ศิลปะในการปั้น แกะสลัก หล่อรูปต่างๆ สร้างฉากหรืออุปกรณ์การแสดง” เป็นลักษณะงานวิจิตรศิลป์ในด้านใด

ความเข้าใจเกี่ยวกับศิลปะ
    ความหมายของศิลปะ คือการกำหนดเนื้อหาเรื่องราวของศิลปะ ว่ามีความเป็นจริงเกี่ยวกับเรื่องอะไรแต่เนื่องจากบุคคลย่อมมีความคิดที่แตกต่าง ออกไปตามประสบการณ์ กาลเวลา ความผูกพัน และสิ่งแวดล้อม

    ความหมายของศิลปะสามารถแยกได้ดังนี้
ความหมายในพจนานุกรม คือ ฝีมือทางการช่าง การแสดงออกมาให้ปรากฎขึ้นได้อย่างงดงาม น่าพึงชมและเกิดอารมณ์สะเทือนใจ
นิยามของศิลปะ ได้มีศิลปินมากมายหลายยุคสมัยใดให้คำนิยามไว้หลากหลายดังนี้ 
-    ศิลปะ คือ การเลียนแบบธรรมชาติ
-    ศิลปะ คือ สิ่งสะท้อนชีวิต สังคม และสภาพแวดล้อม
-    ศิลปะ คือ สื่อความหมายร่วมกันของมนุษยชาติ ดุจภาษาสากล
-    ศิลปะ คือ การแสดงออกเกี่ยวกับความเชื่อและศรัทธาของมนุษย์แต่ละกาลสมัย
                ความแตกต่าง ระหว่างงานช่างและวิทยาศาสตร์
                วิทยาศาสตร์ เป็นผลงานที่ได้จากการสังเกต ค้นคว้า ทดลองจากความเป็นจริงนำมาจัดอย่างมีระบบอย่างมีระเบียบแบบแผน สามารถนำไปใช้ให้เกิดกับมนุษย์ได้ในทุกสาขาอาชีพ

                งานช่าง เป็นผลงานที่มนุษย์สร้างขึ้นมาอย่างมีคุณค่าจำกัด มุ่งสนองความต้องการของมนุษย์ทางประโยชน์ใช้สอยในชีวิตของตนเองและสังคมเป็นสังคมเป็นสำคัญโดยมีการวางแผนงาน ออกแบบ กำหนดรูปแบบวัสดุ วิธีการ และลำดับขั้นตอน การดำเนินงานก่อนลงมือสร้าง
    คุณค่าของศิลปะ ผลงานศิลปะอาจมิใช่สิ่งที่ทำให้เกิดความตื่นเต้น ไม่ใช่สิ่งที่จำเป็นที่สุดของชีวิต แต่ศิลปะมีความสัมพันธ์อันลึกซึ่งกับชีวิตประจำวันของมนุษย์ มาตั้งแต่สมัยดึกดำบรรพ์ ไม่ว่าจะเป็นเครื่องใช้ไม้สอย หรือการให้ความบันเทิงใด ๆ ก็ตาม ศิลปินสามารถสร้างสรรค์งานศิลปะขึ้นมาได้ อย่างมีคุณค่าเสมอ
-    คุณค่าของศิลปะทางความรู้สึก คุณค่าทางการรับรู้ คุณค่าทางความงาม
-    คุณค่าทางอำนวยคุณประโยชน์ ด้านที่อยู่อาศัย ด้านการใช้สอย
-    คุณค่าของศิลปะในการช่วยสร้างความเจริญ ทางมนุษยธรรม ทางสังคม

ประโยชน์ของการเรียนวิชาศิลปะ
-    เป็นการพักผ่อนหย่อนใจทั้งร่างกายและจิตใจ
-    ปลูกฝังความประณีต ความละเอียดอ่อนและรสนิยมที่ดี
-    นำความรู้และประสบการณ์ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน
-    ส่งเสริมการค้นคว้าทดลองเพื่อให้เกิดความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
-    สร้างเสริมความเข้าใจและชื่นชมในศิลปะทั่วไป
-    สำรวจตนเองเพื่อเป็นแนวทางในการศึกษาต่อ
-    ส่งเสริมให้ผู้เรียนได้มีโอกาสแสดงออกทางศิลปะสาขาต่าง ๆ อย่างอิสระ
-    ปลูกฝังให้ผู้เรียนมีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม มีจิตสำนึกในคุณค่าของศิลปวัฒนธรรมไทย

ศิลปในชีวิตประจำวัน ทัศนศิลป์กับชีวิตประจำวัน
หมายถึง การนำเอาศิลปะแขนงจิตรกรรม ประติมากรรม สถาปัตยกรรมมาปรับใช้ หรือนำมาปฏิบัติให้เหมาะสมเกิดประโยชน์ในชีวิตประจำวันได้อย่างมีความสุขให้สังคมมนุษย์

