ยกตัวอย่างระบบปฏิบัติการมาตรฐานปิด

ยกตัวอย่างระบบปฏิบัติการมาตรฐานปิด

บทความนี้อาจต้องเขียนใหม่ทั้งหมดเพื่อให้เป็นไปตามมาตรฐานคุณภาพของวิกิพีเดีย หรือกำลังดำเนินการอยู่ คุณช่วยเราได้ หน้าอภิปรายอาจมีข้อเสนอแนะ

ระบบปฏิบัติการ (operating system) หรือ โอเอส (OS) เป็นระบบซอฟต์แวร์ที่ทำหน้าที่จัดการอุปกรณ์คอมพิวเตอร์และแหล่งซอฟต์แวร์และบริการโปรแกรมคอมพิวเตอร์

ระบบปฏิบัติการมีหน้าที่หลัก ๆ คือ การจัดสรรทรัพยากรในเครื่องคอมพิวเตอร์ เพื่อให้บริการซอฟต์แวร์ประยุกต์ ในเรื่องการรับส่งและจัดเก็บข้อมูลกับฮาร์ดแวร์ เช่น การส่งข้อมูลภาพไปแสดงผลที่จอภาพ การส่งข้อมูลไปเก็บหรืออ่านจากฮาร์ดดิสก์ การรับส่งข้อมูลในระบบเครือข่าย การส่งสัญญานเสียงไปออกลำโพง หรือจัดสรรพื้นที่ในหน่วยความจำ ตามที่ซอฟต์แวร์ประยุกต์ร้องขอ รวมทั้งทำหน้าที่จัดสรรเวลาการใช้หน่วยประมวลผลกลาง ในกรณีที่อนุญาตให้ซอฟต์แวร์ประยุกต์หลาย ๆ ตัวทำงานพร้อม ๆ กัน

ระบบปฏิบัติการ ช่วยให้ตัวซอฟต์แวร์ประยุกต์ ไม่ต้องจัดการเรื่องเหล่านั้นด้วยตนเอง เพียงแค่เรียกใช้บริการจากระบบปฏิบัติการก็พอ ทำให้พัฒนาซอฟต์แวร์ประยุกต์ได้ง่ายขึ้น

ระบบปฏิบัติการที่เป็นที่นิยมในคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลทุกวันนี้ ได้แก่ ไมโครซอฟท์ วินโดวส์ แมคโอเอส และลินุกซ์ นอกจากนี้ ยังมีระบบปฏิบัติการตระกูลยูนิกซ์ ซึ่งได้รับความนิยมในเครื่องเซิร์ฟเวอร์ที่ใช้กันในหน่วยงาน ระบบปฏิบัติการตระกูลยูนิกซ์ที่เป็นที่รู้จักกันดี ได้แก่ ยูนิกซ์ตระกูลบีเอสดี เอไอเอกซ์ และโซลาริส และรวมถึงลินุกซ์ซึ่งพัฒนาโดยอาศัยหลักการเดียวกันกับยูนิกซ์ ระบบปฏิบัติการบางตัว ถูกออกแบบมาสำหรับการเรียนการสอนวิชาระบบปฏิบัติการโดยเฉพาะ เช่น มินิกซ์ ซินู หรือ พินโทส

ในอุปกรณ์อื่น ๆ ที่ควบคุมด้วยระบบคอมพิวเตอร์ ก็อาจมีระบบปฏิบัติการเช่นกัน เช่น ไอโอเอส แอนดรอยด์ หรือ ซิมเบียน ในโทรศัพท์มือถือ หรือระบบปฏิบัติการ TRON ในเครื่องใช้ไฟฟ้าตามบ้าน

อ้างอิง

  • Deitel, Harvey M.; Deitel, Paul; Choffnes, David. Operating Systems. Pearson/Prentice Hall. ISBN 978-0-13-092641-8.

ดูเพิ่ม

  • ระบบปฏิบัติการแบบเวลาจริง

แหล่งข้อมูลอื่น

  • ความสำคัญของระบบปฏิบัติการ
  • จำนวนผู้ใช้ระบบปฏิบัติการคอมพิวเตอร์รุ่นต่างๆ
  • จำนวนผู้ใช้ระบบปฏิบัติการบนแทปเล็ตรุ่นต่างๆ
ยกตัวอย่างระบบปฏิบัติการมาตรฐานปิด
บทความเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์ต่าง ๆ หรือเครือข่ายนี้ยังเป็นโครง คุณสามารถช่วยวิกิพีเดียได้โดยการเพิ่มเติมข้อมูล
ดูเพิ่มที่ สถานีย่อย:เทคโนโลยีสารสนเทศ

หน่วยท่ี 3 การเลอื กใช้และการติดตงั้ ระบบปฏิบัติการมาตรฐานปดิ และมาตรฐานเปดิ 2

หน่วยท่ี 3
การเลือกใช้และการตดิ ตงั้ ระบบปฏบิ ตั กิ ารมาตรฐานปดิ และมาตรฐานเป็น

หัวข้อเรือ่ ง (Topics)
3.1 การเลือกใช้ระบบปฏิบตั ิการมาตรฐานปิด
3.2 การเลือกใช้ระบบปฏิบัติการมาตรฐานเปดิ
3.3 การตดิ ต้ังโปรแกรมระบบปฏิบัตกิ ารมาตรฐานปิด
3.4 การติดตั้งโปรแกรมระบบปฏิบตั กิ ารมาตรฐานเปดิ

แนวคดิ สําคัญ (Main Idea)
โปรแกรมระบบปฏิบัติการเปน็ ส่ือกลางระหวา่ งผู้ใช้กับฮาร์ดแวรเ์ พ่ือให้การทํางานตามคําสั่งที่ได้

ออกแบบไว้ ตลอดจนควบคุมการทํางานของอุปกรณ์ให้เปน็ ไปอย่างเต็มประสิทธิภาพของอุปกรณ์แต่ละ
ชนิด เพอ่ื ให้ได้ผลลัพธ์ตามตอ้ งการ

สมรรถนะยอ่ ย (Element of Competency)
แสดงความร้เู ก่ียวกับหลักการพ้ืนฐานของระบบคอมพิวเตอรแ์ ละระบบปฏบิ ัติการ

จุดประสงคเ์ ชิงพฤตกิ รรม (Behavioral Objectives)
1. เลอื กใช้และติดต้งั ระบบปฏิบัติปดิ ได้
2. เลอื กใชแ้ ละตดิ ตั้งระบบปฏบิ ัตเิ ปิดได้

วชิ าระบบปฏบิ ตั ิการเบอ้ื งตน้ รหสั วิชา 20204-2001

หน่วยที่ 3 การเลือกใช้และการตดิ ตัง้ ระบบปฏบิ ัตกิ ารมาตรฐานปิดและมาตรฐานเปิด 3

เน้ือหาสาระ (Content)

3.1 การเลอื กใชร้ ะบบปฏบิ ัติการมาตรฐานเปิด
การเลือกใช้ระบบปฏิบัตกิ ารขึ้นอยู่กบั คุณสมบัติของเครื่องแต่ละเครื่อง เช่น การใช้เครื่อง

คอมพิวเตอร์พีซี โน้ตบุ๊ก หรืออุปกรณ์พกพา ดังนั้นผู้ปฏิบัติการงานทางด้านเครื่องคอมพิวเตอร์ควร
ตรวจสอบคุณสมบัติของเครื่องคอมพิวเตอร์หรืออุปกรณ์พกพาควรใช้ระบบปฏิบัติการใดตามคุณสมบัติ
ดังตอ่ ไปน้ี

3.1.1 การเลือกใชร้ ะบบปฏบิ ัติการ Windows
Microsoft Windows 10 เพื่อความเหมาะสมกับรูปแบบการใช้งานขอ งผู้ใช้

คอมพิวเตอร์ท่ีจะ ใช้งานระบบปฏบิ ัตกิ าร Windows ไดเ้ ตม็ ประสทิ ธิภาพมากขน้ึ Windows 10 มี 7 รุ่น
แบ่งเป็นเวอร์ชันสาํ หรบั เคร่ืองคอมพิวเตอร์พซี ี 4 รนุ่ เวอรช์ ันมอื ถอื 2 ร่นุ และออกแบบสาํ หรับอปุ กรณ์

1. Windows 10 Home เป็นรุ่นที่เหมาะสําหรับผู้ใช้คอมพิวเตอร์ทั่วไป เพื่อใช้
ส่วนตัวและ สําหรับครอบครัวภายในบ้าน ใช้ได้กับคอมพิวเตอร์ทั่วไป โน้ตบุ๊ก แบบ 2 in 1 แท็บเล็ต ซึ่ง
เครื่องคอมพิวเตอร์ ส่วนใหญ่ที่ใช้ Windows 7 Home Edition และ Windows 8.1 สามารถอัพเกรด
เปน็ Windows 10 Home ไดฟ้ รี

รูปท่ี 3.1 Windows 10 Home
(ทม่ี า : https://eaksamwa.com/how-to-upgrade-windows-10-home-to-windows-10-pro/)

วิชาระบบปฏบิ ตั กิ ารเบือ้ งต้น รหสั วิชา 20204-2001

หนว่ ยท่ี 3 การเลอื กใชแ้ ละการติดตั้งระบบปฏิบัตกิ ารมาตรฐานปดิ และมาตรฐานเปดิ 4

2. Windows 10 Mobile เป็นระบบปฏิบัติการที่ออกแบบสําหรับโทรศัพท์มือถือ
รองรบั การ ทาํ งาน Universal Windows เหมอื นกบั Windows 10 บนคอมพิวเตอร์ มโี ปรแกรมประยุกต์
Office บนมือ ถือโดยเฉพาะ ซึ่งหน้าตาจะออกแบบเข้ากับขนาดหนา้ จอมอื ถือ และมีอุปกรณ์ใหม่บางตวั
สามารถใช้ Continuum for phone ในการใช้งานสมาร์ทโฟนเป็นพีซีเม่ือต่อกบั จอใหญไ่ ด้ และชอ่ื นี้กเ็ ปน็
ชอื่ ทางการท่ี จะใช้แทนช่ือเก่าอยา่ ง Windows Phone

