หนังสือ รามเกียรติ์ ฉบับ สมบูรณ์ PDF

บทละครเรื่องรามเกียรติ์ เล่ม๑

ชื่อผู้แต่ง         พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก    

ชื่อเรื่อง             บทละครเรื่องรามเกียรติ์  เล่ม๑

ครั้งที่พิมพ์        พิมพ์ครั้งที่ 6

สถานที่พิมพ์       นครหลวง 

สำนักพิมพ์       สำนักพิมพ์แพร่พิทยา   

ปีที่พิมพ์            2515    

จำนวนหน้า       704   

หมายเหตุ               บทละครเรื่องรามเกียรติ์เล่ม๑ เป็นวรรณคดีที่รู้จักกันแพร่หลายต้นกำเนิดมาจากคัมภีร์รามายณะอันเป็นหนังสือสำคัญในลัทธิศาสนาฮินดู  ชาวฮินดูใช้สวดในพิธีทางศาสนาเช่นเดียวกับเทศมหาชาติของไทย

                รามเกียรติ์ภาษาไทยมีหลายสำนวนสำนวนนี้เป็นผลงานพระราชนิพนธ์ของ ร1   ประเภทบทละคร

(จำนวนผู้เข้าชม 7833 ครั้ง)

RAMAKIEN ANALYSIS:
วเิ คราะหเ์ ร่ืองไม่ลับ รามเกยี รติส์ าหรับครูไทย

การอา่ นคอื รากฐานท่สี าคัญ

คานา

บทละครเรื่อง รามเกียรต์ิ ฉบับรัชกาลที่ ๑ เป็นวรรณคดีท่ีสาคัญเร่ืองหน่ึงของไทย มีต้นกาเนิดจาก
มหากาพยร์ ามายณะของอนิ เดยี ซึง่ เป็นทร่ี จู้ ักอย่างกว้างขวางในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีเร่ืองราวบอก
เล่าอยู่หลายสานวน เม่ือเผยแพร่เข้าสู่ประเทศไทย กวีก็ร้อยเรียงเร่ืองราวจากหลายสานวน ดัดแปลงให้เข้ากับ
บริบทสังคมไทย ซ่ึงรามเกียรต์ิที่ได้รับยกย่องว่ามีเน้ือหาครบถ้วนสมบูรณ์ที่สุด คือ บทละครเร่ืองรามเกียรต์ิ
ฉบับรัชกาลที่ ๑ ท้ังยังเป็นฉบับที่มีคุณค่าด้านวรรณศิลป์และเป็นต้นแบบให้กับรามเกียรติ์สานวนอ่ืนๆ
ในสมยั ต่อมา

หนังสือ “R A M A K I E N A N A L Y S I S : วิเคราะห์เร่ืองไม่ลับ รามเกียรติ์สาหรับครูไทย”
จดั ทาขน้ึ เพอื่ ให้ผ้อู ่านไดศ้ ึกษาบทละครเรื่อง รามเกียรติ์ ฉบับรัชกาลท่ี ๑ ท่ีได้รับยกย่องให้เป็นรามเกียรต์ิ ฉบับ
ที่มีเนื้อหาสมบูรณ์ท่ีสุด เป็นบทพระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช แต่งด้วย
กลอนบทละคร มีความยาวถึง ๑๑๗ เล่มสมุดไทย ซึ่งผู้จดั ทาได้สรุปเนอ้ื หาให้ผู้อ่านได้ศึกษาหาความรู้ได้โดยง่าย
โดยจัดทาในรูปแบบ Infographic ที่มีสีสันสวยงาม เน้ือหากล่าวถึง ภูมิหลังที่มา คุณค่าด้านเน้ือหา คุณค่าด้าน
วรรณศิลป์ และคุณค่าด้านอื่นๆ ทั้งยังรวบรวมเอกสารงานวิจัยท่ีเกี่ยวข้องเพื่อแนะนาให้ผู้อ่านได้ไปศึกษา
เพิ่มเตมิ และคอลัมนถ์ ามมาตอบไป ซึง่ จะตอบขอ้ สงสยั เก่ียวกบั บทละครฉบับน้ี