ปัจจัยสำคัญ ในการดำรงชีวิตมนุษย์ คือ ปัจจัย 4 คือ การหาอาหารการที่อยู่อาศัย มียารักษาโรคยามเจ็บป่วย และมีเครื่องนุ่งห่ม นอกจากจะมีปัจจัย 4 สำหรับร่างกายแล้ว สิ่งที่มนุษย์ขาดเสียไม่ได้ คือ การนำเอาศิลปะเข้ามาเกี่ยวข้องในการดำรงชีวิตในรูปแบบต่าง ๆ โดยใช้ความคิดสร้างสรรค์และแสดงออกเพื่อใช้ปัจจัย 4 นั้น สมบูรณ์และมีความสุข 

ศิลปะประยุกต์
    เป็นผลงานทางศิลปะที่มนุษย์สร้างขึ้นเพื่อประโยชน์ใช้สอย เป็นหลักแต่ก็ยังมีความงามอยู่ด้วยส่วนหนึ่งโดยคำนึงถึงความต้องการและความนิยมของผู้บริโภคแต่ละสลัย
•    นิเทศศิลป์ เป็นศิลปะที่เกี่ยวกับสื่อความหมายเพื่อใช้ในกิจการค้า เป็นประการสำคัญเช่นงานเกี่ยวกับการโฆษณา การออกแบบฉากละครและโทรศัพท์งานเกี่ยวกับการพิมพ์หนังสือ ตลอดจน การออกแบบจัดห้างรานต่าง ๆ

ศิลปะในการปั้น แกะสลัก หล่อรูปต่างๆ สร้างฉากหรืออุปกรณ์การแสดง” เป็นลักษณะงานวิจิตรศิลป์ในด้านใด
     

•    หัตถศิลป์  เป็นประยุกต์ศิลป์อีกแขนงหนึ่ง หัตถศิลป์เป็นงานศิลปะ ที่สร้างด้วยมือไม่ได้ใช้เครื่องจักรเหมือนกับงานอุตสาหกรรมศิลป์ งานหัตถศิลป์เป็นงานเกี่ยวกับงานจักสาน งานเครื่องปั้นดินเผา งานแกะสลัก งานเครื่องหนังและงานถักทอ เป็นต้น

ศิลปะในการปั้น แกะสลัก หล่อรูปต่างๆ สร้างฉากหรืออุปกรณ์การแสดง” เป็นลักษณะงานวิจิตรศิลป์ในด้านใด
     

•    มัณฑนศิลป์  เป็นศิลปะที่เกี่ยวกับการออกแบบตกแต่งอาคารสถานที่ทั้งภายในและนอกอาคารให้สวยงามน่าใช้สอย การตกแต่งภายในได้แก่การตกแต่งห้องต่าง ๆ ของบ้าน อาคารทางราชการ อาคารพาณิชย์ ส่วนการตกแต่งภายในอก ได้แก่การจัดสวนและบริเวณของอาคารต่าง ๆ
ศิลปะในการปั้น แกะสลัก หล่อรูปต่างๆ สร้างฉากหรืออุปกรณ์การแสดง” เป็นลักษณะงานวิจิตรศิลป์ในด้านใด
 

•    ประณีตศิลป์  มุ่งหมายสร้างสรรค์ความงามให้เด่นในทางละเอียดประณีต บรรจงมากยิ่งกว่างานหัตถกรรมไม่คำนึงถึงความรู้สึกทางอารมณ์สะเทือนใจ มักจะแสดงออกซึ่งค่านิยมทางความงามของคนในชาติอีกด้วย ผลงานที่ปรากฎมักเป็นงานแสดงออกทางสังคม เชื้อชาติ และขนบประเพณีของมนุษยชาติ เพราะเป็นงานฝีมือที่ถ่ายทอดสืบต่อกันมา
ศิลปะในการปั้น แกะสลัก หล่อรูปต่างๆ สร้างฉากหรืออุปกรณ์การแสดง” เป็นลักษณะงานวิจิตรศิลป์ในด้านใด

 
•    อุตสาหกรรมศิลป์  เป็นศิลปะเกี่ยวกับการออกแบบผลิตภัณฑืต่าง ๆ ทางด้านอุตสาหกรรมเช่นผลิตภัณฑ์ที่ใช้ในครัวเรือน เครื่องมือ เครื่องใช้ไฟฟ้า เครื่องใช้ในสำนักงาน และเครื่องจักรกลต่าง ๆ ผลิตภัณฑ์ต่างๆ เหล่านี้ มุ่งในประโยชน์ใช้สอยเป็นอันดับแรก ความงามเป็นอันดับรอง
ศิลปะในการปั้น แกะสลัก หล่อรูปต่างๆ สร้างฉากหรืออุปกรณ์การแสดง” เป็นลักษณะงานวิจิตรศิลป์ในด้านใด
 