รปู ท่ี 3.2 Windows 10 Mobile
(ทีม่ า : https://droidsans.com/what-change-in-windows-10-mobile-first-2017-update/)

3. Windows 10 Pro สําหรับคอมพิวเตอร์ทั่วไป โน้ตบุ๊ก โน้ตบุ๊กแบบ 2 in 1
เหมือนกับรุน่ Home แต่บวกฟังก์ชันสําหรับการทํางานเรือ่ งธรุ กิจ มีระบบรักษาความปลอดภัยเกี่ยวกับ
การปกป้องข้อมูล สําคัญทางธรุ กิจ และการทาํ งานแบบ Remote Desktop แบบเคลื่อนท่ี และการใช้งาน
ด้านเทคโนโลยี Cloud ด้วย เป็นระบบปฏิบตั ิการที่รองรบั การใชง้ านแบบ Choose Your Own Device
(CYOD) และผู้ใช้กลุ่มผู้ใช้ คอมพิวเตอร์ระดับ Pro ในองค์กร Windows 10 มีสนับสนุนการอัพเดตผ่าน
ทาง Windows Update fer Business ให้ดูทันสมัยและปลอดภัยอยู่เสมอ สําหรับพวกบริษัทองค์กร
ขนาดเลก็ โดยเฉพาะ

4. Windows 10 Enterprise เป็นระบบปฏบิ ัติการขั้นสูง สําหรับบรษิ ัทและองค์กร
ขนาด กลางถึงขนาดใหญ่ โดยสร้างต่อยอดจากคุณสมบัติทั้งหมดใน Windows 10 Pro เพื่อเพิ่มความ
ปลอดภัย กับอุปกรณ์ ข้อมูลสําคัญของบริษัท ข้อมูลส่วนบุคคล ซึ่งต้องปกป้องจากภัยคุกคามที่มีความ
รนุ แรงบนโลก ออนไลน์มากข้ึน

5. Windows 10 Education เป็นระบบปฏิบัติการ Windows สําหรับใช้งานใน
ด้านการศึกษา ซึ่งพัฒนาต่อยอดจาก Windows 10 Enterprise โดยออกแบบสําหรับบุคลากรด้าน
การศึกษาเช่น เจ้าหน้าที่ ผู้บริหาร ครู และนักเรียน ในสถานศึกษาต่าง ๆ โดยจะมีให้ลูกค้าผ่านทาง VL

วชิ าระบบปฏิบตั ิการเบอื้ งตน้ รหัสวิชา 20204-2001

หนว่ ยท่ี 3 การเลือกใชแ้ ละการติดตง้ั ระบบปฏิบัตกิ ารมาตรฐานปิดและมาตรฐานเปิด 5

สาํ หรับสถานศึกษา ส่วนผ้ใู ช้ ภายใต้ Windows 10 Home และ Windows 10 Pro จะไดร้ ับ Windows
10 Education ไดฟ้ รีทางเว็บไซต์ VLSC

6. Windows 10 Mobile Enterprise เป็นระบบปฏิบัติการที่ออกแบบสําหรับผ้ใู ช้
สมารท์ โฟน ผูใ้ ชส้ มารท์ โฟนและแท็บเล็ต สําหรบั ธุรกิจหรือองค์กร เน้นเร่ืองความปลอดภยั สูง การจัดการ
ข้อมูลส่วนตัว กบั ขอ้ มูลบริษทั โดย Windows 10 Mobile Enterprise จะมใี ห้ลกู ค้าผา่ นทาง VL

7. Windows 10 IoT Core สาํ หรับอุปกรณร์ าคาประหยัด เช่น gateways เป็นต้น
นอกจาก Windows 10 มี 7 รุ่น แล้วมี Windows 10, Windows 10 Enterprise และ Windows 10
Mobile Enterprise แบบพเิ ศษ ทีอ่ อกแบบสําหรับใชเ้ ป็นงานด้าน ATM หรือ POS ด้วย ซง่ึ ธนาคารใดท่ี
ใช้เครื่อง ATM ที่เป็น Windows xp ซึ่งพบเป็นส่วนใหญ่และเก่ามากแล้วทันทีที่รุ่นนี้ออกมา สามารถ
ทํางานเป็น ATM แทนรุน่ เก่า และได้รับความปลอดภยั มากขนึ้

การเลอื กใช้ Windows ตามการใช้งานของผใู้ ช้
1. สําหรับผู้ใช้คอมพิวเตอร์ส่วนบุคล สามารถเลือกได้ระหว่าง Windows 10

Home เพื่อ ความบันเทิง และใช้งานส่วนตวั ส่วนกรณีทาํ ธุรกิจ หรือบริษทั ขนาดเลก็ ต้องการด้านความ
ปลอดภัยระดบั หนึง่ ดว้ ยควรเลอื ก Windows 10 Pro

2. ส่วนผู้ที่จะซื้อมือถือระบบปฏิบัติการ Windows ควรเลือกได้ตัวเดียวคือ
Windows 10 Mobile และสําหรับผู้ใช้มือถือ Windows Phone ถ้ารองรับ Windows 10 Mobile
สามารถอัพเกรดเป็น Windows 10 Mobile ได้ฟรี

3. ส่วนกรณีบริษัทหรือองค์กร ขึ้นอยู่กับการตัดสินใจของผู้บริหารว่า จะลงทุน
เปลี่ยนแปลง มาใช้ Windows 10 Pro, Windows 10 Enterprise, Mobile Enterprise และใช้โซลูชั่น
Windows 10 Mobile Enterprise เพื่อให้พนักงานใช้มือถือของบริษัทเพื่อการทํางานที่มีประสิทธิภาพ
พร้อมความปลอดภยั หรือไม่

4. บุคลากรด้านการศึกษา ที่จะใช้ Windows 10 Education นี้ ขึ้นอยู่กับการ
ตัดสินใจของ ผู้บริหารในสถาบันที่จะยอมรับและตกลงเงื่อนไขกัน ระหว่าง สถาบันการศึกษากับ
Microsoft หรือไม่ ถ้าได้ ทั้งผู้บริหาร เจ้าหน้าที่ ครู และนักเรียน นักศึกษาได้ควรใช้ระบบปฏิบัติการ
Windows 10 Education บน คอมพวิ เตอรท์ ต่ี ั้งอยู่ภายในหอ้ งเรยี น หอ้ งทาํ งาน ของสถาบันการศกึ ษา

วชิ าระบบปฏบิ ัติการเบอ้ื งต้น รหสั วิชา 20204-2001

หน่วยที่ 3 การเลือกใช้และการตดิ ต้งั ระบบปฏิบัติการมาตรฐานปดิ และมาตรฐานเปดิ 6

3.1.2 การเลือกใชร้ ะบบปฏบิ ตั กิ าร iOS
iOS ถือได้ว่าเป็นระบบปฏิบัติการบนสมาร์ทโฟนและแท็บเล็ตที่ได้รับความนิยมอย่าง

มาก จากผู้บริโภคทั่วโลกในปัจจุบันและเป็นคู่แข่งสําคัญในตลาดสมาร์ทโฟนและแท็บเล็ตของ
ระบบปฏิบัตกิ าร Android OS อีกด้วย iOS เดิมชื่อ ไอโฟน OS เป็นระบบปฏิบัตกิ ารบนอุปกรณ์พกพาที่
ถกู พัฒนาขึ้นมาโดย บรษิ ทั Apple Inc. (Apple Computer Inc.)

รูปที่ 3.3 IOS
ระบบปฏิบตั กิ าร ไอโฟน ไอแพด และไอพอดทชั มีพนื้ ฐานมาจาก iOS 8 ท่ปี ระกอบด้วย
อินเทอร์เฟซที่ใช้งานง่าย มีคุณสมบัติรวมทั้งระบบความปลอดภัยซึ่งเป็นสิ่งสําคัญที่สุด นอกจากน้ี
ออกแบบ ได้อยา่ งสวยงามและทาํ งานไดอ้ ยา่ งราบร่ืน การทาํ งานเรยี บง่าย และเนอื่ งจาก iOS 8 ได้รบั การ
สรา้ งข้นึ เพ่อื นาเทคโนโลยีสดุ ลํ้าท่อี ยู่ในฮาร์ดแวรข์ อง Apple มาใช้ประโยชน์ไดอ้ ยา่ งเตม็ ที่ อุปกรณ์จึงลํ้า
หนา้ ไปไกลกวา่ ค่แู ขง่ อื่นเสมอ ดงั รายละเอียดต่อไปน้ี
1. อินเทอร์เฟซสวยงาม ใช้งานง่ายไม่ยุ่งยาก สามารถใช้งาน ไอโฟน ไอแพด หรือไอ
พอดทัช ได้คลอ่ งเกือบทันที น่ันเป็นเพราะว่า iOS ได้รับการออกแบบมาให้เข้าใจง่าย เริ่มตั้งแต่หน้าจอท่ี
เรียบงา่ ย
2. คุณสมบัติและโปรแกรมประยุกต์ที่มาพร้อมเครื่องที่จะให้อุปกรณ์สามารถทาํ งานได้
มาก ข้นึ iOS และมีคณุ สมบัตริ วมถงึ โปรแกรมประยุกต์ท่มี าพร้อมเคร่อื งซงึ่ ได้พัฒนายง่ิ กวา่ เดิม ต่างทําให้
ไอโฟน ไอแพด และไอพอดทัช เปีย่ มด้วยประสทิ ธิภาพ
3. รูปภาพทุกรูปที่ถ่ายพร้อมให้ปรับแต่งและแชร์ได้โดยตรงจากอุปกรณ์ IOS และ
สามารถ คน้ หารูปโดยดูจากเวลา สถานที่ และอัลบม้ั หรือเลือกดูจาก “ชดุ รวม” และ “ช่ัวขณะ" ซ่งึ ทาํ การ
จัดกลมุ่ รูปถ่ายและวิดีโอของอย่างชาญฉลาดตามเวลาและสถานท่ี