ผู้จัดทาหวังเป็นอย่างยิ่งว่า ผู้อ่านจะได้รับความรู้และความสนุกเพลิดเพลินจากหนังสือเล่มนี้ เพื่อนาไป
ประยกุ ตใ์ ชใ้ นการเรียนวรรณคดีไทยตอ่ ไป หากมีข้อผิดพลาดประการใด ผูจ้ ัดทากข็ ออภยั มา ณ โอกาสนี้

คณะผู้จัดทา

สารบญั หนา้

เรอื่ ง ๔

ภูมิหลงั ที่มาของบทละครเรอ่ื ง รามเกียรต์ิ ฉบบั รชั กาลท่ี ๑ ๖
ผ้แู ต่งและประวตั ิผู้แตง่ ๗
ยุคสมัยที่แตง่ ๘
ความเป็นมาของบทละครเรอื่ ง รามเกียรติ์ ฉบับรชั กาลท่ี ๑ ๙
รามเกยี รตสิ์ านวนต่างๆ ในไทย ๑๑
รามเกยี รตก์ิ อ่ นกรุงรตั นโกสนิ ทร์ ๑๓
รามเกียรต์สิ มัยกรุงรัตนโกสนิ ทร์ ๑๘
เหตทุ ี่ทรงพระราชนิพนธ์
ลักษณะคาประพันธ์ ๒๖
เนือ้ เรอ่ื งย่อ

คุณคา่ ดา้ นเนอ้ื หา
เน้ือเรื่อง
ตอนที่ ๑ กาเนดิ ตัวละคร

สารบัญ (ตอ่ )

เรอื่ ง หน้า

ตอนที่ ๒ ศกึ กรงุ ลงกาครงั้ ท่ี ๑ ๒๗

ตอนท่ี ๓ ศกึ กรงุ ลงกาครง้ั ท่ี ๒ ๒๙

ตัวละครสาคญั ๓๓

พระราม : พระเอกผดู้ งี ามตามอดุ มคตไิ ทย ๓๖

นางสามนกั ขา : สตรีผ้จู ุดไฟสงครามเผาผลาญกรงุ ลงกา ๔๐

ทศกณั ฐ์ : ยักษ์อนั ธพาลผ้เู ห็นแกค่ วามถกู ใจมากกว่าความถกู ตอ้ ง ๔๑

พิเภก : หนง่ึ ยกั ษาในทพั วานร ผเู้ ห็นความถกู ต้องมาก่อนสายเลือด ๔๖

กลวธิ กี ารนาเสนอเน้ือหา

การดาเนนิ เรือ่ งโดยการผกู ปมปัญหาผ่านตวั ละครหญิง ๔๘

การดาเนนิ เรื่องการศึกในรามเกยี รติ์ ๕๓

พนิ ิจแนวคดิ สาคัญ

ความหลงของตัวละคร ๕๕

ความถกู ต้องสาคัญกวา่ สายเลือด ๕๘

สารบัญ (ตอ่ ) หน้า

เร่อื ง ๕๙
๖๓
เกยี รติของพระราม
การเพม่ิ เติมรายละเอยี ดของบทละคร ๖๘
คณุ คา่ ดา้ นวรรณศิลป์ ๖๘
การปรุงแตง่ เสียง ๖๙
๗๒
การเล่นเสยี งพยัญชนะ ๗๒
การเลน่ เสยี งสระ ๗๓
การเลน่ วรรณยุกต์ ๗๔
การเล่นจังหวะเสียง ๗๗
การปรุงแต่งคา ๗๙
การเลน่ คา ๗๙
การสรรคา
การปรุงแตง่ ความ
การใช้ภาพพจน์