วิจิตรศิลป์
ประเภทงานวิจิตรศิลป์ โดยทั่วไปแล้วแบ่งได้ 5 สาขาด้วยกันคือ
1.    สาขาจิตรกรรม เป็นศิลปะที่เขียนบนแผ่นพื้นราบเป็นงาน 2 มิติ แสดงออกด้วยการใช้เส้น แสง สี และเงา ได้แก่
    ภาพเขียนภาพเส้น 
ศิลปะในการปั้น แกะสลัก หล่อรูปต่างๆ สร้างฉากหรืออุปกรณ์การแสดง” เป็นลักษณะงานวิจิตรศิลป์ในด้านใด
 
    การเขียนภาพระบายสี 
ศิลปะในการปั้น แกะสลัก หล่อรูปต่างๆ สร้างฉากหรืออุปกรณ์การแสดง” เป็นลักษณะงานวิจิตรศิลป์ในด้านใด
 
    งานศิลปะภาพพิมพ์
ศิลปะในการปั้น แกะสลัก หล่อรูปต่างๆ สร้างฉากหรืออุปกรณ์การแสดง” เป็นลักษณะงานวิจิตรศิลป์ในด้านใด
 

2.    สาขาประติมากรรม ได้แก่ งานศิลปะที่มี 3 มิติ แสดงออกด้วยการใช้วัสดุ รูปทรง และปริมาตร งานประติมากรรม ได้แก่งานปั้น งานแกะสลัก งานหล่อ 
    ประติมากรรม แบ่งออกเป็น 3 ลักษณะ คือ
2.1    ประติมากรรมร่องลึก เป็นประติมากรรมที่ขูดขีดเป็นร่องลึกลงไปในวัสดุ ต่าง ๆ 
2.2    ประติมากรรมนูน เป็นประติมากรรมที่นูนขึ้นมาจากพื้น มีทั้งประติมากรรมนูนต่ำ นูนกลาง นูนสูง
2.3    ประติมากรรมลอยตัว เป็นประติมากรรมที่ตั้งอยู่บนพื้นมองเห็นได้รอบด้าน
ศิลปะในการปั้น แกะสลัก หล่อรูปต่างๆ สร้างฉากหรืออุปกรณ์การแสดง” เป็นลักษณะงานวิจิตรศิลป์ในด้านใด
 

3.    สาขาสถาปัตยกรรม ได้แก่ สิ่งก่อสร้างต่าง ๆ ที่เห็นได้ทั่วไป เป็นงานศิลปะที่แสดงออกด้วยการใช้วัสดุ โครงสร้าง รูปทรง และปริมาตร ได้แก่งาน สิ่งก่อสร้าง สิ่งต่าง ๆ
3.1    อาคารทางศาสนา เช่น โบสถ์ วิหาร มัสยิด สถูป เจดีย์
3.2    อาคารทางรัฐพิธี เช่น โรงเรียน สถานที่ทางราชการต่าง ๆ
3.3    อาคารพาณิชย์ เช่น ห้าง ร้าน โรงแรม
3.4    อาคารที่พักอาศัย เช่น บ้านเรือน ตำหนัก

4.    สาขาวรรณกรรม หมายถึงทางการประพันธ์ต่าง ๆ เพื่อตอบสนองความสุขทางใจ และเป็นคติธรรม แบ่งเป็นประเภทได้ดังนี้
4.1    ประเภทร้อยแก้ว เป็นตอนเรียงธรรมดาไม่มีการสัมผัสคำ มีใจความสละสลวย
4.2    ประเภทร้อยกรอง เป็นคำประพันธ์ที่มีรูปแบบสัมผัสคำ ที่คล้องจองกัน ได้แก่ โคลง ฉันท์ กาพย์ กลอน เป็นต้น

5.    สาขาดุริยางค์และนาฏศิลป์ ได้แก่ ดนตรี ขับร้อง 
5.1    นาฎศิลป์ และการแสดง หมายถึง ศิลปะที่แสดงออกในลีลาท่าทาง การร่ายรำการแสดงออกทางเสียง มีท่วงทำนองสูง ต่ำ เพื่อให้เกิดความสุข มีอารมณ์คล้อยตาม
5.2    ศิลปะประเภทนาฎศิลป์ มักเรียกรวม ๆ กันว่า ระบำ รำ เต้น 
5.3    ศิลปะประเภทดุริยางค์ ได้แก่ การขับร้องและการบรรเลง