วิชาระบบปฏิบัติการเบือ้ งตน้ รหัสวิชา 20204-2001

หน่วยท่ี 3 การเลอื กใช้และการตดิ ต้ังระบบปฏบิ ัติการมาตรฐานปดิ และมาตรฐานเปดิ 7

4. ฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ที่สร้างมาเพื่อกันและกัน เพราะ Apple ผลิตทั้งฮาร์ดแวร์
และระบบ ปฏิบัติการสําหรับ ไอแพด ไอโฟน และไอพอดทัช ทุกสิ่งจึงถูกออกแบบมาให้ทํางานร่วมกัน
โปรแกรม ๑๑ะยกต์ต่างๆจึงใช้ประโยชนจ์ ากคุณสมบัตขิ องฮาร์ดแวร์ได้อยา่ งสงู สุด เช่น โปรเซสเซอร์แบบ
Dual-core

5. iCloud ทุกส่งิ ท่ตี อ้ งการ ในทกุ ท่ีทีต่ ้องการ iCloud ให้ม่ันใจไดว้ ่าสิง่ สาํ คญั ท่ีสุดของใน
อุปกรณ์ทุกเครอ่ื ง จะอยูใ่ นเวอรช์ ั่นลา่ สดุ เสมอ ไม่ว่าจะเปน็ เอกสาร โปรแกรมประยุกต์ รายชื่อ กจิ กรรมใน
ปฏิทิน และอื่น ๆ อกี มากมาย iCloud Drive ใหเ้ ขา้ ถึงทกุ ไฟล์ของได้จากอุปกรณ์ทุกเครื่อง และด้วย คณ
สมบัตกิ ารแชรก์ นั ในครอบครัว สามารถแชรร์ ูปภาพ วดิ โี อ เพลง และทุกส่ิงทีซ่ ้อื บน iTunes

6. อัพเดทได้ง่าย สามารถอัพเดท iOS ได้ฟรี และดาวน์โหลดผ่านระบบไร้สายมาท่ี
ไอโฟน ไอแพด หรือไอพอดทัช ไดใ้ นทนั ทีทเี่ วอรช์ ่ันใหมไ่ ดผ้ ลิตและจําหนา่ ยทําใหม้ ีคุณสมบัติอันท่ีดีพร้อม
การ\อัพเดททกุ ครั้ง

7. การรักษาความปลอดภัย คือหนึ่งในคุณสมบัติมาตรฐาน IOS มีระบบรักษาความ
ปลอดภยั ในตัวต้ังเร่ิมเปิดใช้เครื่อง ซึ่งเพราะว่า ฮารด์ แวร์ เฟริ ม์ แวร์ และระบบปฏบิ ัตกิ ารนั้นมาพร้อมกับ
คุณสมบัติ ต่าง ๆ ในตวั ซ่ึงออกแบบมาเพ่อื ช่วยปกป้องอุปกรณ์และส่งิ ที่เก็บไวภ้ ายในเครื่องให้ปลอดภัยมี
ความเปน็ ส่วนตวั

8. iOS ได้รับการออกแบบโดยคํานึงถึงความเป็นส่วนตัวเป็นอันดับแรก ดังนั้นหาก
โปรแกรม ประยุกต์ต้องการข้อมูลตําแหน่ง หรือข้อมูลจากปฏิทิน รายชื่อ เตือนความจํา หรือรูปภาพ
ระบบจะขอ อนุญาตจากผ้ใู ช้ก่อน ซึ่งผูใ้ ชม้ ีสิทธเ์ิ ตม็ ท่ใี นการควบคมุ วธิ กี ารที่โปรแกรมประยกุ ตส์ ขุ ภาพและ
HealthKit จะใช้ขอ้ มลู ส่วนการสนทนาใน iMessage และ FaceTime ตอ้ งเขา้ รหัสด้วยเช่นกัน

9. ค้นหาไอโฟนกับคุณสมบัติล็อกการเข้าใช้งานไอโฟนเช่นเดียวกับไอแพดและไอ
พอดทัช เนือ่ งจากคณุ สมบัติความปลอดภัยใน iOS ถ้าต้องการปดิ โปรแกรมประยกุ ต์ค้นหาไอโฟน หรือจะ
สัง่ ลา้ ง ข้อมูลในเคร่ืองจาํ เปน็ ต้องใช้ Apple ID และรหสั ผา่ นดว้ ย

10. iOS รองรับหลายภาษา ไอโฟน ไอแพด และไอพอดทัช รองรับฟังก์ชันแป้นพิมพ์
และ พจนานุกรมสําหรับหลายภาษา รวมถึงภาษาท้องถิ่นด้วยเปลี่ยนภาษาได้เร็วทันใจ iOS ช่วยให้
สามารถ เลือกได้จาก 35 ภาษาที่มีให้ ซึ่งการเปลี่ยนได้ง่ายและเนื่องจากแปน้ พิมพ์นั้นจะปรับเปลีย่ นไป
ตาม ซอฟต์แวร์ จึงสามารถเลอื กรปู แบบแป้นพิมพไ์ ด้ถึง 55 แบบ รวมถึงเคร่ืองหมายแสดงการออกเสียง
เหนือ ตัวอักษร และตัวเลือกลักษณะตัวอักษรตามบริบทสําหรับภาษาญี่ปุ่น ในส่วนของ Voiceover

วชิ าระบบปฏบิ ัตกิ ารเบือ้ งต้น รหัสวิชา 20204-2001

หน่วยที่ 3 การเลอื กใช้และการติดตงั้ ระบบปฏบิ ัตกิ ารมาตรฐานปิดและมาตรฐานเปิด 8

สามารถอ่าน ออกเสียงหน้าจอไดก้ ว่า 35 ภาษา และมี Voice Control หรือการสง่ั การดว้ ยเสียง ที่เข้าใจ
ไดก้ ว่า 20 ภาษา

คณุ สมบัตขิ องระบบปฏิบัติการ iOS
หนา้ จอหลัก (Home screen) เปน็ ส่วนแสดงข้อมูลทป่ี ระกอบด้วย Application ที่

มีเครอื่ ง ซงึ่ Application เหล่านรี้ องรบั การทาํ งานในระบบปฏบิ ัติการ iOS สามารถดาวนโ์ หลดหรือซื้อได้
ที่ Apple's Store หรือผ่านเว็บไซต์ของแอปเปิลได้โดยตรง การใช้งานทําได้ง่ายและสะดวกเพียงนําน้ิว
แตะท่ีรปู ไอคอน ท่ีต้องการใช้งาน

3.2 การเลอื กใชร้ ะบบปฏบิ ตั ิการมาตรฐานเปิด
การซื้อซอฟต์แวร์ระบบปฏิบัติการแบบกรรมสิทธิ์ (Proprietary Software) อย่าง

ระบบปฏิบัติการ วินโดวส์ที่มีค่าใช้จ่ายค่อนข้างสูงเมื่อเทียบกับระบบปฏิบัติการมาตรฐานเปิด (Open
Source) ที่ นิยมในปจั จุบัน เชน่ อบนต (Ubuntu) และฟรีบเี อสดี (FreeBSD) ซึ่งแตล่ ะระบบปฏิบัตินั้นมี
จุดเด่นท แตกต่างกันออกไปดังนี้

3.2.1 อบู นุ ตู (Ubuntu)
อูบนุ ตเู ปน็ ระบบปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ทีเ่ ป็นระบบปฏิบตั กิ ารแบบเปิดซ่งึ มพี ้นื ฐานบนลิ

นุกซ์ ดิสทริบิวชันเป็นซอฟต์แวร์เสรีทําให้ผู้ใช้งานสามารถใช้ได้โดยไม่เสียค่าใช้จ่าย และสามารถแก้ไข
ดัดแปลง ได้โดยเสรี คาํ ว่า “อบู นุ ต”ู เป็นคําที่มาจากคําในภาษาซูลและภาษาโคซา (ภาษาในแอฟริกาใต้)
ว่า Ubuntu ซึ่งมีความหมายในภาษาอังกฤษคือ “humanity towards others” (เพื่อมวลมนุษยชาติ)
โดยโลโก้ของอูบุนตู สือถึง “humanity towards others” (เพื่อมวลมนุษยชาติ) ปัจจุบัน อูบุนตู
(Ubuntu) เวอร์ชัน 20.04.2.0 LTS ดาวนโ์ หลดไดท้ เ่ี วบ็ ไซต์ www.ubuntu.com

รปู ที่ 3.4 โลโก้ระบบปฏบิ ตั กิ าร อบู ุนตู (Ubuntu)

วชิ าระบบปฏิบัตกิ ารเบ้ืองต้น รหัสวิชา 20204-2001

หน่วยที่ 3 การเลอื กใช้และการตดิ ต้ังระบบปฏิบัติการมาตรฐานปดิ และมาตรฐานเปิด 9

รปู ท่ี 3.5 ระบบปฏิบัตกิ าร อูบนุ ตู (Ubuntu) เวอรช์ นั 20.04 TLS
จดุ เด่นของระบบปฏบิ ัตกิ ารอบู นุ ตู (Ubuntu)