สารบัญ (ตอ่ ) หน้า

เร่อื ง ๘๖
๙๐
การใช้โวหาร
การลาดบั ความ ๙๘
คุณค่าดา้ นอนื่ ๆ ๙๙
คุณค่าด้านความเชอื่ ทเี่ กย่ี วกับสงั คมไทย ๑๐๐
คณุ ค่าดา้ นวฒั นธรรม ประเพณี และศลิ ปะ ๑๐๑
คณุ ค่าดา้ นนาฏศลิ ป์ ๑๐๒
คุณค่าด้านจติ รกรรมและประตมิ ากรรม ๑๐๓
คณุ ค่าการสร้างสรรค์รามเกียรตใ์ิ นศลิ ปะรูปแบบใหม่ ๑๐๔
คุณคา่ ดา้ นวรรณคดี ๑๐๕
คณุ คา่ ดา้ นคตชิ น
คุณคา่ ด้านปัญญา ๑๐๙
ความสาคัญ
เปน็ สื่อสาคัญในการสร้างศรัทธาในสถาบนั พระมหากษตั รยิ ์

สารบญั (ต่อ)

เรอ่ื ง หนา้

เป็นวรรณคดที ชี่ ว่ ยปลูกฝังคุณธรรม ขอ้ คิด ค่านยิ มท่สี อดคลอ้ งกบั สังคมไทย ๑๑๐
เปน็ แบบอยา่ งทีด่ ขี องการแตง่ วรรณคดกี ารแสดง ๑๑๑
เป็นแนวทางในการแต่งคาประพนั ธ์ ๑๑๒
มคี วามดีเดน่ ดา้ นเนือ้ หา สามารถดึงดูดใจผูอ้ า่ น ๑๑๓
เปน็ วรรณคดแี ห่งชาตทิ ค่ี วรคา่ แก่การอนุรกั ษ์ ๑๑๔
รามเกียรตใิ์ นหนงั สอื เรียน ๑๑๕
ถามมาตอบไป ! ๑๑๙
นอ้ งหนอน Recommend ๑๒๗
ผู้จดั ทา

ผ้แู ต่งและประวตั ผิ ู้แตง่

ความเปน็ มาของบทละครเร่ืองรามเกยี รติ์

ร า ม เ กี ย ร ติ์ เ ร่ิ ม เ ข้ า สู่ ต่อมาจึงได้จดจารลง และวรรณคดี และผ่านชาติเพื่อนบ้าน
ประเทศไทยผ่านทาง เ ป็ น ว ร ร ณ ก ร ร ม ข อ ง ของอนิ เดยี เรอื่ ง เช่ น ช ว า ม ล า ยู โ ด ย
พ่อค้าชาวอินเดียเม่ือ ไทย ซึ่งการจดจารนี้ “รามายณะ” มีการเผยแพร่เข้ามาเป็น
ครงั้ เดินทางมาค้าขาย มิใช่เป็นการคัดลอก แต่ อันเปน็ วรรณคดี ระยะ ๆ ท้ังในรูปแบบของ
แลกเปลย่ี นสินคา้ เ ป็ น ก า ร ป ร ะ พั น ธ์ ขึ้ น ทสี่ าคญั และมมี านาน วรรณกรรมมุขปาฐะและ
ใ ห ม่ ต า ม ฉั น ท ลั ก ษ ณ์ กว่า ๒,๐๐๐ ปี วรรณกรรมลายลกั ษณ์
ร้องกรองไทย

แต่แรกคงมาในรูปแบบ ว ร ร ณ ค ดี เ รื่ อ ง เ ผ ย แ พ ร่ เ ข้ า สู่
ของการถ่ายทอดทาง รามเกยี รติ์ ประเทศไทยโดยมี
มุขปาฐะ คือ เป็นการเล่า มเี นื้อหามาจาก ที่ม า จ า ก อิ น เ ดี ย
“นทิ านพระราม” นทิ านพระราม โดยตรง

รามเกียรต์ิ
สานวนตา่ งๆ
ในไทย

รามเกียรติ์สมัยก่อนกรงุ รัตนโกสินทร์

๑. บทพากย์รามเกยี รต์ิคร้งั กรงุ เกา่ ขอ้ ความตอนสีดาหาย
ถึงกมุ ภกรรณ ล้มตดิ ตอ่ กนั นอกนนั้ มีความเป็นตอน ๆ ไมต่ ่อเนือ่ งกัน

