โครงงานภาษาไทย เรื่อง คํา ราชาศัพท์

ตัวอย่างการทำโครงงาน

วัตถุประสงค์
1. เพื่อให้นักเรียนสามารรถทำโครงงานวิชาภาษาไทยได้

ตัวอย่างการทำโครงงานวิชาภาษาไทย

โครงงานภาษาไทยเรื่องคำพังเพย
http://www.oknation.net/blog/suppapong/2009/09/15/entry-2

โครงงานภาษาไทยเรื่องคำราชาศัพท์
http://www.oknation.net/blog/suppapong/2009/09/15/entry-1

โครงงานภาษาไทนเรื่องนิทาน
http://www.slideshare.net/lllRawinniphalll/ss-11250526

โครงงานภาษาไทย เรื่อง สังข์ทอง
http://www.trueplookpanya.com/true/knowledge_detail.php?mul_content_id=18412

4 responses to “ตัวอย่างการทำโครงงาน”

  1. สิงหา วัฒนเสาวลักษณ์

    กรกฎาคม 18, 2013 at 9:05 pm

    ดีมาก เนื้อหาสาระยอดเยี่ยม

    ตอบกลับ

  2. โครงงานภาษาไทนเรื่องนิทาน

    ธันวาคม 8, 2013 at 8:49 pm

    ดีมากๆเลยค่ะ

    ตอบกลับ

    • ruangrat

      ธันวาคม 29, 2013 at 5:27 pm

      ขอบคุณค่ะ

      ตอบกลับ

  3. neko5613

    กันยายน 19, 2014 at 5:45 pm

    โคตรดีเรยอ่า ครูนิพนธ์สั่งเยอะฮุๆ

    ตอบกลับ

ใส่ความเห็น

Enter your comment here...

Fill in your details below or click an icon to log in:

อีเมล (ต้องการ) (Address never made public)

ชื่อ (ต้องการ)

เว็บไซต์

You are commenting using your WordPress.com account. ( Log Out /  เปลี่ยนแปลง )

You are commenting using your Twitter account. ( Log Out /  เปลี่ยนแปลง )

You are commenting using your Facebook account. ( Log Out /  เปลี่ยนแปลง )

ยกเลิก

Connecting to %s

Notify me of new comments via email.

Notify me of new posts via email.

Δ

บทที่๔

ผลการศึกษา

            ความหมายของคำราชาศัพท์

            ๑)  คำ “ราชาศัพท์” นี้พระยาอุปกิตศิลปสาร ได้อธิบายไว้ในหนังสือวจีวิภาคของท่านว่า หมายถึง ศัพท์สำหรับพระราชาหรือศัพท์หลวง แต่ปัจจุบัน หมายถึง ระเบียบการใช้ถ้อยคำให้ถูกต้องตามฐานะของบุคคลได้แก่บุคคลที่เคารพตั้งแต่พระราชา  พระราชวงศ์  พระภิกษุ  ข้าราชการ รวมถึงคำที่ใช้กับสุภาพชนทั่วไป 

            )  คำราชาศัพท์ ตามตำราหลักภาษาไทย หมายถึง ศัพท์หรือถ้อยคำเฉพาะ บุคคลทั่วไป ซึ่งใช้กับบุคคล ๕ ระดับ คือ พระเจ้าแผ่นดิน พระราชวงศ์ พระภิกษุ ข้าราชการ และสุภาพชน

            คำราชาศัพท์ในความหมายอย่างกว้าง หมายถึง ถ้อยคำสุภาพถูกแบบแผน สำหรับใช้กับบุคคลและสรรพสิ่งทั้งปวง

 ที่มาของคำราชาศัพท์

)  มาจากการเทิดทูนพระเกียรติของพระมหากษัตริย์ในฐานะที่ทรงเป็นประมุขของชาติ

)  มาจากคำไทยดั้งเดิม เช่น พระปาง เส้นพระเจ้า พระเจ้าพี่ยาเธอ  เป็นต้น                                                                                                                               )  มาจากคำไทยที่รับมาจากภาษาอื่น อันได้แก่ ภาษาบาลี ภาษาสันสกฤต และ  ภาษาเขมร เช่น พระบิดา  พระปิตุฉา  พระเนตร  พระหัตถ์ เป็นต้น

ความสำคัญของคำราชาศัพท์

            เพื่อให้เราใช้ถ้อยคำในการพูดจาได้ไพเราะ ถูกต้องตามกาลเทศะและฐานะแห่งบุคคล เพราะราชาศัพท์มิได้หมายถึงคำพูดที่เกี่ยวกับพระราชาเท่านั้น

)  ราชาศัพท์ เป็นส่วนหนึ่งของวัฒนธรรมของชาติ การใช้ราชาศัพท์ที่ถูกต้องเป็นการแสดงความประณีต นุ่มนวล น่าฟังของภาษาอย่างหนึ่ง ตลอดจนเป็นการส่งเสริมวัฒนธรรมและขนบธรรมเนียมประเพณีที่ดีงามของเรา

            )  การเรียนรู้ราชาศัพท์ย่อมทำให้เราเข้าถึงรสของวรรณคดี เพราะในวรรณคดีมีราชาศัพท์ปนอยู่มาก จึงจำเป็นต้องเรียนรู้ราชาศัพท์เพื่อช่วยให้เกิดความซาบซึ้งในรสคำประพันธ์นั้นๆ

            )  การเรียนรู้ราชาศัพท์ช่วยส่งเสริมบุคลิกภาพให้กับตนเอง ทำให้เข้าวงสมาคมได้โดยไม่เคอะเขิน ไม่เป็นที่เย้ยหยันของบุคคลที่พบเห็น การติดต่อกับบุคคลทั่วไปทั้งในวงสมาคมและ 

วงราชการ หากไม่รู้จักใช้คำสุภาพตามฐานะแล้ว ย่อมได้รับการดูหมิ่นว่าไร้การศึกษา