1. ฟรี ไม่ต้องเสียค่าลิขสิทธิ์ สามารถแจกจ่ายได้อย่างเสรี แก้ไข ปรับปรุง
เปลยี่ นแปลง เพอื่ “ใชง้ านและแจกจา่ ยได้อยา่ งอิสรเสรี

2. ผู้ใช้สามารถปรับแต่งส่วนต่าง ๆ ของระบบปฏิบัติการได้ เช่น รูปแบบธีม
ระบบปฏบิ ตั ิการ หรอื การใช้งานในส่วนตา่ ง ๆ ให้เป็นอยา่ งที่ต้องการก็ได้

3. การใช้ภาษาไทยในอูบุนตู ท้งั ด้านอ่าน การเขียน หรอื เมนโู ปรแกรมภาษาไทยใช้
งานได้ดี เหมาะสาํ หรบั ผทู้ ่เี ริ่มใชง้ านใหม่ สามารถใช้งานไดง้ ่าย

4. ใช้ทรัพยากรน้อย ความต้องการฮาร์ดแวร์ต่ํา ทําให้คอมพิวเตอร์สเปคไม่สูงมาก
สามารถ ตดิ ตั้ง Ubuntu ได้

5. ไวรสั น้อยกว่าระบบปฏิบัตกิ ารวนิ โดวส์ อกี ทั้งโดยปกติการรันโปรแกรมในอูบุนตู
จะตอ้ ง ใชส้ ิทธิ์ root หรือความเป็นเจา้ ของเคร่ืองเท่านน้ั

6. โปรแกรมประยุกตม์ ีมากและรองรบั งานหลายดา้ น
3.2.2 ฟรีบีเอสดี (FreeBSD)

ฟรีบเี อสดี คือ ซอฟต์แวรเ์ สรีซ่ึงเป็นระบบปฏิบัตกิ ารที่เหมอื นยูนิกซ์ (Unix-like) พัฒนา
มา จาก BSD เป็นเวอร์ชั่นของ UNIX พัฒนาต่อยอดโดย University of California, Berkeley ซึ่งมี
ทีมงาน พัฒนาขนาดใหญ่และได้ทําการพัฒนา แก้ไขข้อผิดพลาดต่าง ๆ โดยโลโก้และตัวมาสคอตของ
FreeBSD คือตัวดีม่อนสีแดง ปัจจุบัน ฟรีบีเอสดี (FreeBSD) เวอร์ชัน 10.2 วันที่เปิดตัว 13 สิงหาคม
พ.ศ. 2558 ดาวน์โหลดไดท้ ่ีเว็บไซต์ www.freebsd.org

วิชาระบบปฏบิ ัตกิ ารเบื้องต้น รหัสวิชา 20204-2001

หน่วยท่ี 3 การเลอื กใช้และการติดตั้งระบบปฏบิ ัตกิ ารมาตรฐานปิดและมาตรฐานเปดิ 10

รูปท่ี 3.6 โลโกฟ้ รบี ีเอสดี (FreeBSD)

รูปท่ี 3.7 ระบบปฏบิ ัตกิ าร ฟรบี เี อสดี (FreeBSD) เวอร์ชนั 10.2
จุดเดน่ ของ FreeBSD
1. ฟรีไม่ต้องเสียค่าลิขสิทธิ์ สามารถแจกจ่ายได้อย่างเสรี แก้ไข ปรับปรุง เปลี่ยนแปลง
เพอ่ื ใช้งานและแจกจา่ ยไดอ้ ย่างอสิ รเสรี
2. เป็นระบบปฏิบัติการที่มีเสถียรภาพและสามารถเปิดงานเป็นเวลานานได้โดยไม่ต้อง
ปิด
3. ความสามารถในการทํางานแบบหลายผู้ใช้ (Multi-User) ซึ่งรองรับการทํางานจาก
ผูใ้ ช้ ระบบไดห้ ลายคนพร้อมกนั ซง่ึ สามารถกาํ หนดจํานวนการใชง้ านทรัพยากรระบบของผใู้ ช้แต่ละคนได้
4. การกําหนดสิทธิของการทาํ งานหลายงานพรอ้ มกัน มกี ารจดั แบ่งทรัพยากรของระบบ
ได้อย่างดีเยี่ยมรองรบั การประมวลผลขนาดใหญ่ได้เปน็ อย่างดี
5. มีระบบเครือข่ายในรูปแบบ TCP/IP ที่ปลอดภัย ซึ่งรองรับการทํางานของมาตรฐาน
ตา่ ง ๆ
6. มีการป้องกันหน่วยความจํา ทําให้มั่นใจเรื่องการทํางานที่ผิดพลาด อันเนื่องมาจาก
การ ใชง้ านหนว่ ยความจาํ ทีซ่ ้ํากันของโปรแกรมประยุกต์หรือผ้ใู ชร้ ะบบ
7. หน่วยความจําเสมือน หน่วยความจําแบบแคช และหน่วยความจําบัฟเฟอร์ ถูก
ออกแบบ ใหม้ ีประสทิ ธภิ าพสงู ทําให้เพียงพอต่อความตอ้ งการของโปรแกรมประยกุ ต์แตล่ ะโปรแกรม และ
ความ ตอ้ งการผู้ใชง้ านแตล่ ะคน

วชิ าระบบปฏิบัติการเบือ้ งต้น รหัสวิชา 20204-2001

หน่วยท่ี 3 การเลอื กใช้และการตดิ ตัง้ ระบบปฏบิ ัติการมาตรฐานปดิ และมาตรฐานเปดิ 11

8. รองรับการประมวลผลแบบหลายหน่วยประมวล แบบ Symmetric Multi-
Processor (GMP)

9. เปน็ ระบบการพฒั นาระบบเปิด จงึ มีซอสโค้ดของระบบซงึ่ ทําให้สามารถปรับปรุงและ
แกไ้ ขการทาํ งานของระบบใหม้ ีความถกู ตอ้ งเชื่อถอื ได้

3.3 การตดิ ตั้งโปรแกรมระบบปฏิบัตกิ ารมาตรฐานปิด
ระบบปฏบิ ตั กิ ารมาตรฐานปิดเปน็ ระบบปฏิบัติการท่ตี อ้ งซ้อื ลิขสิทธ์ิจึงสามารถติดตั้งได้ ซ่ึงมี

ด้วยกัน หลายบริษัทที่มีให้ทุกคุณสมบัติได้เลือกใช้ สําหรับระบบปฏิบัติการที่นิยมใช้เป็นจํานวนมากทว่ั
โลกซึ่งมีการ พัฒนาตลอดเวลาซึ่งผลิตโดยบริษัทไมโครซอฟต์ เช่น Windows 7 Windows 10 เป็นต้น
สําหรับ Windows 8 ความนิยมลดลง หากแตเ่ ป็นพ้นื ฐานหลกั การเชน่ เดยี วกบั Windows 10

การตดิ ตั้ง Windows 10
การติดตั้งด้วย Windows 10 ด้วย USB ซึ่งได้ทําจากที่กล่าวมาแล้ว Rufus มีขั้นตอน
ดงั ตอ่ ไปนี้
เริ่มต้นทําไฟล์ Boot Windows USB ซึ่งดาวน์โหลดโปรแกรม Rufus ด้วยการค้นหา
เครื่องมือใน การค้นหา เช่น Google การเลือก Version ของ Rufus สามารถใช้ได้เช่นกันทุก Version
หากเป็นรนุ่ ใหมๆ่ การดาวนโ์ หลดมปี ญั หามากกวา่ ให้ดาวนโ์ หลด Version อ่นื ๆ ปจั จุบันนิยมใช้เวอร์ช่ัน
3.4 ซึง่ สามารถใช้ได้ เช่นกัน ดงั รูป
1. ท่ี https://rufus.akeo.ie/

รปู ท่ี 3.8 ดาวนโ์ หลดโปรแกรม Rufus ที่ https://rufus.akeo.ie/
2. หลังจากดาวน์โหลดเรียบรอ้ ย ให้นํา USB ทเ่ี ตรยี มไวเ้ สยี บเข้าท่เี ครือ่ งคอมพิวเตอร์

วชิ าระบบปฏบิ ัตกิ ารเบอื้ งต้น รหสั วิชา 20204-2001

หนว่ ยท่ี 3 การเลอื กใช้และการติดต้ังระบบปฏิบัตกิ ารมาตรฐานปดิ และมาตรฐานเปิด 12
3. เปิดโปรแกรม Rufus ปกติหากเป็น Windows 10 โปรแกรมที่ดาวน์โหลดแสดงที่
ดา้ นซ้าย Taskbar ใกล้ปมุ่ Start มขี อ้ ความแสดงดังน้ี

รูปที่ 3.9 เปิดโปรแกรม Rufus
ทาํ การดาวนโ์ หลดโปรแกรม Rufus > จากนัน้ เสียบ USB เข้ากบั เครอื่ งคอมพิวเตอร์ ตาม
ดว้ ยการ คลิกโปรแกรม Rufus ที่ Taskbar พบข้อความ ดงั น้ี