๓. บทละครรามเกียรติ์ฉบบั พระราชนพิ นธส์ มเด็จ ๒. บทละครรามเกียรติ์

พระเจา้ กรุงธนบรุ ี มีตอนกาเนดิ พระมงกุฎ คร้งั กรุงเก่า ตอนพระราม
ตอนหนมุ านเกยี้ วนางวานริน จนถึงท้าวมาลวี ราชเสดจ็ ประชุมพลถึงองคตสอื่ สาร
ตอนท้าวมาลวี ราชวา่ ความจนถึงทศกัณฐเ์ ขา้ เมือง
ตอนทศกณั ฐ์ ตั้งพธิ ีทรายกรดปลกุ เสก
หอกกบิลพทั จนถึงหนมุ านผูกผมทศกัณฐ์
กบั นางมณโฑ

๔. นริ าศสดี าหรือราชาพลิ าปคาฉันท์

แตง่ ในสมยั อยุธยา

๕. สภุ าษิต เชน่

โคลงทศรถสอนพระราม
โคลงพาลสี อนนอ้ ง

รามเกียรตส์ิ มัยกรุงรตั นโกสนิ ทร์

๕ บทละครรามเกยี รติ์ พระราชนพิ นธ์พระบาทสมเด็จ
พระจอมเกล้าเจ้าอยหู่ วั ตอน พระรามเดินดง

๖. บทเบิกโรง พระราชนิพนธพ์ ระบาทสมเดจ็ พระจอมเกล้าเจา้ อย่หู ัว
ตอนนารายณ์ปราบนนทกและพระรามเข้าสวนพิราพ

๗. โคลงภาพเรอ่ื งรามเกยี รต์ิ จารกึ อยทู่ ี่เสาพระระเบียง
วดั พระศรีรตั นศาสดาราม

๘. เร่อื งรามเกยี รต์ิ พระราชนพิ นธ์พระบาทสมเดจ็
พระมงกุฎเกลา้ เจ้าอยูห่ วั

๙. บทคอนเสริ ์ตเรอื่ งรามเกียรติ์ พระนพิ นธ์สมเด็จ
พระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดตวิ งศ์
๑๐. บทการแสดงโขนเร่อื งรามเกียรติ์ ของกรมศลิ ปากร

เหตทุ ี่ทรงพระราชนิพนธ์

โดยบทประณามพจน์นนั้ ข้ึนต้นดว้ ยบทประณามพจน์
คอื “บทไหวค้ ร”ู ที่แตง่ ดว้ ยรา่ ยยาว

มักอยู่ตอนตน้ เปน็ ธรรมเนยี มนิยมอยา่ งหนง่ึ
กอ่ นดาเนนิ เน้อื เรอ่ื ง สาหรบั การแตง่ วรรณคดี
ประเภทรอ้ ยกรอง
และกลา่ วสรรเสรญิ พระบาทสมเดจ็
พระพทุ ธยอดฟา้ จฬุ าโลกมหาราช กลา่ วชมความงดงามยง่ิ ใหญ่
ของบา้ นเมอื ง

และตอนทา้ ยของรา่ ยกลา่ วถงึ
พระราชดาริในการประชุม
แตง่ เร่ือง “รามเกยี รติ์”

รา่ ยยาว จากบทละครเร่อื งรามเกยี รต์ิ

ตวั อย่างแผนผังฉนั ทลกั ษณ์
ของกลอนบทละคร

จบเรื่องด้วยโคลงกระท้แู ละโคลงส่สี ภุ าพ

เนือ้ เรื่องย่อ...



เน้อื เรื่องยอ่ ...

เน้อื เรื่องยอ่ ...

เน้อื เรื่องยอ่ ...

คณุ คา่ ด้านเน้อื หา

คณุ ค่าดา้ นเน้ือหา

คณุ ค่าดา้ นเน้ือหา

คณุ ค่าดา้ นเน้ือหา

คณุ ค่าดา้ นเน้ือหา

คณุ ค่าดา้ นเน้ือหา

คณุ ค่าดา้ นเน้ือหา

คณุ ค่าดา้ นเน้ือหา

“”