Compression Stroke) ลูกสูบเคลื่อนที่ขึ้นขณะที่ลิ้นไอดีและไอเสียปิดทำให้เกิดการอัดอากาศภายในกระบอกสูบจนกระทั่งลูกสูบเคลื่อนที่ถึงจุดศูนย์ตายบน  ปริมาตร  ของอากาศจะเหลือประมาณ 1/16 ของปริมาตรเดิมและอุณหภูมิจะสูงประมาณ 550 องศาเซลเซียส
3.  จังหวะระเบิด (Power Stroke)  เมื่อลูกสูบอยู่ที่ตำแหน่งศูนย์ตายบน  อากาศจะถูกอัดเต็มที่และมีความร้อนสูง  หัวฉีดก็จะฉีดน้ำมันเชื้อเพลิงเข้าไปในกระบอกสูบทำให้เกิดการระเบิด และผลักลูกสูบให้เคลื่อนที่ลง
4.  จังหวะคาย (Exhaust Stroke)  ลูกสูบจะเคลื่อนที่ขึ้น ลิ้นไอดีจะปิด แต่ลิ้นไอเสียจะเปิด  ทำให้อากาศเสียที่เกิดจากการเผาไหม้ถูกขับออก  เมื่อสิ้นสุดจังหวะคายแล้วลูกสูบก็จะเคลื่อนที่ลงทำให้เกิดจังหวะดูดต่อไป

เครื่องยนต์เบนซิน 4 จังหวะ ( 4  Cycle Gasoline Engine )โครงสร้างพื้นฐานของเครื่องยนต์เบนซิน 4 จังหวะ

            เครื่องยนต์เบนซิน 4 จังหวะ สามารถจัดแบ่งกลุ่มชิ้นส่วนโครงสร้างที่เป็นพื้นฐานของเครื่องยนต์ได้ดังนี้ ลักษณะพื้นฐานของเครื่องยนต์เบนซิน 4 จังหวะ               
1.  เสื้อสูบกับกระบอกสูบและห้องเพลาข้อเหวี่ยง   เป็นชิ้นส่วนเครื่องยนต์ที่เป็นโครงสร้างหลักสำหรับยึดชิ้นส่วนอื่นๆของเครื่องยนต์            
2.  กลไกลูกสูบและข้อหมุนเหวี่ยง  (Piston & Cranking Mechanism) ประกอบด้วย ลูกสูบ  ก้านสูบ  เพลาข้อเหวี่ยง  และล้อช่วยแรงซึ่งเป็นชิ้นส่วนเคลื่อนที่ของเครื่องยนต์ที่รับความดันจากการเผาไหม้ในห้องสูบแล้วเปลี่ยนเป็นแรงกระทำบนหัวลูกสูบ  ไปส่งต่อผ่านก้านสูบไปกระทำที่ก้านหมุนเพลาข้อเหวี่ยงทำให้เพลาข้อเหวี่ยงหมุนอย่างเรียบจ่ายแรงบิดออกไปใช้งาน            
3.  ฝาสูบ  เป็นฝาปิดกระบอกสูบทำให้เกิดเป็นห้องเผาไหม้ขึ้นในเครื่องยนต์และทำให้เป็นปริมาตรอัดเกิดขึ้นบนฝาสูบ             
4.  กลไกลิ้น (Valve Mechanism) หรือกลไกขับควบคุมการทำงานของเครื่องยนต์ (Engine Steering Mechanism)  ประกอบขึ้นด้วย เพลาลูกเบี้ยว  ปลอกกระทุ้งลิ้น  ก้านกระทุ้งลิ้น  กระเดื่องกดลิ้น  สปริงลิ้นและลิ้น                ส่วนชิ้นส่วนอุปกรณ์เครื่องยนต์อื่นๆเช่น  คาร์บูเรเตอร์  ระบบจุดระเบิด  ปั๊มน้ำ  อัลเตอร์เนเตอร์  มอเตอร์สตาร์ท  ปั๊มน้ำมันเครื่อง ฯลฯ เป็นชิ้นส่วนของระบบการทำงานเครื่องยนต์ที่มีแตกต่างกันตามแบบของระบบนั้นๆ  