(1) Download Rufus program and Input USB to your computer > and
Open Rufus

รูปท่ี 3.10 ส่วนต่าง ๆ ของ Rufus
Device: เปน็ ชือ่ ของ USB FlashDrive
Partition schema
(2) MBR Partition schema for BIOS or UEFI Computer: เปน็ การ Boot
Windows ผ่าน BIOS เปน็ รปู แบบเกา่ หาก Hard disk มีขนาดนอ้ ยกว่า 2TB และตอ้ งการติดตงั้
Windows แบบเดมิ ใหเ้ ลือกอนั นี้ โดยที่ BIOS ไม่ไดป้ รบั ให้เพือ่ ใหเ้ ปดิ ลงแบบ UEFI

วชิ าระบบปฏบิ ตั ิการเบ้ืองต้น รหสั วิชา 20204-2001

หนว่ ยที่ 3 การเลอื กใช้และการตดิ ตั้งระบบปฏิบัติการมาตรฐานปิดและมาตรฐานเปิด 13
(3) MBR Partition for UEFI: เหมาะสําหรับเมนบอร์ดที่รองรับการทํางานแบบ UEFI

และเปิดใช้ Boots แบบ UEFI หาก Hard disk มีขนาดน้อยกว่า 2TB แต่ใน BIOS ปรับให้เป็น Boots
LUV UEFI Choose MBR Partition for UEFLIF you use new computer with UEFI boot

(4) GPT Partition UEFI: เหมาะสมสําหรบั Hard disk ที่มีขนาดเกินว่า 2 TB หรือเปน็
Hard disk ที่ทําการ Convert MBR > GPT เปน็ ทีเ่ รยี บร้อย และต้องการลงแบบ UEFI

รปู ที่ 3.11 MBR Partition for UEFI
File system : NTFS
Cluster : 4096
จากนนั้ ทำการคลกิ ท่ี Drive : ทำการเลอื ก File iso Windows
Choose Drive and browser your file iso Windows 10

รปู ท่ี 3.12 เลอื ก File iso Windows

วชิ าระบบปฏบิ ตั กิ ารเบ้ืองต้น รหัสวิชา 20204-2001

หนว่ ยท่ี 3 การเลือกใชแ้ ละการติดตง้ั ระบบปฏบิ ัติการมาตรฐานปิดและมาตรฐานเปดิ 14
เมื่อทาํ การเลือกเสร็จหมดจากนัน้ ใหค้ ลิกป่มุ Start เพอ่ื ทาํ ไฟล์ในการ Boot Windows

Click Start for prepare USB and ISO Windows and Start extract file to your Flash Drive
and Next Step install Windows 10 Step - by Step in below link.

จากนั้นตดิ ตั้ง Windows 10 ไดต้ ามปกติเหมือนกับการลง Windows แบบใช้ CD/DVD
หากติดตัง้ นWindows แบบ USB จาํ เปน็ ตอ้ งกาํ หนดค่า Bios ก่อนการตดิ ต้ัง ดังน้ี

1. รีสตาร์ตคอมพิวเตอรแ์ ละกดปมุ่ บนแป้นพมิ พ์ เชน่ F2 เพ่อื เข้าสูห่ นา้ การตง้ั คา่ ไบออส
2. กดลูกศรบนแปน้ พมิ พ์เพื่อไปที่แท็บ Boot จากนน้ั กดปุม่ Enter ท่ีแป้นพิมพ์ จะ
ปรากฏเมนูย่อย ใหเ้ ลือก Boot Device Priority แลว้ กด Enter

รูปที่ 3.13 เลือก Boot Device Priority
3. เลือก Hard Disk Drives แลว้ กด Enter

รูปที่ 3.14 เลอื ก Hard Disk Drives

วิชาระบบปฏิบัติการเบือ้ งตน้ รหสั วิชา 20204-2001

หน่วยที่ 3 การเลือกใช้และการตดิ ตัง้ ระบบปฏบิ ัตกิ ารมาตรฐานปิดและมาตรฐานเปดิ 15
4. เลือก 1st Drive เพอ่ื ให้บูตจากอปุ กรณ์ใดเป็นอนั ดับแรก

รปู ท่ี 3.15 เลอื ก 1st Drive
5. เลือก USB ที่ตอ้ งการ และกดปมุ่ Enter

รปู ที่ 3.16 เลือก USB
6. จะปรากฎ USB เปน็ ลำดบั แรกในการบตู จากนัน้ กดปมุ่ F10 เพอ่ื บันทึกและออกจาก
Bios

รูปท่ี 3.17 เลือก Hard Disk Drives
วชิ าระบบปฏบิ ตั กิ ารเบอ้ื งต้น รหสั วิชา 20204-2001

หนว่ ยที่ 3 การเลอื กใช้และการติดตงั้ ระบบปฏบิ ัตกิ ารมาตรฐานปดิ และมาตรฐานเปดิ 16
7. เลอื ก OK และกดปมุ่ Enter จากน้นั คอมพิวเตอร์จะเรม่ิ บตู จาก USB ตามทเ่ี ลอื กไว้

เพ่ือเข้าสตู่ ิดตั้ง Windows

รูปที่ 3.14 เลอื ก Hard Disk Drives
ข้นั ตอนการติดต้ัง Windows 10 ด้วย USB Drive
ขั้นตอนที่ 1 เสียบ USB Drive Windows 10 ที่ได้ทําการติดตั้งไว้แล้วเข้ากับเครื่อง
คอมพวิ เตอร์ จากนนั้ ให้ทาํ การ Restart เครื่องคอมพวิ เตอร์ หากเครือ่ งปิดให้เปดิ เครื่อง จากนั้น กําหนด
Bios ใหบ้ ูทด้วย แฟลชไดรฟ์ ที่เสียบไวแ้ ลว้

รูปท่ี 3.19 เลอื ก USB Drive
ข้ันตอนท่ี 2 ทีห่ น้าจอคอมพวิ เตอร์เพื่อใหเ้ ลือกความต้องการติดต้ัง Windows แบบ 32-Bit
หรือ 64-Bit หากมีแรมน้อยกว่า 4Gb ให้เลือกเป็นแบบ 32-bit หากมากกว่าหรือเท่ากับ 4Gb ให้เลือก
แบบ 64-bit

วิชาระบบปฏบิ ตั ิการเบื้องต้น รหสั วิชา 20204-2001

หน่วยท่ี 3 การเลอื กใชแ้ ละการตดิ ตั้งระบบปฏิบัติการมาตรฐานปิดและมาตรฐานเปิด 17

รูปที่ 3.20 ตดิ ตงั้ Windows แบบ 32-Bit หรอื 64-Bit
ขั้นตอนที่ 3 เปน็ การกําหนดคา่ ของภาษาโดยมรี ายละเอยี ดดงั นี้
1. Language to install คอื การกําหนดภาษาในการติดต้งั
2. Time and currency format คือ การกาํ หนดโซนเวลาและอตั ราแลกเปลย่ี นเงินตรา
3. Keyboard or input method คือ การกําหนด default ภาษาของแป้นพิมพ์ จากน้ัน
คลกิ ปุม่ Next

รูปที่ 3.21 กาํ หนดค่าของภาษา

วิชาระบบปฏิบตั กิ ารเบอื้ งตน้ รหัสวิชา 20204-2001

หนว่ ยท่ี 3 การเลือกใช้และการติดตัง้ ระบบปฏิบัติการมาตรฐานปดิ และมาตรฐานเปิด 18
ขั้นตอนที่ 4 ให้คลกิ ปุ่ม Install now

รปู ท่ี 3.22 คลกิ ปุ่ม Install now
ขนั้ ตอนท่ี 5 จากผลการปฏิบัตกิ าร ลําดับต่อไปเป็นการแสดงหน้าต่าง Activate Windows
ให้ ปอ้ น Product Key หรอื CD Key จากนน้ั คลิก Next

รูปท่ี 3.23 หนา้ ต่าง Activate Windows
ขนั้ ตอนที่ 6 คลกิ (/) หนา้ ขอ้ ความ I accept the license terms แสดงการยอมรบั การทํา
ตาม สญั ญาข้อเงอ่ื นไขทุกประการ จากน้ันกด Next

รูปท่ี 3.24 สัญญาข้อเงอ่ื นไขทกุ ประการของระบบปฏบิ ัติการ Windows
วิชาระบบปฏิบัตกิ ารเบอ้ื งต้น รหัสวิชา 20204-2001

หนว่ ยที่ 3 การเลือกใช้และการติดต้ังระบบปฏบิ ัตกิ ารมาตรฐานปิดและมาตรฐานเปิด 19
ข้นั ตอนที่ 7 คลกิ เลือกเปน็ Custom : Install Windows only (advance)

รูปท่ี 3.25 เลือกเป็น Custom: Install Windows only (advance)
ขั้นตอนที่ 8 เลือกไดรฟ์หรือฮาร์ดดิสก์ที่ต้องการติดตั้ง Windows หากเป็นฮาร์ดดิสก์ใหม่
ต้อง สรา้ งPartition เพอ่ื เปรยี บเทียบใหช้ ดั เจนคือแบ่งห้องใหก้ บั ฮารด์ ดิสก์ จากนั้นคลิกปมุ่ Next

รูปท่ี 3 26 เลือกไดรฟห์ รอื ฮาร์ดดสิ ก์
ขั้นตอนที่ 9 แสดงผลและสถานะของการติดตั้ง Windows โดยหลังจากที่ติดตั้งเสร็จ
เรยี บร้อย เครื่องคอมพวิ เตอรจ์ ะทาํ การ Restart ให้รอสักครู่ ไมต่ อ้ งทาํ การใด ๆ

รูปท่ี 3.27 สถานะของการตดิ ตั้ง Windows
วชิ าระบบปฏบิ ัติการเบอื้ งตน้ รหสั วิชา 20204-2001

หน่วยที่ 3 การเลือกใชแ้ ละการตดิ ต้งั ระบบปฏิบัตกิ ารมาตรฐานปิดและมาตรฐานเปดิ 20
ข้ันตอนท่ี 10 เลือกภาษาเริ่มต้นระบบ เลือก Thailand จากน้ันคลิกปมุ่ Yes

รปู ที่ 3.28 เลือกภาษาเริ่มตน้ ระบบ
ขัน้ ตอนท่ี 11 เป็นการกําหนดค่า default Keyboard คลิกเลือก US จากนน้ั คลิกปุม่ Yes

รูปที่ 3 29 กาํ หนดค่า default Keyboard
ขน้ั ตอนที่ 12 เป็นการต้งั คา่ Keyboard แบบท่ีสอง หากไมต่ ้องการคลิกปุ่ม Skip

รปู ที่ 3.30 ตั้งคา่ Keyboard
ขั้นตอนที่ 13 กาํ หนด Microsoft Account หรือคลกิ เพ่ือสรา้ ง Create Account ใหม่
จากนน้ั คลิก Next

วชิ าระบบปฏบิ ัตกิ ารเบอื้ งตน้ รหสั วิชา 20204-2001

หน่วยที่ 3 การเลือกใชแ้ ละการตดิ ตั้งระบบปฏิบัตกิ ารมาตรฐานปดิ และมาตรฐานเปดิ 21

รปู ท่ี 3.31 กาํ หนด Microsoft Account
ขั้นตอนที่ 14 เลือกสร้าง Offline Account ระบบ ให้พิมพ์ชื่อ User และ Password ที่
ตอ้ งการ Login หากเขา้ สูก่ ารทาํ งาน หากไม่ต้องการกาํ หนดให้ว่างไว้ หากใครท่ลี งช่ือเข้าใช้คอมพิวเตอร์
ด้วย Microsoft Account ระบบจําเป็นต้องใส่ Pin ดังรูป ซึ่ง Pin เปรียบเสมือน Password เข้าใช้งาน
หากแต่มี การกําหนดว่าตอ้ งมตี ัวอักษรใหญเ่ ล็ก ตัวเลข และตัวอักษรที่เปน็ เครือ่ งหมายต่าง ๆ ผสมด้วย
ซงึ่ ทาํ ให้ Password ถูก Hack ได้ยาก

รูปที่ 3.32 สร้าง Offline Account
ข้นั ตอนที่ 15 สาํ หรบั กาํ หนด Microsoft Account ในการ log in เท่าน้ัน ซึ่งจาํ เป็นต้องใช้
เบอร์ โทรศัพท์และลงิ ก์ขอ้ มูลกับ OneDrive หากไมต่ อ้ งการให้คลกิ Next

วิชาระบบปฏบิ ัติการเบอ้ื งตน้ รหสั วิชา 20204-2001

หน่วยที่ 3 การเลอื กใช้และการติดต้ังระบบปฏบิ ัติการมาตรฐานปิดและมาตรฐานเปดิ 22

รูปท่ี 3.33 กําหนด Microsoft Account

รูปท่ี 3.33 (ต่อ) กําหนด Microsoft Account
ขั้นตอนที่ 16 เป็นขั้นตอนสุดท้ายของการติดตั้ง Windows 10 ถ้าเลือกฟังก์ชันที่ต้องการ
ให้เปดิ On หลงั จากใช้งานไปแล้วสามารถกําหนดเป็น Off ได้ จากน้นั คลิกปุ่ม Accept

รูปท่ี 3.34 เลอื กฟงั กช์ น่ั การใช้งาน Windows
วิชาระบบปฏิบัตกิ ารเบือ้ งตน้ รหสั วิชา 20204-2001

หนว่ ยที่ 3 การเลือกใช้และการติดต้งั ระบบปฏบิ ัตกิ ารมาตรฐานปิดและมาตรฐานเปดิ 23

ขั้นตอนที่ 17 เป็นการติดตั้งเสร็จสมบูรณ์แต่ควรตรวจสอบ Windows 10 ที่ได้ติดตั้งแล้ว
นั้นเป็น Version ล่าสุดหรือไม่ ด้วยการคลิกทีป่ ุ่มค้นหา พิมพ์ข้อความ Windows Update จากนั้นคลิก
ปุ่ม Restart

รูปท่ี 3.35 ตรวจสอบเวอรช์ ่นั Windows 10
3.4 การติดตัง้ โปรแกรมระบบปฏบิ ตั ิการมาตรฐานเปดิ

อูบุนตู (Ubuntu) เป็นระบบปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ที่เป็นระบบปฏิบัติการแบบเปิดซึ่งมี
พื้นฐานบน ลินุกซ์ดิสทริบิวซันซึ่งพัฒนาจากเดเบียน การพัฒนาสนับสนุนโดยบริษัท Canonical Ltd.
อูบุนตูออกรุน่ ใหม่ ทุก 6 เดือน แต่ละรุ่นมรี ะยะเวลาการสนับสนุน 18 เดือน ซอฟต์แวร์ต่าง ๆ ในอูบุนตู
เป็นซอฟต์แวร์เสรี (Free Software) เกือบทั้งหมด (มีบางส่วนเป็นลิขสิทธิ์ เช่น ไดรเวอร์) จุดมุ่งหมาย
หลักของอูบุนตูคือเป็น ระบบปฏิบัติการสําหรับบุคคลทั่วไป ที่มีโปรแกรมทันสมัยและมีเสถียรภาพใน
ระดบั ท่ยี อมรับได้

3.4.1 การติดตั้งและการใชง้ านโปรแกรม VMware Workstation Player
1. เขา้ เว็บไซต์ https://www.vmware.com/products/workstation-player.html

แลว้ คลิก ปุม่ Download Now

รูปท่ี 3.36 เข้าเวบ็ ไซต์ https://www.vmware.com/products/workstation-player.html
วิชาระบบปฏิบัตกิ ารเบอ้ื งต้น รหัสวิชา 20204-2001

หนว่ ยที่ 3 การเลอื กใชแ้ ละการติดตงั้ ระบบปฏบิ ัติการมาตรฐานปดิ และมาตรฐานเปดิ 24
2. เลือกเวอร์ช่ัน แล้วคลกิ ที่ข้อความ GO TO DOWNLOADS

รปู ท่ี 3.37 เลอื กเวอร์ชนั แล้วคลกิ ทีข่ ้อความ GO TO DOWNLOADS
3. คลิกปมุ่ DOWNLOAD NOW ทีร่ ะบบปฏบิ ัตกิ ารคอมพิวเตอร์ทต่ี ้องการนําโปรแกรม

ไปติดตั้ง

รูปท่ี 3.38 คลิกปุ่ม DOWNLOAD NOW
4. ดับเบิลคลกิ ไฟลโ์ ปรแกรมท่ดี าวนโ์ หลดเพอ่ื ทาํ การตดิ ตั้ง แลว้ คลกิ ท่ีปุ่ม Next

รูปท่ี 3 39 ดับเบิลคลิกไฟลโ์ ปรแกรมท่ดี าวนโ์ หลดมา แลว้ คลกิ ท่ีปุ่ม Next
วชิ าระบบปฏิบตั ิการเบื้องต้น รหัสวิชา 20204-2001

หน่วยท่ี 3 การเลอื กใช้และการตดิ ต้งั ระบบปฏิบัตกิ ารมาตรฐานปิดและมาตรฐานเปดิ 25
5. คลิกยอมรับเงอ่ื นไข แล้วคลกิ ปุม่ Next
6. หากตอ้ งการเปลี่ยนตําแหน่งโฟลเดอร์ติดตั้งโปรแกรมให้คลิกปุม่ Change.... จากน้ัน

คลกิ ป่มุ Next

รูปที่ 3.40 คลกิ ยอมรบั เงอ่ื นไขและคลิกปมุ่ Next จากน้ันเลอื กตาํ แหน่งโฟลเดอร์และคลิกป่มุ Next
7. คลิกปุ่ม Install เพ่อื ติดตัง้ โปรแกรม และรอกระทั่งโปรแกรมตดิ ต้ังเสร็จใหค้ ลกิ ปมุ่

รูปท่ี 3.41 คลิกปุ่ม Install เมื่อเสร็จแลว้ คลกิ ปมุ่ Finish
8. ดับเบิลคลิกที่ไอคอนโปรแกรม VMware Workstation บนหน้าจอ เพื่อเปิดใช้งาน
โปรแกรม จากนั้นคลิก Create a New Virtual Machine เพื่อนําเข้าไฟล์นามสกุล .iso ของ
ระบบปฏิบัตกิ าร
9. คลกิ ปมุ่ Browse เพือ่ ค้นหาไฟลน์ ามสกุล .iso ท่ีต้องการ จากน้นั คลกิ ปมุ่ Next

วิชาระบบปฏิบตั ิการเบือ้ งต้น รหสั วิชา 20204-2001

หนว่ ยที่ 3 การเลอื กใช้และการตดิ ตั้งระบบปฏบิ ัติการมาตรฐานปดิ และมาตรฐานเปดิ 26

รปู ท่ี 3.42 คลิก Create a New Virtual Machine แล้วเลือกไฟลน์ ามสกลุ iso
10. กาํ หนดช่ือและรหัสผ่านผใู้ ช้แลว้ คลกิ ปมุ่ Next จากนน้ั กําหนดช่ือเครือ่ งเสมอื น แล้ว

คลิก

รปู ที่ 3.43 กําหนดช่ือและรหัสผ่านของผ้ใู ช้ แล้วกําหนดชือ่ เครือ่ งเสมือน
11. กําหนดขนาดพื้นที่ฮาร์ดดิสก์ที่ต้องการใช้ ซึ่ง Ubuntu จะเริ่มต้นที่ 20 GB และ
เลือกรูปแบบ ของไฟล์เป็น Split virtual disk into multiple files จะเป็นการแบ่งหลาย ๆ ไฟล์ แล้วก็
คลิก Next จากนน้ั คลกิ ปมุ่ Finish