กระบวนการทำงานในแต่ละจังหวะของเครื่องยนต์เครื่องยนต์เบนซิน 4 จังหวะ

             ในแต่ละกลวัฏเครื่องยนต์  ขั้นตอนตามลำดับตลอดกลวัฏเครื่องยนต์คือการดูด  การอัด  การใช้งาน  และการคายดำเนินไปกับการเคลื่อนที่ของลูกสูบทั้ง 4 ช่วงชักดังต่อไปนี้             
1.  จังหวะดูด (Suction Stroke)
                 กา…

ข้อมูลโดยละเอียดสำหรับ หลักการทำงานของเครื่องยนต์4จังหวะ…

ดูข้อมูลเกี่ยวกับหัวข้อด้วย หลักการทํางานเครื่องยนต์4จังหวะ คุณสามารถค้นหาหัวข้อเกี่ยวกับรถยนต์เพิ่มเติมได้ที่นี่ เช่น ข่าวรถยนต์ล่าสุด

ดังนั้นเราจึงได้อัปเดตข้อมูลที่ได้รับความนิยมมากที่สุดเกี่ยวกับ หลักการทํางานเครื่องยนต์4จังหวะ ในช่วงเวลาที่ผ่านมา หวังว่าข้อมูลนี้จะเป็นประโยชน์สำหรับคุณ คุณ

ขอบคุณที่รับชมครับ กรุณาเยี่ยมชมบ่อยสำหรับการปรับปรุงเพิ่มเติม! โปรดกดไลค์ กดแชร์ แสดงความคิดเห็นด้านล่างเพื่อแจ้งให้เราทราบว่าคุณต้องการอะไร!

เครื่องยนต์ 4 จังหวะมีขั้นตอนการทำงานอย่างไร

เครื่องยนต์ 4 จังหวะทำงานอย่างไร.
ดูด (Intake) ลูกสูบเคลื่อนลงจากด้านบนลงล่างของกระบอกสูบ ดูดส่วนผสมของอากาศและน้ำมันเชื้อเพลิงเข้าสู่กระบอกสูบ วาล์วไอดีจะปิดเมื่อสิ้นสุดจังหวะดูด.
อัด (Compression) ... .
ระเบิด (Power) ... .
คาย (Exhaust) ... .
การบำรุงรักษาเครื่องยนต์ 4 จังหวะของคุณ.

เครื่องยนต์แก๊สโซลีน 4 จังหวะ ดูดอะไรในจังหวะดูด

หลักการทำงานของเครื่องยนต์แก๊สโซลีน 4 จังหวะ แบ่งเป็น 4 จังหวะคือ จังหวะดูด จังหวะอัด จังหวะระเบิด และจังหวะคาย การที่เครื่องยนต์ทำงานครบ 4 จังหวะ (เพลาข้อเหวี่ยงหมุน 2 รอบ) เป็นการทำงานครบ 1 รอบ เช่นเดียวกันกับหลักการทำงานของเครื่องยนต์ดีเซล 4 จังหวะ คือจะมี จังหวะดูด จังหวะอัด จังหวะระเบิด และจังหวะคาย เพียงแต่การจุด ...

เครื่องยนต์ชนิดใดมีลักษณะการทํางานคล้ายกับเครื่องยนต์แก๊สโซลีน

ในทางทฤษฏี เครื่องยนต์ดีเซล และเครื่องยนต์แก๊สโซลีนค่อนข้างคล้ายกัน กล่าวคือ ทั้งคู่เป็น เครื่องยนต์เผาไหม้ภายใน (Internal Combustion Engines: ICE)

เครื่องยนต์แก๊สโซลีน 4 จังหวะ มีอะไรบ้าง

เครื่องยนต์แก๊สโซลีน 4 จังหวะและเครื่องยนต์ดีเซล 4 จังหวะสำหรับเครื่องยนต์แก๊สโซลีน 4 จังหวะมีส่วนประกอบที่สำคัญดังนี้ 1. ลูกสูบ 2. กระบอกสูบ 3. วาล์วไอดีและวาล์วไอเสีย