รูปที่ 3.44 กําหนดขนาดพ้นื ที่ฮาร์ดดิสก์
วิชาระบบปฏิบัติการเบอื้ งตน้ รหัสวิชา 20204-2001

หนว่ ยท่ี 3 การเลือกใชแ้ ละการตดิ ต้ังระบบปฏิบัตกิ ารมาตรฐานปิดและมาตรฐานเปิด 27
12. รอใหโ้ ปรแกรม VMWare ดําเนินการติดต้ังระบบปฏบิ ตั ิการ Ubuntu จนแล้วเสร็จ

รปู ท่ี 3.45 ตดิ ตั้ง Ubuntu
13. คลิกชื่อผ้ใู ช้และกรอกรหัสผา่ นทีไ่ ดก้ าํ หนดไว้แล้วในข้อ 10

รูปท่ี 3.46 คลิกท่ชี ่ือผู้ใชแ้ ละกรอกรหสั ผ่าน
14. ปรากฎหนา้ ตา่ งระบบปฏิบัตกิ าร Ubuntu ทีส่ ามารถเริม่ ใชง้ านไดท้ นั ที

รูปที่ 347 หนา้ ต่างระบบปฏิบตั กิ าร Ubuntu
วชิ าระบบปฏบิ ตั กิ ารเบอ้ื งต้น รหัสวิชา 20204-2001

หนว่ ยที่ 3 การเลอื กใช้และการตดิ ตั้งระบบปฏิบัตกิ ารมาตรฐานปิดและมาตรฐานเปิด 28
34.2 วิธีใช้และตั้งค่า Ubuntu เบื้องต้น ด้วยโปรแกรม VMware Workstation
Player

1. ดับเบิลคลิกไอคอนโปรแกรม VMware Workstation Player เพ่ือเปิดโปรแกรม
2. ที่หน้าต่างโปรแกรม VMWare จะปรากฏชื่อระบบปฏิบัติการ ให้คลิกที่ช่ือ
ระบบปฏิบัติการ แล้วคลิกปมุ่ Play Virtual machine เพอื่ ใช้งานระบบปฏิบัติการ Ubuntu

รปู ที่ 3.48 คลิก Settings
3. เมื่อเร่ิมใช้งานพบว่ารายการเมนูเปน็ ภาษาองั กฤษ หากตอ้ งการเปลย่ี นเป็นภาษาไทย
ให้ คลิกขวาแล้วเลอื ก Settings

รูปท่ี 3.49 คลิก Settings
4. คลิกทีเ่ มนู Region & Language จากนัน้ คลิกท่ี Manage Installed Languages

วชิ าระบบปฏบิ ัติการเบ้อื งต้น รหัสวิชา 20204-2001

หน่วยที่ 3 การเลือกใช้และการตดิ ตง้ั ระบบปฏิบัตกิ ารมาตรฐานปิดและมาตรฐานเปดิ 29

รปู ที่ 3.50 คลิกที่ Language Support และคลกิ Manage Installed Languages
5. จากนั้นจะแสดงหน้าต่าง Language Support และคลิก Install/Remove

Languages…

รูปท่ี 3.51 คลิก Install/Remove Languages...
6. ให้เลือกภาษาไทยหรือภาษาอื่น ๆ ตามต้องการ คลิก Apply ระบบจะทําการติดต้ัง
ภาษาที่เลือกไว้

รูปที่ 3 52 คลกิ Apply เพือ่ ตดิ ตงั้ และรอให้ตดิ ตั้งแล้วเสร็จ
วิชาระบบปฏิบตั กิ ารเบอ้ื งตน้ รหสั วิชา 20204-2001

หน่วยที่ 3 การเลอื กใชแ้ ละการติดตงั้ ระบบปฏิบัตกิ ารมาตรฐานปิดและมาตรฐานเปิด 30
7. การเพ่มิ แป้นพมิ พภ์ าษาไทย คลกิ ท่ีเมนู Region & Language จากนัน้ คลิกสญั ลักษณ์

รูปที่ 3.53 คลกิ ที่เมนู Region & Language จากน้นั คลิกสญั ลักษณ์บวก (+)
8. ปรากฎหนา้ ตา่ ง Add an Input Source คลิก Thai เพอื่ เพม่ิ แป้นพมิ พภ์ าษาไทย

แล้ว คลกิ รปู แบบแปน้ พมิ พท์ ต่ี ้องการในท่ีนเี้ ลือก Thai จากน้ันคลิกปมุ่ Add

รปู ที่ 3.54 เพ่มิ แปน้ พมิ พภ์ าษาไทย
9. ทแี่ ถบสถานะด้านบนของหน้าจอจะแสดงภาษาของแป้นพมิ พท์ ี่กําลงั ใช้งานอยู่ เมือ่
ทาํ การคลิกสัญลักษณ์ จะแสดงแปน้ พมิ พภ์ าษาใหเ้ ลอื กใช้ การสลับภาษาให้กดปุม่
windows+Spacebar บนแป้นพิมพ์

รูปที่ 3.55 ภาษาบนแปน้ พิมพ์
วชิ าระบบปฏิบัติการเบ้อื งต้น รหสั วิชา 20204-2001

หน่วยท่ี 3 การเลือกใชแ้ ละการติดตง้ั ระบบปฏบิ ัตกิ ารมาตรฐานปดิ และมาตรฐานเปิด 31
10. การกาํ หนดปุ่มหลกั และความเรว็ ของเมาส์ให้คลิกทเ่ี มนู Mouse & Touchpad

คลกิ ท่ี เมนู Mouse & Touchpad แลว้ กาํ หนดปุ่มหลกั ทีช่ ่อง Primary Button หรือกาํ หนดความเรว็
เมาส์ที่ชอ่ ง Mouse Speed

รูปที่ 3.56 กำหนดปุ่มหลักและความเรว็ ของเมาส์

วชิ าระบบปฏิบัตกิ ารเบ้ืองตน้ รหัสวิชา 20204-2001

หน่วยที่ 3 การเลือกใช้และการติดต้งั ระบบปฏิบัติการมาตรฐานปิดและมาตรฐานเปดิ 32

ใบสงั่ งาน 3.1 ระดมความคดิ

คำสัง่ : ให้นกั เรยี นแบง่ กลุ่ม กลุ่มละ 5 คน แลว้ ทำการศึกษาเนือ้ หาจากเอกสารประกอบการ
สอน หนว่ ยที่ 3 การเลอื กใชแ้ ละการดิ ตง้ั ระบบปฏบิ ตั ิการมาตรฐานปิดและมาตรฐานเปดิ และชว่ ยกนั สรปุ
เนอื้ หาโดยทำเปน็ แผนผังความคดิ Mine Mapping โดยใชโ้ ปรแกรม Jam Board แลว้ สง่ ตวั แทนนำเสนอ
ผลงาน

เกณฑ์การประเมิน

รายการประเมนิ ระดับคะแนน หมายเหตุ
321

1. ความเหมาะสมบทบาทการนำเสนอ

2. ความถกู ต้อง ข้อมูล สาระ ความรู้

3. สว่ นประกอบอน่ื ๆ และความคดิ ริเร่ิมสรา้ งสรรค์

คะแนนรวม

หมายเหตุ ไดค้ ะแนน 6 คะแนนขน้ึ ไป จึงจะถือวา่ ผา่ นเกณฑ์

ประเด็นการประเมิน

ประเดน็ เกณฑก์ ารให้คะแนน /ระดบั คณุ ภาพ
3 21

1. ความเหมาะสม แสดงบทบาทเหมาะสม แสดงบทบาทเหมาะสม แสดงบทบาท

บทบาทการนำเสนอ เสยี งดงั ฟงั ชัด มลี ลี า เสียงดงั ปานกลาง มี เหมาะสม เสียงเบา

ประกอบ ลีลาประกอบบา้ ง ลีลาประกอบ

ค่อนขา้ งนอ้ ย

2. ความถกู ต้อง ขอ้ มูล เนอื้ หาสาระถูกต้อง เนอ้ื หาสาระถูกตอ้ งเป็น เนื้อหาสาระถกู ต้อง

สาระ ความรู้ ครบถว้ น สว่ นมาก เป็นสว่ นอ้ ย

3. ส่วนประกอบอ่นื ๆ รปู แบบของสือ่ ทำมาได้ รปู แบบของสอ่ื ทำมาได้ รปู แบบของสื่อทำ

และความคิดรเิ รมิ่ สวยงาม เนื้อหา สวยงาม เนอื้ หาน้อย มาได้สวยงาม

สร้างสรรค์ ครอบคลมุ สมบูรณ์ เนื้อหาน้อยเกนิ ไป

วชิ าระบบปฏิบัติการเบ้อื งตน้ รหัสวิชา 20204-2001

หน่วยท่ี 3 การเลอื กใชแ้ ละการติดต้ังระบบปฏิบัติการมาตรฐานปดิ และมาตรฐานเปดิ 33

ใบสั่งงาน 3.2 การเลอื กใชแ้ ละการติดตง้ั ระบบปฏิบตั กิ ารฯ

คำส่งั : จงตอบคำถามต่อไปนีใ้ ห้ไดใ้ จความทีส่ มบรู ณ์

1. จงอธิบายการเลอื กใชร้ ะบบปฏบิ ตั ิการมาตรฐานปิด
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
2. จงอยกตวั อย่างระบบปฏิบัตกิ าร Windows 10 มาอยา่ งนอ้ ย 5 รนุ่
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
3. จงอธิบายการเลือกใช้ระบบปฏบิ ัติการมาตรฐานเปิด
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
4. จงอธบิ ายจดุ เดน่ ของระบบปฏบิ ตั กิ ารอบู ุนตู
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
5. จงอธิบายจดุ เด่นของระบบปฏิบตั ิการ FreeBSD
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................

วชิ าระบบปฏิบัติการเบ้อื งตน้ รหัสวิชา 20204-2001

หน่วยที่ 3 การเลอื กใชแ้ ละการติดต้งั ระบบปฏบิ ัติการมาตรฐานปิดและมาตรฐานเปดิ 34

แบบทดสอบหลังเรยี น
การเลือกใช้และการตดิ ตง้ั ระบบปฏิบตั กิ ารมาตรฐานเปดิ และมาตรฐานปดิ

คำส่งั ชี้แจง : 1. แบบทดสอบฉบบั บนี้เป็นแบบปรนยั ชนิดเลอื กตอบ 4 ตวั เลอื ก จำนวน 10 ข้อ
ขอ้ ละ 1 คะแนน

2. ให้เลอื กคำตอบที่ถกู ตอ้ งที่สดุ เพยี งขอ้ เดียว แล้วทำเคร่ืองหมายกากบาท (X) ลงใน
กระดาษคำตอบ

3. เวลาที่ใช้ในการทำแบบทดสอบ 10 นาที

1. การตดิ ตั้งโปรแกรม Ubuntu จำเปน็ ตอ้ งดาวน์โหลดไฟลใ์ ดถูกต้องทสี่ ุด
ก. ISO
ข. ISO Ubuntu
ค. ISO Windows
ง. ISO POS

2. ในขั้นตอนการตดิ ตงั้ หากเลอื ก Download Update แสดงวา่ ผตู้ ดิ ตง้ั มีจุดประสงคต์ ามข้อใด
ก. ต้องการให้ระบบ Update ภายหลังการตดิ ต้ัง
ข. ไม่ต้องการ Update
ค. ยกเลิกการ Update
ง. ตอ้ งการ Update ขณะติดตั้ง

3. ในการทำแผ่นบูทสามารถปฏบิ ัติการด้วยโปรแกรมใดท่ีมขี ั้นตอนไมย่ ุ่งยาก
ก. WinRAR
ข. NERO
ค. Win Total
ง. Rufus

วชิ าระบบปฏบิ ตั กิ ารเบ้ืองตน้ รหสั วิชา 20204-2001

หน่วยที่ 3 การเลอื กใชแ้ ละการติดต้งั ระบบปฏิบัตกิ ารมาตรฐานปิดและมาตรฐานเปดิ 35

4. การตดิ ต้ัง Windows 10 ดว้ ย USB Drive ตอ้ งปฏิบตั ิการเริ่มตน้ ตามข้อใด
ก. กำหนดคา่ BIOS
ข. ดับเบิลคลกิ ท่ีไฟล์ Install
ค. ดับเบ้ิลคลกิ ท่ไี ฟล์ Setup
ง. ทำการ Format เครอื่ งใหม่

5. การกำหนดค่าการติดต้ังในข้ันตอนท่ี 2 การเลือกการตดิ ตง้ั แบบ 64 bit และ 32 bit ข้นึ อยูก่ ับ
คณุ สมบตั ใิ นขอ้ ใด

ก. ความจุฮาร์ดดิสก์
ข. ความเร็ว CPU
ค. ความจุของหน่ายความจำแรม
ง. ความจขุ องหนว่ ยความจำแคช

6. การกำหนดค่าในการติดตง้ั Language to install ควรเลอื กตามขอ้ ใดถูกท่ีสดุ
ก. English
ข. English (United Kingdom)
ค. United Kingdom
ง. USA (Thailand)

7. หลังจากกำหนดคุณสมบัติสำหรับการติดตัง้ เรยี บรอ้ ยแล้ว หากต้องการติดตงั้ โปรแกรม
ระบบปฏิบตั กิ าร Windows 10 ต้องคลกิ ป่มุ ใด

ก. Setup
ข. Install
ค. Install now
ง. Windows 10

วชิ าระบบปฏิบตั ิการเบอื้ งตน้ รหัสวิชา 20204-2001

หน่วยที่ 3 การเลอื กใช้และการติดตั้งระบบปฏบิ ัติการมาตรฐานปดิ และมาตรฐานเปดิ 36

8. ข้อความแสดง “I accept the license terms” หมายถึงตามขอ้ ใด
ก. ยกเลกิ การตดิ ตงั้
ข. ตดิ ตงั้ ต่อไป
ค. ตดิ ตั้งภายหลงั
ง. ยอมรับเง่อื นไขของการติดตงั้

9. ข้อใดกล่าวไม่ถกู ต้องเกีย่ วกับระบบปฏิบัตกิ าร Ubuntu
ก. เปน็ ระบบปฏบิ ตั กิ ารแบบเปิด
ข. อบู นุ ตูออกรุ่นหใมป่ ีละ 1 รุ่น
ค. ซอฟตแ์ วรใ์ นอูบนุ ตเู ป็นซอฟตแ์ วรเ์ สรเี กือบทงั้ หมด
ง. จุดมุ ่งหมายหลกั ของอูบุนตคู อื เป็นระบบปฏิบตั ิการสำหรบั บุคคลทว่ั ไป

10. ในระบบปฏิบัตกิ าร Ubuntu หากตอ้ งการเปลยี่ นรายการเมนูจากภาษาองั กฤษเป็น
ภาษาไทยใหค้ ลกิ เครอ่ื งมอื ใด

ก. System Setting
ข. Control Panel
ค. All Program
ง. Document

วชิ าระบบปฏิบตั กิ ารเบอื้ งต้น รหสั วิชา 20204-2001

หนว่ ยที่ 3 การเลือกใช้และการติดตง้ั ระบบปฏบิ ัติการมาตรฐานปดิ และมาตรฐานเปิด 37

ใบกระดาษคำตอบ
หน่วยที่ 1 การเลอื กใชแ้ ละการตดิ ตง้ั ระบบปฏบิ ตั กิ ารฯ

ชื่อ.....................................นามสกลุ ................................ระดับชั้น.............กลุ่ม.........เลขที่..................

ข้อ ก ข ค ง ผล
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10

คะแนนที่ทำได้

เกณฑก์ ารประเมนิ 70 เปอรเ์ ซน็ ต์ ลงช่อื ..........................................ผู้ตรวจ
ทำได้ 7-10 คะแนน ผ่านเกณฑ์ (.........................................)
สรุปผล  ผา่ นเกณฑ์ ........../................/..........

 ไม่ผ่านเกณฑ์

วิชาระบบปฏิบัติการเบื้องต้น รหัสวิชา 20204-2001

หนว่ ยที่ 3 การเลอื กใช้และการตดิ ตั้งระบบปฏบิ ัติการมาตรฐานปิดและมาตรฐานเปดิ 38
วิชาระบบปฏบิ ตั ิการเบ้อื งต้น รหัสวิชา 20204-2001

ระบบปฏิบัติการแบบปิด คือ อะไร พร้อม ยก ตัวอย่าง

เป็นระบบปฏิบัติการที่สร้างขึ้นมาเพื่อใช้กับคอมพิวเตอร์ ระบบหนึ่งระบบใดหรือยี่ห้อหนึ่ง ยี่ห้อ ใดเท่านั้น ตัวอย่างสร้างระบบปฏิบัติการขึ้นมา เพื่อใช้กับไมโครโปรเซสเซอร์ประเภทเดียวไม่สามารถนำ ไปใช้กับคอมพิวเตอร์ประเภทอื่นๆ ได้ เช่น ระบบปฏิบัติการสำหรับเครื่อง Macintosh และเครื่องใน

ยกตัวอย่างของระบบปฏิบัติการมีอะไรบ้าง

ระบบปฏิบัติการ (operating system) หรือ โอเอส (OS) คือ ซอฟต์แวร์ที่ทำหน้าที่ควบคุมการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์ ให้คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่อพ่วงต่าง ๆ ทำงานร่วมกันอย่างมีประสิทธิภาพ ซอฟต์แวร์ระบบที่รู้จักกันดี คือ ระบบปฏิบัติการ (OS- Operating System) เช่น MS-DOS, UNIX, OS/2, Windows, Linux, Ubuntu เป็นต้น

ระบบปฏิบัติการแบ่งออกเป็นกี่ประเภท อะไรบ้าง

ระบบปฏิบัติการสามารถแบ่งได้เป็นสองประเภทตามลักษณะการใช้งาน ได้แก่แบบ "งานเดี่ยว" (single-tasking) และแบบ "หลายงาน" (multi-tasking) ระบบแบบงานเดี่ยวเป็นระบบที่ยอมให้มีผู้ใช้เพียงหนึ่งคนเท่านั้นในการใช้่แต่ละครั้ง และเมื่อมีผู้ใช้หนึ่งคนก็จะสามารถใช้โปรแกรมได้เพียงหนึี่งโปรแกรมเท่านั้น

ข้อใดคือระบบปฎิบัติการคอมพิวเตอร์

ระบบปฏิบัติการ เป็นโปรแกรมที่ทำงานเป็นตัวกลางระหว่างผู้ใช้เครื่องและฮาร์ดแวร์ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อจัดสภาพแวดล้อมให้ผู้ใช้ระบบสามารถปฏิบัติงานบนเครื่องคอมพิวเตอร์ได้ โดยจะเอื้ออำนวยการพัฒนาและการใช้โปรแกรมต่างๆ รวมถึงการจัดสรรทรัพยากรต่างๆ ให้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